The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by charungjit, 2021-04-24 03:17:38

การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice)

การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice)

คำนำ

การปฏิบัตงิ านที่เป็นเลศิ (Best Practice) ระบบการติดตามและช่วยเหลือผู้เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐาน
เล่มน้ีจัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินการติดตามและช่วยเหลือผู้เรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในการเข้า
รว่ มกจิ กรรมการเรยี นการสอน การพบกลุ่ม การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของนักศึกษา รวมไปถึง
การติดตามนักศึกษาเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) และการ
เข้าสอบวดั ผลสมั ฤทธป์ิ ลายภาคเรียน ซ่งึ การเข้ารว่ มกิจกรรมและการเข้าสอบของนักศึกษานั้น เป็นสิ่งที่บ่งช้ีถึง
คุณภาพในการจัดการศึกษาของครู กศน.ตาบล ครูศรช. และสถานศึกษา ว่ามีความใส่ใจต่อผู้เรียนมากน้อย
เพียงใด ระบบการติดตามและชว่ ยเหลือผเู้ รยี น จึงเปน็ สง่ิ สาคัญและจาเปน็ อย่างยง่ิ ในการตดิ ต่อประสานงานกับ
นักศกึ ษา เพ่ือเป็นการสร้างปฏสิ ัมพันธ์ท่ดี ีระหวา่ งครกู ับนกั ศึกษา ซึง่ จะสง่ ผลให้นกั ศึกษามีความใส่ใจในการเข้า
รว่ มในกิจกรรมท่ี กศน.ได้ดาเนินการจัดขึ้น ท้ังดา้ นการเรียนการสอนและกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รวมไป
ถงึ ใหค้ วามใส่ใจในการเข้าสอบ N-NET และการเขา้ สอบปลายภาค ซง่ึ การดาเนินการระบบติดตามนักศึกษาน้ัน
ได้ดาเนนิ การโดยใช้กระบวนการ PDCA เป็นกรอบแนวทางการดาเนินงานเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ มีข้ันตอน
และกระบวนการในการดาเนนิ งานที่ชดั เจนและเป็นรูปธรรม

ขอขอบคุณ ผู้บริหาร บุคลากรและนักศึกษาผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน สาหรับความร่วมมือในการ
จัดระบบการติดตามและช่วยเหลือผู้เรียน ให้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงจะนาไปเป็นแนวทางในการ
ตดิ ตามและช่วยเหลือผเู้ รยี นต่อไป

นางสาวจรงุ จติ เกตุตั้งม่นั
ครู ศรช.

สำรบัญ หน้า

เรื่อง ข
คานา 1
สารบัญ
ผลการปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลิศ (Best Practice) 2
ระบบตดิ ตามและประสานผ้เู รียนการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 3
3
1. ความเป็นมาและความสาคญั 3
2. วัตถปุ ระสงค์ 6
3. เป้าหมาย 8
4. หลักการและแนวคิด 9
5. กระบวนการผลิตงานหรือข้นั ตอนการดาเนนิ งาน 9
6. ผลการดาเนนิ งาน 9
7. ปจั จัยความสาเร็จ
8. บทเรียนท่ไี ดร้ ับ
9. การได้รับการยอมรบั /รางวัลที่ได้รบั /การเผยแพร่
ภาคผนวก
เอกสารท่ีใช้ในการตดิ ตามและชอ่ งทางในการตดิ ตามนักศึกษา
ภาพกิจกรรม
รางวลั ที่ไดร้ ับ

ผลกำรปฏิบัติงำนทเ่ี ปน็ เลิศ

(Best Practice)

-----------------------------------------------

ชื่อผลงำน : ระบบการติดตามและชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นการศึกษาขึน้ พืน้ ฐาน

ชื่อผนู้ ำเสนอผลงำน : นางสาวจรงุ จติ เกตตุ ัง้ มัน่

ตำแหนง่ : ครูศนู ย์การเรียนชุมชน

หน่วยงำน : กศน.ตาบลบุสูง

ศูนย์การศึกาษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอวงั หิน

โทรศพั ทม์ อื ถอื : 089-2233491

E-Mail : [email protected]

ผบู้ รหิ ำร : นายวีระพนั ธ์ อนิ ทรพนั ธุ์

1. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของผลงำน

การจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

มุ่งเนน้ การจัดการเรียนรู้ตามปรชั ญา “คิดเป็น” และยดึ หลกั วา่ ผเู้ รยี นทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้

ผู้เรยี นแต่ละคนมีธรรมชาติทีแ่ ตกตา่ งกัน ทั้งด้านวัย วุฒิภาวะ ความถนัด ความสนใจ วิธีการเรียนรู้ ตลอดจนมี

การดาเนินชีวิตและส่ิงแวดล้อมท่ีแตกต่างกัน ซ่ึงส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังน้ันการจัดการเรียนรู้จึงต้อง

ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเอง ตามธรรมชาติ เต็มตามศักยภาพ

ทมี่ ีอยู่ และเรียนรูอ้ ย่างมีความสุข

ตามท่ีหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้

สถานศึกษาดาเนินการจัดการศึกษาทั้ง 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา

ตอนปลาย ซ่งึ นกั ศกึ ษาทุกคนทีจ่ ะจบหลักสตู รไดน้ น้ั ตอ้ งผ่านเกณฑ์การจบหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ

การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามเกณฑ์ดงั น้ี

1. ผ่านเกณฑ์การประเมนิ การเรยี นรูร้ ายวิชาในแตล่ ะระดับการศึกษา ตามโครงสรา้ งหลักสูตร

- ระดบั ประถมศึกษา ไมน่ อ้ ยกวา่ 48 หนว่ ยกิต

- ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ไมน่ ้อยกว่า 56 หนว่ ยกิต

- ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ไม่นอ้ ยกวา่ 76 หนว่ ยกติ

2. ผา่ นการประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ (กพช.) ไมน่ ้อยกว่า 200 ชั่วโมง

3. ผา่ นการประเมินคุณธรรม ในระดับพอใช้ข้นึ ไป

4. เข้ารบั การประเมินคุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ

และด้วยสานักงาน กศน.จังหวัดศรีสะเกษ มีนโยบายต้องการที่จะยกระดับจานวนนักศึกษาผู้เข้าสอบ

ปลายภาค ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 และจานวนนักศึกษาผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ

ดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 และมีการสอบวัดผลสัมฤทธ์ิปลายภาคเรียน

ผา่ นคา่ มาตรฐานของ กศน. และของจานวนนกั ศกึ ษาทง้ั หมดท่มี ขี องครูศรช. ตาบลบุสูง แต่ด้วยสภาพปัญหาใน

ปัจจุบัน มีนักศึกษาบางส่วนไม่ใส่ใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน และไม่เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา

คุณภาพชีวิต ไม่เล็งเห็นความสาคัญของการศึกษา ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและจานวนผู้เข้ารับการ

ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) พร้อมผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา

และจานวน ผู้เข้าสอบปลายภาคเรียนของนักศึกษาลดลง หรือแม้แต่การไม่ร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต

(กพช.) ซง่ึ มีผลต่อการจบการศึกษาตามโครงสร้างหลักสูตรของตัวนักศกึ ษาเอง

จากปัญหาดังกล่าวได้ถูกนามาพิจารณาวิเคราะห์ และดาเนินการเพ่ือออกแบบระบบติดตามและ

ช่วยเหลือนักศึกษา เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการติดตามและดูแลนักศึกษา ในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ตามที่

กศน.ตาบลบุสูง และ กศน.อาเภอวังหิน จัดขึ้น และเพื่อเป็นการเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิการทดสอบทางการศึกษา

ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) และการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน และ

สอดคล้องกับนโยบายยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาพร้อมทั้งยกระดับจานวนนักศึกษาผู้เข้าสอบวัดผล

สัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน และผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน

(N-NET) ของ สานกั งาน กศน.จงั หวัดศรีสะเกษ น้นั

ครูศรช. ตาบลบุสูง เล็งเห็นถึงความสาคัญของนโยบายดังกล่าว จึงได้ออกแบบและจัดทาระบบการ

บริหารจดั การนักศึกษาพฒั นาสู่ผลสัมฤทธ์กิ ารศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ขึน้

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพือ่ ให้นักศึกษา ศรช.ตาบลบุสงู ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียน

การสอนได้
2.2 เพ่ือให้นักศึกษา ศรช.ตาบลบุสูง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา

คณุ ภาพชวี ิตได้
2.3 เพือ่ ตดิ ตามให้นักศึกษา ศรช.ตาบลบสุ งู ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถเขา้ รบั ทดสอบทาง

การศึกษาระดบั ชาตดิ า้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET)
2.4 เพือ่ ตดิ ตามให้นักศึกษา ศรช.ตาบลบุสงู ตระหนกั ถึงความสาคญั และสามารถเข้ารับการเข้าสอบ

วัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียนได้

3. เป้ำหมำย

3.1 เชิงปรมิ ำณ

- นักศกึ ษา ศรช.ตาบลบุสูง จานวน 99 คน

ระดบั ประถมศกึ ษา จานวน 2 คน

ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 29 คน

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 68 คน

3.2 เชิงคณุ ภำพ

- นักศกึ ษา ศรช.ตาบลบุสงู สามารถเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนการสอน ร้อยละ 80.00

- นักศึกษา ศรช.ตาบลบุสูง สามารถเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ร้อยละ 80.00

- นักศึกษา ศรช.ตาบลบุสูง เข้ารับทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ

โรงเรยี น (N-NET) รอ้ ยละ 80.00

- นักศึกษา ศรช.ตาบลบุสูง เข้ารับเข้าสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิปลายภาคเรียน รอ้ ยละ 75.00

4. หลกั กำรและแนวคดิ
4.1 ทฤษฎีกำรเชอื่ มโยงของธอรน์ ไดค์ (Thorndike’s connectionism)
ธอร์นไดค์ (Thorndike) เป็นผู้ค้นพบกฎการเรียนรู้จากการเชื่อมโยงระหว่างส่ิงเร้าและการ

ตอบสนองโดยการกระทาอย่างมีเป้าหมาย จากผลงานการทดลองจับแมวใส่กรงท่ีมีสลักประตูปิดไว้ให้แมว
หาทางออกจากกรงเพ่ือกินอาหาร โดยแมวจะต้องหาทางถอดสลักประตูให้ได้จึงจะได้กินอาหาร ซึ่งจากการ
ทดลองพบว่า ในระยะแรกแมวใช้วิธีลองถูกลองผิด (trial and error) และค้นพบวิธีถอดสลักประตูโดยบังเอิญ
ทาให้ประตูเปิดและออกมากินอาหารได้ การทดลองในครั้งต่อ ๆ มา แมวใช้เวลาน้อยลงในการหาทางออกมา
กินอาหารได้ การทดลองน้ีทาให้สามารถตง้ั กฎการเรยี นรูท้ ีส่ าคญั ดังนี้ (Gredler, 1997, p. 24)

