The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

By Supattra : ตารางเปรียบเทียบ KOS & Accss Tools

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SP, 2019-06-03 03:36:55

By Supattra : ตารางเปรียบเทียบ KOS & Accss Tools

By Supattra : ตารางเปรียบเทียบ KOS & Accss Tools

ช่อื นางสาวสุพัตรา ภรู่ ะหงษ์ รหสั 603080695-7 สาขา สารสนเทศศาสตร์ ชั้นปีท่ี 2

ตารางเปรียบเทยี บระบบการจดั การ (KOS) และเครอื่ งมือการเขา้ ถงึ สารสนเทศ ในประเด็นของโครงสร้างความสัมพนั ธ์และคุณลักษณะพิเศษ (Attribute)

KOS & Access Tools โครงสรา้ ง ความสมั พนั ธ์ คณุ ลักษณะพิเศษ

1. การแบ่งคร้ังท่ี 1 หมวดใหญ่ : แบ่งหมวดหมู่หนังสือระดับ มีความสมั พันธ์กบั คู่มอื ของระบบ ไดแ้ ก่  แบ่งออกเป็น 10 หมวดใหญ่
ที่ 1 แบ่งตามประเภทของสรรพวิชาใหญ่ๆ 10 หมวด โดย  ใชต้ ัวเลขเป็นสัญลักษณ์
ใชต้ วั เลขหลกั รอ้ ยเป็นตัวบง่ ชี้ Volume 1  เหมาะสาหรับห้องสมุดขนาดเล็กและ
 บทนา (Introductions) ขนาดกลาง
 000 เบต็ เตล็ดหรอื ความรูท้ ั่วไป (Generalities)  ตารางช่วย 6-7 ตาราง (Tables) ตาราง  สามารถศึกษาวธิ ใี ช้เลขหมู่ไดด้ ว้ ยตนเอง
 100 ปรชั ญา (Philosophy) โดยมีคาอธิบายวิธีใช้ระบบการจัดหมู่
 200 ศาสนา (Religion) ช่วย คือ เครื่องมือสังเคราะห์ท่ีสร้างข้ึน
 300 สงั คมศาสตร์ (Social sciences) แยกต่างหากจากตารางเลขหมู่ เพื่อใช้

 400 ภาษาศาสตร์ (Language) กาหนดเลขหมู่ของหนังสือท่ีมีเนื้อหา โดยละเอียด
ซับซ้อน (ตารางช่วยใช้ในการแบ่งเนื้อหา  สัญลักษณ์ที่ใช้ได้มีการปรับปรุงให้
 500 วทิ ยาศาสตร์ (Science) อย่างละเอียด หรือ เพ่ือเน้นเนื้อหาให้ เหมาะสมตามขนาดของหอ้ งสมดุ
 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรอื เทคโนโลยี
D.C.
(Technology) เฉพาะเจาะจงยิ่งขึ้น)  มีดรรชนีสัมพันธ์ช่วยในการค้นหา
(Dewey Decimal  700 ศิลปกรรมและการบันเทงิ (Arts and
Classification) ตารางชว่ ยมีทง้ั หมด 6 ตาราง เลขหมไู่ ดส้ ะดวกและรวดเร็ว
recreation)  เลขหมู่ต่างๆ จะเน้นเรื่องเกี่ยวกับ
 800 วรรณคดี (Literature) o ตารางชว่ ยท่ี 1 เลขแสดงวิธี
 900 ประวตั ิศาสตร์และภมู ิศาสตร์ (History and เขียน ประเทศในทวปี ยโุ รปและอเมริกา

geography) o ตารางช่วยท่ี 2 เลขแสดงพ้ืนท่ี

ทางภูมิศาสตร์

2. การแบ่งครั้งท่ี 2 หมวดย่อย : การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ o ตารางช่วยท่ี 3 เลขแสดง
ลักษณะวรรณกรรม
ระดับท่ี 2 แบ่งออกเป็นอีก 10 หมวดย่อย โดยใช้ตัวเลข
o ตารางชว่ ยที่ 4 เลขทฤษฎีทาง
หลกั สิบเป็นตัวบง่ ช้ี รวมเป็น 100 หมวดย่อย ภาษา
 000 คอมพิวเตอร์ ความรทู้ ัว่ ไป
 010 บรรณานกุ รม แคตตาลอ็ ก o ตารางชว่ ยท่ี 5 เลขแสดงกล่มุ
 020 บรรณารกั ษศาสตร์และสารนเิ ทศศาสตร์ ชาติพันธแ์ ละสญั ชาติ
 030 หนังสือรวบรวมความร้ทู ว่ั ไป สารานุกรม
o ตารางชว่ ยท่ี 6 เลขแสดงภาษา

ชอื่ นางสาวสพุ ัตรา ภรู่ ะหงษ์ รหสั 603080695-7 สาขา สารสนเทศศาสตร์ ชัน้ ปีท่ี 2

 040 ยงั ไม่กาหนดใช้  ตารางเปรียบเทียบเลขหมู่ & เลขใน

 050 สง่ิ พมิ พ์ต่อเนอ่ื ง วารสาร และดรรชนี ตารางชว่ ยทีม่ กี ารเปล่ียนแปลงจากฉบับ
 060 องค์การตา่ งๆ พพิ ิธภณั ฑวิทยา ก่อน
 070 วารสารศาสตร์ การพมิ พ์
 080 ชุมนุมนพิ นธ์ Volume 2

 090 ต้นฉบับตัวเขยี น หนังสือหายาก  แผนการจดั หมู่ (Schedules)

 100 ปรัชญา หมวด 000 - 599
 200 ศาสนา
 300 สังคมศาสตร์ Volume 3
 400 ภาษา  แผนการจดั หมู่ (Schedules)
 500 วิทยาศาสตร์
หมวด 600 – 999

 600 วิทยาศาสตรป์ ระยุกต์ เทคโนโลยี Volume 4
 700 ศิลปกรรม การบนั เทิง  ดรรชนีสัมพันธ์ (Relative Index) เป็น
 800 วรรณกรรม วรรณคดี
 900 ประวตั ศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตร์ ส่ ว น ที่ ส า คั ญ ท่ี สุ ด ข อ ง ร ะ บ บ ท ศ นิ ย ม
ของดิวอี้ เน่ืองจากดรรชนีสัมพันธ์เป็น

3. การแบ่งคร้ังที่ 3 : การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละ เครื่องมือสืบค้นท่ีจะนาไปสู่เลขหมู่ที่
หมวด ออกเป็นหมยู่ อ่ ย (Section) หมวดย่อย 1000 หมวด ต้องการ

(The Thousand Divisions) เรียงลาดับจากเร่ืองท่ัวไป  คู่มือการใช้ (Manual)
ไปสเู่ รื่องเฉพาะเจาะจง เช่น การแบง่ หมวดยอ่ ย 630

 630 เกษตรศาสตร์
 631 เทคนคิ อปุ กรณ์ และวัสดุ (Techniques,

equipment, materails)

 632 ความเสยี หายของพืชอนั เกิดจากเชอ้ื โรคและสตั ว์

(Plant injuries, diseases, pests)

 633 การเพาะปลูกพชื ไร่ (Field & plantation

crops)

ชอ่ื นางสาวสุพตั รา ภรู่ ะหงษ์ รหสั 603080695-7 สาขา สารสนเทศศาสตร์ ชน้ั ปที ่ี 2

 634 การทาสวนผลไม้ ผลไม้ และปา่ ไม้ (Orchards,
fruits, forestry)

 635 การทาสวนครวั (Garden crops
(Horticulture))

 636 สตั วบาล (Animal husbandry)
 637 อตุ สาหกรรมนมเนย (Processing dairy &

related products)
 638 การเพาะเล้ยี งแมลง (Insect culture)
 639 การลา่ สตั ว์ การตกปลา การอนุรกั ษ์ (Hunting,

fishing, comservation)