1) กฎแห่งผล (law of effect) พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าใดท่ีได้รับผลท่ีทาให้ผู้เรียน
พึงพอใจ ผเู้ รยี นจะกระทาพฤติกรรมนน้ั ซา้ ๆ อีกหรอื เรียนรตู้ อ่ ไป แตถ่ ้าไม่ได้รับผลที่พึงพอใจผู้เรียนก็จะเลิกทา
พฤติกรรมนนั้

2) กฎแห่งความพรอ้ ม (law of readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีถ้าผู้เรียนอยู่ในภาวะที่มี
ความพร้อมทั้งรา่ งกายและจติ ใจ การบงั คับหรอื ฝืนใจจะทาให้หงดุ หงิดไม่เกิดการเรียนรู้

3) กฎแห่งการฝึกหัด (law of exercise) การเรียนรู้จะคงทน หรือติดทนนานถ้าได้รับการ
ฝึกหัดหรือกระทาซา้ บอ่ ย ๆ

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของธอรน์ ไดค์ เน้นความเช่อื มโยงของสง่ิ เร้าและการตอบสนอง หากผลทต่ี ามมาหลงั
ปฏบิ ัติเป็นส่งิ ทน่ี ่าพอใจความเชื่อมโยงของสง่ิ เร้าและการตอบสนองก็จะแนน่ แฟ้นมากยงิ่ ขึ้น

กำรประยกุ ตส์ ูก่ ำรสอน ทฤษฎกี ารเรียนรู้ของธอร์นไดค์ ประยกุ ต์ไปใชใ้ นการเรยี นการสอนได้ดงั น้ี
1) การกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้เป็นพฤติกรรมที่ชัดเจน เฉพาะเจาะจงซึ่งทาให้สามารถ

วัดผลประเมินผลได้ว่าเกิดการเรียนรู้หรือไม่ โดยสังเกตจากพฤติกรรมที่เกิดข้ึน และแจ้งให้ผู้เรียนทราบ
พฤตกิ รรมท่ีคาดหวงั

2) ก่อนเรียนควรสารวจว่าผู้เรียนมีความพร้อมด้านร่างกาย จิตใจและมีความรู้พ้ืนฐานเดิมท่ี
พร้อมในการเรยี นรหู้ รอื ไม่ เพอ่ื หาแนวทางในการเตรยี มความพร้อมให้กับผเู้ รียน

3) ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ การเผชิญสถานการณ์
ปัญหาซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองถูกลองผิด เพ่ือหาทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนเกิดความ
ภาคภมู ิใจเมื่อค้นพบวธิ ีการแกป้ ญั หาได้

4) ควรศึกษาว่าอะไรคือรางวัลหรือผลที่ผู้เรียนพึงพอใจ เพื่อใช้เป็นสิ่งเร้าให้ผู้เรียนอยาก
เรยี นรูห้ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้ันซ้าอีก

5) ควรใหผ้ ู้เรียนไดฝ้ ึกฝนสง่ิ ทเ่ี รียนรู้แลว้ อยา่ งสม่าเสมอเพื่อให้เกดิ ทักษะในส่ิงน้นั

4.2 ทฤษฎีกำรวำงเงื่อนไขแบบปฏิบัติกำร (operant conditioning theory) ของสกินเนอร์
(Skinner)

สกินเนอร์ (Skinner, cited in Gredler, 1997, p.69) เป็นผู้ที่ให้นิยามการเรียนรู้ว่า คือการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท่ีเป็นผลอันเกิดจากการตอบสนองต่อส่ิงเร้า ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ
ของสกนิ เนอร์ เป็นทฤษฎกี ารเรียนรู้ทีอ่ ธิบายการเรยี นรูว้ า่ เกดิ จากการวางเงื่อนไขของสิ่งเร้าซ่ึงผู้เรียนต้องลงมือ
กระทาหรือปฏิบัติเพ่ือหาทางแก้ปัญหาจึงจะได้รับผลท่ีพึงพอใจ ถ้ามีการเรียนรู้เกิดข้ึนจะสังเกตได้ว่ามีการ
ตอบสนองเพิม่ ขน้ึ เมอ่ื ไม่มกี ารเรียนรอู้ ตั ราการตอบสนองจะลดลง การเรียนรู้จึงตีความว่าเป็นการเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมหรือเทียบได้กับการตอบสนองนั่นเอง การตอบสนองน้ันวัดได้จากอัตรา/ความถี่ของการตอบสนอง
ดังนั้นองค์ประกอบในการเรียนรู้ของสกินเนอร์จึงประกอบด้วย ส่ิงเร้าที่มีการวางเงื่อนไข การตอบสนองของ
ผเู้ รียน และผลทต่ี ามมา (Gredler, 1997, p.62)

สกินเนอร์ได้ทาการทดลองกับหนูและนกโดยการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการในลักษณะต่าง ๆ ที่มีผล
ต่อพฤติกรรม โดยสกินเนอร์สนใจการเสริมแรง (reinforcement) ที่มีผลต่อการแสดงพฤติกรรม ทาให้เกิด
ข้อสรุปสาคัญในการเรียนรู้ว่า การกระทาใด ๆ ถ้าได้รับการเสริมแรงมีแนวโน้มที่จะกระทาซ้าอีก ส่วนการ
กระทาใดที่ไม่มีการเสริมแรงมีแนวโน้มว่าความถี่ของการกระทาจะลดลงและหายไปในท่ีสุ ดการเสริมแรง
ของสกนิ เนอร์ แบง่ ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ (Gredler, 1997, pp. 74-79)

1) การเสรมิ แรงแบบปฐมภูมิ (primary reinforcement) คือ สิง่ เร้าท่ีสามารถทาให้ความถี่
ของการแสดงพฤติกรรมเพม่ิ ข้ึนโดยไม่ตอ้ งอาศยั การฝึกฝน ซึ่งเปน็ สิ่งเรา้ ตามธรรมชาติ เช่น อาหาร ท่อี ยู่
อาศัย เป็นต้น

2) การเสริมแรงแบบวางเง่ือนไขหรือการเสริมแรงทุตยิ ภมู ิ (conditioned or secondary
reinforcement) คือ สง่ิ เรา้ ที่ทาให้พฤติกรรมเข้มแข็งข้นึ การเสรมิ แรงแบบวางเง่ือนไขแบง่ ได้ ดงั น้ี

(1) การเสริมแรงทางบวก (positive reinforcement) คือ การให้สิ่งเร้าท่ีก่อให้เกิด
ผลทางบวกแก่พฤติกรรม ทาให้ความถีข่ องพฤติกรรมเพิ่มขึ้นหรือมีการผลิตซ้าของพฤติกรรม เช่น การท่ีผู้เรียน
ส่งงานครบตามกาหนด เมือ่ ได้รับคาชมเชยจากผสู้ อน ทาใหผ้ ้เู รียนส่งงานครบตามกาหนดอกี

(2) การเสรมิ แรงทางลบ (negative reinforcement) คือ การลดหรือการถอนส่ิงเร้า
ทีก่ ่อใหเ้ กิดผลท่ไี มพ่ ึงพอใจ ทาให้เกิดพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงคเ์ พมิ่ ขึน้ เช่น เสยี งดังและหอ้ งเรยี นที่ร้อนอบอ้าว
เป็นสง่ิ เรา้ ท่ที าใหน้ ักเรียนหงดุ หงิด ไมส่ นใจเรียน เม่ือตดิ เครอื่ งปรบั อากาศทาใหน้ ักเรยี นมีความต้งั ใจเรียนมาก
ข้ึน หรือ นักเรยี นรีบออกจากบ้านแต่เชา้ เพื่อหลกี เลี่ยงรถติดทาใหม้ าถงึ โรงเรียนทันเวลา เป็นตน้

ตามแนวคิดของสกนิ เนอร์ การเสรมิ แรงทางบวกจึงเปรยี บได้กบั รางวัล สาหรบั การลงโทษ หมายถงึ
การหยุดให้การเสริมแรงทางบวก เช่น ไม่อนุญาตใหน้ กั เรียนเลน่ เกมคอมพวิ เตอร์ซึ่งเปน็ สิ่งทีน่ ักเรยี นชอบ หรอื
เพม่ิ การเสริมแรงทางลบ เชน่ ให้นักเรยี นคัดไทย 50 จบ เป็นตน้ จากการศึกษาของสกนิ เนอร์เรือ่ งผลของการ
ลงโทษไดข้ ้อสรุปวา่

1) การลงโทษช่วยยับย้ังหรือลดการแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เพียงชั่วคราว ซ่ึงไม่
สามารถแก้ปัญหาอยา่ งถาวร

2) การลงโทษทาให้เกิดการตอบโต้ทางอารมณ์ที่ไม่พึงปรารถนา เช่น ความคับข้องใจ
ความโกรธและความร้สู ึกผดิ

3) การลงโทษไม่ไดช้ ่วยใหเ้ กดิ พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ เช่น การลงโทษนกั เรียนทใี่ ช้ไวยากรณ์
ผดิ ในการพูด ไม่ไดช้ ว่ ยให้นักเรียนเรยี นร้กู ารพดู ทถี่ กู ต้อง

ในการปรับพฤติกรรม สกินเนอร์ เสนอแนะให้หลีกเล่ียงเงื่อนไขที่ทาให้ต้องมีการลงโทษไปให้การ
เสริมแรงกับพฤติกรรมที่ตรงข้ามกับพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น เม่ือไม่ต้องการให้นักเรียนแสดงพฤติกรรม
การแข่งขัน ก็ให้รางวัลกับพฤติกรรมการร่วมมือ เป็นต้น สาหรับการเรียนรู้พฤติกรรมใหม่ ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้
เร็วขึ้นเม่ือได้รับการเสริมแรงทุกคร้ังท่ีตอบสนองได้ถูกต้อง เม่ือผู้เรียนเรียนรู้พฤติกรรมใหม่แล้ว ควรให้การ
เสรมิ แรงเป็นครัง้ คราวเพื่อไมใ่ หน้ ักเรยี นคาดหวงั รางวัลทกุ คร้ัง