ตวั อย่าง : หนงั สือเร่อื ง การปลกู พชื ด้วยเมลด็

o เลขหมู่ทกี่ าหนดได้ คอื 634.9562

การจัดหม่หู นงั สอื แบง่ จากหมวดใหญไ่ ปหาหมวดยอ่ ย ไดแ้ ก่ มคี วามสมั พันธก์ บั คมู่ ือของระบบ ไดแ้ ก่  แบ่งออกเปน็ 20 หมวดใหญ่
1. หมวดใหญ่ หรือการแบ่งคร้ังท่ี 1 เป็นการแบ่งสรรพวิชา
ออกเป็น 20 หมวดใหญ่ โดยใช้ตัวอักษรโรมัน A – Z  การกาหนดเลขหมู่โดยตรง : เลขท่ี  ใ ช้ ตั ว อั ก ษ ร ผ ส ม กั บ ตั ว เ ล ข เ ป็ น
เป็นสญั ลักษณ์แทนเนื้อหาของหนังสือ ไดแ้ ก่ สมบูรณ์ที่สามารถนาไปใช้ในการกาหนด สัญลกั ษณ์
L.C. เนอื้ หาของหนังสอื ไดท้ นั ที

(Library of Congress  หมวด A หนังสืออ้างอิงท่ัวไป หนังสือพิมพ์ วารสาร  การใช้ A-Z : เป็นการแบ่งย่อยเลขหมู่  เหมาะกับห้องสมุดขนาดใหญ่และ
Classification)
สงิ่ พิมพ์ของสมาคมและสถาบันทางวชิ าการตา่ งๆ ตารางเลข โดยใช้เลขคัตเตอร์เพื่อระบุเนื้อหาเฉพาะ ห้องสมดุ เฉพาะ
 หมวด B ปรัชญา ตรรกวิทยา อภิปรัชญา จิตวิทยา หรือแบ่งย่อยเน้ือหาตามชื่อภูมิศาสตร์
เลขคัตเตอร์ประกอบด้วยตัวอักษรและ  เ ล ข ห มู่ ข อ ง ทุ ก ส า ข า วิ ช า แ บ่ ง อ ย่ า ง
สุนทรยี ศาสตร์ จรยิ ศาสตร์ ศาสนา
 หมวด C ประวัติอารยธรรม โบราณคดี จดหมายเหตุ ตัวเลข ละเอียด และการปรบั ปรุงใหท้ ันสมัยอยู่

พงศาวดาร o ตัวอักษร เป็นตัวอักษรแรกของช่ือ เสมอ ออกทุก 3 เดือน และรวมเล่ม
 หมวด D ประวัติศาสตร์ทั่วไป ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว ภูมศิ าสตรห์ รอื เน้ือหาเฉพาะ 1 ปี

ประวตั ศิ าสตร์ประเทศต่าง ๆ ทั้งในยุโรป แอฟริกา เอเชีย

และหม่เู กาะต่าง ๆ (ยกเว้นทวปี อเมรกิ า)

ชอ่ื นางสาวสุพตั รา ภรู่ ะหงษ์ รหสั 603080695-7 สาขา สารสนเทศศาสตร์ ชั้นปีที่ 2

 หมวด E – F ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์การท่องเท่ียว o ตัวเลข กาหนดขึ้นตามหลักเกณฑ์  สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเลขหมู่เข้าใจง่าย

ดินแดนในทวปี อเมริกา การกาหนดเลขคัตเตอร์ของระบบ และยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมของ
 หมวด G ภูมิศาสตรท์ ว่ั ไป มานษุ ยวิทยาและการบนั เทงิ หอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ นั ได้แก่
 หมวด H สังคมศาสตร์ 1. การแบ่งย่อยตามช่ือภูมิศาสตร์  เนอื้ หาวิชา
 หมวด J รฐั ศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง หนังสือคู่มือจะแยกเลขหมู่ในแต่ละ
 หมวด K กฎหมาย เช่น การแบ่งตามชื่อประเทศ หมวด ทาใหเ้ ข้าใจง่าย
 หมวด L การศึกษา ชอ่ื ท้องถ่นิ หรือ ช่ือรัฐ ชือ่ เมอื ง
 หมวด M การดนตรี 2. แบ่งย่อยตามภาษา หรือการ  มีการแบง่ ยอ่ ยตามภูมิศาสตร์