กำรประยกุ ตส์ ู่กำรสอนทฤษฎีกำรเรยี นรกู้ ำรวำงเงอื่ นไขแบบปฏิบตั ิกำรของสกินเนอร์ ประยุกต์ไป
ใช้ในกำรเรียนกำรสอน ได้ดงั นี้

1) ควรวิเคราะห์การเรยี นรู้ออกเป็นพฤตกิ รรมย่อย ๆ ท่เี ชื่อมโยงสมั พันธก์ ันตามลาดับจาก
พ้ืนฐานไปสู่ขั้นทซ่ี ับซอ้ นขนึ้ โดยนาเสนอส่ิงเร้าการเรียนร้ไู ปตามลาดับขั้นและจัดให้มีการเสริมแรงหรือรางวัลที่
ผู้เรียนพอใจเม่ือแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนต้องการให้เกิดข้ึนในแต่ละข้ันเพื่อให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ใน
ขน้ั ตอ่ ไป สอื่ การสอนที่พัฒนาข้ึนจากหลกั การสอนน้ีคือ บทเรียนแบบโปรแกรม บทเรียนสาเร็จรูป แลบทเรียน
คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เป็นต้น

2) การเรียนท่ีได้ผลดีคือ การเรียนเป็นรายบุคคล ซ่ึงผู้เรียนเป็นผู้กระทาด้วยตนเองและปรับ
พฤติกรรมไปตามผลการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนโดยครูใช้รางวัล หรือการเสริมแรงเป็นกลไกในการส่งเสริมการแสดง
พฤติกรรม

3) ใช้การเสรมิ แรงในการปรับพฤติกรรมของผู้เรียนแทนการลงโทษ โดยใหร้ างวลั ท่ผี ้เู รยี นพึง
พอใจเป็นแรงเสริมสาหรับพฤติกรรมท่ตี ้องการใหเ้ กิดขนึ้ หรอื ให้รางวลั หรือการเสรมิ แรงสาหรับพฤตกิ รรมที่
ตรงข้ามกบั พฤติกรรมท่ีไมต่ อ้ งการให้กระทา

5. กระบวนกำรหรอื ข้ันตอนกำรดำเนนิ งำน (วิธีปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลิศ)
จากดาเนินการจัดทาระบบการติดตามและดูแลนักศึกษา มีการวางแผนการดาเนินงาน และติดตาม

งานอยา่ งเปน็ ระบบเพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อมูลถูกต้องและแม่นยา โดยใช้วงจรคณุ ภาพ (Deming Cycle) หรอื PDCA
• กำรวำงแผน (Plan)
วางแผนจากข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน จานวนผู้เข้ารับการทดสอบทาง

การศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) และจานวนผู้เข้าสอบปลายภาคเรียน จึงได้
กาหนดแผนในการดาเนนิ งาน ระบบการติดตามและดแู ลนกั ศกึ ษาไว้ ดังนี้

ผังมะโนทศั น์

ช้ีแจงแนวทำงกำร ออกแบบกำร รวบรวมข้อมูลและ ดำเนินกำรติดตำม
ดำเนนิ งำนใหก้ บั จดั เกบ็ ข้อมลู ใน ดำเนนิ กำรจัดทำ นักศึกษำโดยใช้
ผู้บรหิ ำรและคณะ กำรติดตำมและ คูม่ ือติดตำมและ กำรตดิ ตำมและ
ครูทรำบ ดูแลนกั ศึกษำ ดแู ลนักศึกษำ ดแู ลนกั ศึกษำ

• กำรปฏบิ ตั ติ ำมแผน (Do) ปฏิบตั งิ านตามแผนทีว่ างไว้ โดยดาเนนิ การตามขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
1. จดั ทาแบบสารวจขอ้ มูลเพอ่ื การตดิ ตามและดแู ลนักศึกษา
2. ประชุมชแี้ จงกับนักศึกษาเพื่อกรอกแบบสารวจขอ้ มลู เพ่ือการตดิ ตามและดูแลนักศกึ ษา
3. บันทกึ ข้อมูลที่ได้จากใบสมัครและแบบสารวจข้อมูลเพ่ือการติดตามและดแู ลนักศึกษา
4. จดั ทาคู่มือเพอ่ื การติดตามและดูแลนักศึกษา
5. จัดทาไฟลท์ อี่ ย่นู ักศึกษา ในรูปแบบไฟล์ Microsoft Excel รูปเลม่
6. ให้นกั ศึกษาเข้ากลุม่ Line นักศึกษา กศน.ตาบลบสุ ูง Facebook กศน.ตาบลบุสูง
7. เพิ่มนักศึกษาเป็นเพอื่ นใน Facebook กศน.ตาบลบสุ งู
และLine นกั ศึกษากศน.ตาบลบุสงู

8. เชิญนักศึกษากดถูกใจ และติดตาม Fan page Facebook กศน.ตาบลบุสงู
9. ดาเนนิ การตดิ ต่อดูแลนักศึกษาเพอ่ื เขา้ ร่วมกิจกรรมท่ีทาง กศน. จดั ขน้ึ ผ่านทางโทรศัพท์
ส่งขอ้ ความในกลมุ่ Line กลมุ่ นกั ศึกษากศน.ตาบลบุสงู , Facebook กศน.ตาบลบสุ งู , Messenger ส่วนตวั
ของนักศึกษาเปน็ รายบุคล
10. ประชาสมั พันธ์การจัดกจิ กรรมที่ กศน.จะดาเนนิ การผ่านทาง Facebook สว่ นตัวของครู
และ Fan page Facebook ตาบลบสุ ูง - Line กลุม่ นกั ศึกษากศน.ตาบลบสุ ูง - Facebook กศน.อาเภอวังหิน
11. แจง้ วันเวลาและสถานทีส่ อบ N-NET และสอบปลายภาคให้นกั ศกึ ษาทราบลว่ งหนา้ อยา่ ง
น้อย 30 วัน โดยการโทรประสาน - แจ้งไปใน Facebook กศน.ตาบลบสุ งู Fan page Facebook ตาบลบุสงู
Line นักศึกษากศน.ตาบลบุสงู Facebook Messenger สว่ นตัวของนักศึกษา และจดั ทาตารางสอบพรอ้ มนาส่ง
ยงั ทีอ่ ยู่ของนักศึกษาทกุ คน
12. แจ้งกิจกรรมของ กศน.ตาบลบุสงู และกิจกรรมของ กศน.อาเภอวังหิน ใหน้ ักศึกษาทราบ
ผ่านชอ่ งทางประชาสัมพันธ์หอกระจายขา่ วของหม่บู ้านหรอื ชมุ ชน - การโทรประสาน - Line นักศึกษากศน.
ตาบลบุสงู - Facebookd กศน.ตาบลบสุ งู
13. ประสานผา่ นกจิ กรรมเพ่ือนช่วยเพอ่ื น โดยให้เพ่ือนของนักศกึ ษาตดิ ตามอกี ช่องทางหน่ึง
14. ประสานผา่ นผ้ปู กครองหรือญาตขิ องนักศึกษาชว่ ยติดตามอีกชอ่ งทางหนงึ่

• กำรตรวจสอบ (Check) แบง่ การตรวจสอบข้อมูลออกเปน็ 3 ช่วง ประกอบด้วย
- ช่วงกำรรบั สมคั รนกั ศกึ ษำใหม่ โดยการสารวจและรวบรวมข้อมูลนักศกึ ษาเปน็ รายบุคล

จากใบสมคั รข้ึนทะเบียนเป็นนกั ศกึ ษาและแบบสารวจขอ้ มูลเปน็ รายบคุ คล
- ระหว่ำงภำคเรียน สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรมการพบกลุ่ม การจัดการเรียนออนไลน์

ผ่านระบบบริหารจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ NFE-LMS (learning management System) ของ
นักศึกษาในแต่ละสัปดาห์ โดยอ้างอิงจากระบบการรายงานผลการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (NFE-LMS)
บัญชีลงเวลาการพบกลุ่มนักศึกษา สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของนักศึกษาในแต่
ละกจิ กรรมหรือโครงการตา่ งๆ โดยอ้างอิงจากบญั ชลี งผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมเข้ารว่ มกิจกรรมหรือโครงการน้ันๆ

- ภำยหลงั กำรสอบ N-NET และกำรสอบปลำยภำค ตรวจสอบจากรายงานผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ (N-NET) และการทดสอบปลายภาคเรียนจากงานการศึกษา
ข้ันพน้ื ฐาน อ้างอิงจากการติดตามผู้เรยี นจากการรายงานข้อมลู การเขา้ สอบของแตล่ ะภาคเรียน

• กำรปรบั ปรงุ กำรดำเนินงำน (Act)
จากการดาเนินการตามระบบการติดตามและดูแลนักศึกษา ศรช.ตาบลบุสูง ถือว่าระบบการติดตาม
ดังกลา่ วบรรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละมีประสิทธิภาพมากขนึ้ เป็นที่น่าพอใจ โดยอา้ งองิ จากรายงานสรุปผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) คร้ังที่ 2/2563 ซ่ึงเข้ารับการทดสอบ คิดเป็นร้อย
ละ 96.15 มากกว่าค่าเปา้ หมายท่ตี ง้ั ไว้ และการเข้าสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
คิดเป็นรอยละ 86.86 มากกว่าค่าเป้าหมายท่ีต้ังไว้ หรือการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนต่างๆ บางกิจกรรมคิด
เป็นร้อยละ มากกว่าค่าเปา้ หมายที่ตง้ั ไว้
อย่างไรก็ตามในบางกิจกรรมท่ี กศน. ได้ดาเนินการจัดข้ึนน้ัน ยังมีนักศึกษา ศรช.ตาบลบุสูง เข้าร่วม
กิจกรรม ยงั ไม่เป็นไปตามจานวนเปา้ หมายทีก่ าหนดเอาไว้เท่าที่ควร และยังสามารถเพ่ิมจานวนผู้เข้าสอบปลาย
ภาคเรียนให้มีจานวนร้อยละท่ีเพ่ิมขึ้นได้อีก จึงต้องมีการปรับปรุงระบบติดตามและดูแลนักศึกษาให้มี
ประสิทธภิ าพทดี่ ียิง่ ข้นึ ด้วยขั้นตอนและกระบวนการดาเนินการ ดังนี้

1) วิเคราะห์ข้อมูลของนักศึกษาเพ่ิมเตมิ ในภาคเรยี นถัดไปทง้ั นกั ศึกษาเก่าและนักศึกษาใหม่
2) นาข้อมูลดงั กล่าวมาทบทวนให้มคี วามละเอียดและครอบคลมุ มากย่ิงขึน้
3) สรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลดงั กล่าว
4) รวบรวมขอ้ มูลเพ่ือประกอบการจดั ทาระบบการตดิ ตามและดูแลนักศกึ ษาในครั้งตอ่ ไป
5) รายงานผลการดาเนินงานต่อผูบ้ ริหารสถานศึกษาทราบ

6. ผลกำรดำเนนิ งำนและประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั
จากการจัดทาระบบการติดตามและดูแลนักศึกษา สามารถสรุปผลการดาเนินงานทเี่ กย่ี วขอ้ งออกเปน็

3 ด้าน ปรากฏผลดังนี้
6.1 หน่วยงำน/สถำนศึกษำ
ครูศรช. ตาบลบุสูง มีจานวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมเพ่ิมขึ้น จานวนนักศึกษาท่ี

เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) คร้ังที่ 2/2563 มากกว่าค่า
เป้าหมายทต่ี ้ังไว้ และการเข้าสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 มากกว่าค่าเป้าหมาย
ที่ต้ังไว้ หรือจะเปน็ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน มากกวา่ ค่าเปา้ หมายทีต่ ้ังไว้

6.2 บคุ ลำกร
ครศู รช. ตาบลบุสูง มรี ะบบการประสานติดตามนักศึกษาท่ีหลากหลายและมีประสทิ ธภิ าพ สะท้อนถงึ
การปฏิบตั งิ านของ ครูศรช. ตาบลบสุ ูง อย่างมีประสิทธภิ าพ
6.3 ผเู้ รียน/ผรู้ บั บรกิ ำร
นักศึกษา หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ได้เข้าร่วมกิจกรรม
กระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ทั้งกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เข้ารับการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) เข้าสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาค และมี
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตครบ ผ่านเกณฑ์การจบหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

7. ปจั จัยควำมสำเร็จ
7.1 การกาหนดกลยุทธ์ในการดาเนินงานโดยใช้หลักการและแนวคิดในการวิเคราะห์ข้อมูลของทฤษฎี

การเช่ือมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s connectionism) และทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ
(operant conditioning theory) ของสกินเนอร์ (Skinner) โดยใช้กระบวนการของวงจรการบริหารงาน
คณุ ภาพ (PDCA)

7.2 การมีสว่ นร่วมของนักศึกษาทุกคนทาให้ได้ขอ้ มลู ท่ีอยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ชื่อ Facebook ID Line
ที่เป็นปัจจบุ ัน สามารถใช้เป็นข้อมลู ในการติดต่อประสานงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

7.3 การใช้เทคโนโลยีส่ืออินเตอร์เน็ตออนไลน์ท่ีหลากหลายและทันสมัยในการติดต่อสื่อสาร เช่น
Smartphone Facebook Line การสอนสดด้วยการจัดการเรียนออนไลนผ์ า่ นระบบบริหารจัดการการเรียน
การสอนออนไลน์ สานักงาน กศน.จังหวัดศรีสะเกษ learning management System (SSKNFE-LMS) และ
สอ่ื อ่นื ๆ เปน็ ตน้

7.4 การกากบั ตดิ ตามนักศึกษาโดยการลงพนื้ ท่ีดูแลนักศกึ ษารายบุคคล เพ่ือเข้าร่วมกจิ กรรมหรอื
โครงการเป็นประจาและต่อเน่ือง

7.5 การสรา้ งปฏิสมั พันธท์ ดี่ ีกับนักศกึ ษา สรา้ งความคนุ้ เคย เปน็ กนั เองมที ศั นคตทิ ่ีดีกบั นักศกึ ษาทุกคน
อยา่ งเทา่ เทียมกนั

8. บทเรียนทไ่ี ด้รับ
8.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูล ตอ้ งศกึ ษาหลักการ แนวคิด และวิธีการท่ีหลากหลาย เพื่อให้สามารถนาไป

ประยุกต์ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับตามสภาพของหน่วยงาน
8.2 การวางแผนเปน็ กระบวนการสาคญั ท่ีจะช่วยให้มแี นวทางในการปฏิบตั ิงานชดั เจน ถูกต้อง
8.3 ความสาเร็จของงานเกิดจากการมีสว่ นรว่ มของทุกฝ่ายในองค์การ ดังนั้น ควรให้โอกาสในการ

ปฏบิ ัตงิ าน เสนอแนะความคิดเห็นรวมถงึ สรา้ งขวญั กาลังใจแก่บุคลากรอยา่ งต่อเนื่อง
8.4 การมชี อ่ งทางการตดิ ต่อกับนกั ศึกษาทหี่ ลากหลาย เป็นสิง่ ที่จาเป็นอย่างยงิ่ ในการตดิ ตอ่ และดแู ล

นักศกึ ษาในการเข้าร่วมกิจกรรม

9. กำรไดร้ บั กำรยอมรบั /กำรเผยแพร่

9.1 เผยแพรท่ างเวบ็ ไซต์ กศน.อาเภอวังหิน
9.2 เผยแพร่ทาง Facebook กศน.อาเภอวังหิน
9.3 เผยแพร่ทาง Facebook กศน.ตาบลบสุ งู

เอกสำรที่ใชใ้ นกำรติดตำมและช่องทำงในกำรติดตำมและดูแลนกั ศกึ ษำ

ใบสมัครผเู้ รียน แบบสำรวจข้อมูลประวัติผเู้ รียน
แบบตดิ ตำมและสำรวจควำมต้องกำรนักศกึ ษำ

กำรตดิ ตำมและดแู ลนกั ศึกษำ Faecbook Massenger และ ระบบออนไลน

กำรตดิ ตำมและดแู ลนกั ศึกษำ ผำ่ นทำง Line นกั ศกึ ษำกศน.ตำบลบสุ งู

กำรติดตำมและดูแลนกั ศกึ ษำ ผำ่ นทำงโทรศพั ท์

กำรตดิ ตำมนกั ศกึ ษำถึงบำ้ น

รำยงำนผลถงึ ผ้บู งั คญั ชำ

กำรติดตำมและดแู ลนกั ศึกษำ ส่งผลถงึ จำนวนนักศึกษำเข้ำร่วมกิจกรรม

มีการประสานนักศึกษา และแจกตารางสอบให้เข้ารับการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอก
ระบบ โรงเรียน (N-NET) สาหรับผู้มีสทิ ธิส์ อบในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ระดับชน้ั ผู้ขา้ สอบ N-net
นักศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา 2/2563

1

นักศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 8

นกั ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 16

รวม 25

ขาดสอบ ม.ปลาย (คน) 1

ร้อยละเขา้ สอบ 96.15%

จดั ทา และแจกตารางสอบปลายภาคเรียนท่ี 2/2563 พร้อมดูแลนกั ศกึ ษาเข้าสอบปลายภาค คิดเป็นร้อยละ….

ระดับ นักศกึ ษำมีสิทธ์ิ นักศกึ ษำ นักศึกษำ คิดเปน็ ร้อยละ
(คน) เขำ้ สอบ (คน) ขำดสอบ (คน)
นกั ศกึ ษาระดบั ประถม ร้อยละ 100.00
นกั ศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 2 2 - ร้อยละ 79.31
นกั ศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 89.71
29 23 6 รอ้ ยละ 86.86
รวม
68 61 7

99 86 13

ที่ หลักสูตร / โครงกำร ระยะเวลำ สถำนท่ี เป้ำ ผล

กำรศกึ ษำหลักสตู รระยะสน้ั กลมุ่ สนใจ

1 กจิ กรรมอาชีพระยะสั้น : วนั ท่ี 17-20 กุมภาพันธ์ 64 ณ บา้ นโพนดวน ม.4 20 คน 10 คน
การทาหมแู ดดเดยี ว

ตาบลบสุ งู อาเภอวงั หนิ

2 ช่างตัดผมเบอื้ งตน้ จงั หวัดศรสี ะเกษ 10 คน
วนั ที่ 8-13 กุมภาพนั ธ์ 64 ณ กศน.ตาบลบสุ งู

อาเภอวงั หนิ จังหวัดศรสี ะเกษ

กำรศกึ ษำเพือ่ พฒั นำอำชพี

3 การทอผ้าพ้นื เมอื ง วันท่ี 21-29 มกราคม 64 ณ บ้านป่าใต้ ม.11 ตาบลบสุ ูง 15 คน 18 คน

อาเภอวงั หนิ จังหวัดศรสี ะเกษ

4 โครงกำร 1 อำเภอ 1 อำชพี

การทอผ้าสีหอมแดง วนั ที่ 22 มกราคม – 4 บ้านหนองหอย ม.13 5 คน 5 คน

กมุ ภาพันธ์ 64 ตาบลดวนใหญ่

5 กำรศึกษำเพอื่ พฒั นำทกั ษะชวี ิต

โครงการพัฒนาทกั ษะชีวิต : การให้ความรูใ้ น วันท่ี 19 กุมภาพนั ธ์ 64 ศาลาประชาคม บา้ นหนอง 19 คน 31 คน

การป้องกันโรคตดิ เชือ้ ไวรสั นารี ม.8 ต.บสุ งู อ.วงั หิน

โคโรนา 2019 (COVID - 19) จ.ศรสี ะเกษ

6 กำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้ตำมหลกั ปรัชญำ วันที่ 12 มนี าคม 2564 ณ กศน.ตาบลบสุ งู

ของเศรษฐกจิ พอเพียง อ.วังหิน จ.ศรีสะเกษ

โครงการเศรษฐกจิ พอเพียง พงึ่ ตนเอง แบ่งปัน 6 คน 8 คน

และยัง่ ยนื สู่ โคก หนอง นา โมเดล

7 กิจกรรมเพือ่ พัฒนำสงั คมและชมุ ชน

โครงการการใช้การใช้เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม : วนั ท่ี 24 มีนาคม 2564 ณ ลานอเนกประสงค์

การใช้พลงั งานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทติ ย์ กศน.อาเภอวังหนิ 14 คน 16 คน

เพ่อื ส่งเสริมการอนรุ กั ษพ์ ลังงานและ อ.วังหิน จ.ศรสี ะเกษ

สิง่ แวดล้อม เพ่อื ลดปญั หาภาวะโลกรอ้ น

8 กำรขับเคล่ือนงำนตำมภำรกิจเรง่ ดว่ น 12

ภำรกิจ

โครงกำรอบรม “ภำษำองั กฤษเพื่อกำร วันที่ 25-26 มกราคม 64 ณ หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอ 2 คน 3 คน

ส่อื สำร ดำ้ นอำชพี คำ้ ขำย” วังหนิ

รบั เกยี รตบิ ตั ร


Click to View FlipBook Version