 หมวด N ศลิ ปกรรม แบ่งเนือ้ เรือ่ งออกไปตามเนอื้ หา  มีการแบ่งย่อยภายในได้หลายวิธี เช่น
 หมวด P ภาษาและวรรณคดี
 หมวด Q วทิ ยาศาสตรท์ ่ัวไป เฉพาะหรือตามชื่อเฉพาะอน่ื ๆ แบง่ ตามภมู ิศาสตร์ แบ่งเฉพาะเรือ่ งแบ่ง
 หมวด R แพทยศาสตร์
 หมวด S เกษตรกรรม การเลี้ยงสัตว์ การประมง โ ด ย ก ร ะ จ า ย เ ล ข คั ต เ ต อ ร์ ไ ป โดยใช้คตั เตอรเ์ ลขหมู่

ตามลาดับอักษรของชื่อต่างๆ ตั้งแต่  มีหมวด หมู่ให ญ่ที่สา รองไ ว้ให้กับ
A - Z พร้อมด้วยเลขประจาตัวของ สาขาวิชาที่จะมีข้ึนในอนาคต ถึง 5
อุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวเน่ืองด้วยพืชและสัตว์ตลอดจนกีฬาล่า

สัตว์ ช่ือเหล่าน้ี ซ่ึงเลขประจาตัวเหล่านี้  หมวด คอื I O W X Y
 หมวด T เทคโนโลยี ได้จากหลักเกณฑก์ ารกาหนดเลขคัต ใหห้ มวดหมขู่ องหนังสือท่ีมีเน้ือหาท่ัวไป
 หมวด U ยทุ ธศาสตร์  เตอรข์ องระบบ L.C. คอื หมวด A ซึ่งจะจัดให้กับหนังสือที่ไม่
 หมวด V นาวกิ ศาสตร์ ส า ม า ร ถ จั ด เ ป็ น เ รื่ อ ง ใ ด เ รื่ อ ง ห นึ่ ง
2.  หมวด Z บรรณานกุ รมและบรรณารักษศาสตร์ การใช้เลขคัตเตอร์สงวน : เป็นการ โดยเฉพาะได้
แบ่งย่อยเลขหมู่โดยการกาหนดเลขคัต
หมวดย่อย หรือการแบ่งครงั้ ท่ี 2 เป็นการแบ่งแต่ละหมวด เตอร์ซง่ึ สงวนไว้สาหรบั ใช้กับ เร่ืองใดเร่อื ง

ใหญ่ออกเป็นหมวดย่อย โดยใช้ตัวอักษรโรมันตัวใหญ่สอง หนึ่ง โดยจะนาเลขคัตเตอร์ซ่ึงสงวนไว้นี้
ตัวแทนเนื้อหาของหนังสือ (ยกเว้นหมวด E – F หมวด K ไปใช้กับเรื่องอ่ืน นอกเหนือจากท่ีกาหนด
และหมวด Z) ซึ่งแต่ละหมวดใหญ่จะแบ่งย่อยได้มากน้อย
ต่างกนั เชน่  ไมไ่ ด้
การใช้เลขคัตเตอร์ตาม : เป็นวิธีการแบ่ง
 4 หมวด A แบง่ เป็นหมวดย่อย ดงั น้ี AC รวมบท
นิพนธ์ รวมเรื่อง หนงั สือชดุ รายละเอียดของเร่ืองโดยใช้เลขคัตเตอร์
o AE สารานุกรม เรียงลาดับต่อที่เลขหมู่ เลขหมู่ที่กล่าวถึง
น้ีมีลักษณะที่แบ่งออกตามช่ือเฉพาะ
o AG พจนานุกรมและหนงั สืออา้ งองิ ทัว่ ไป

ชอื่ นางสาวสุพตั รา ภรู่ ะหงษ์ รหสั 603080695-7 สาขา สารสนเทศศาสตร์ ช้ันปที ่ี 2

o AT ดชั นี เรื่องราวเฉพาะ หรือช่ือประเทศ ด้วย

o AM พิพิธภณั ฑสถาน นกั สะสม และการเก็บ เลขคัตเตอร์ A - Z ก่อนแล้ว และเม่ือ
รวบรวม ต้องการขยายเลขหมู่ดังกล่าว จะเติม
ตัวเลขเรียงลาดับท่ีกาหนดต่อจากเลขคัต
o AN หนังสือพิมพ์ เตอร์นั้น ในคาอธิบายเลขหมู่ จะใช้คาว่า
o AP วารสาร "Under each"
o AS สถาบนั และสมาคมทางวิชาการ  การแบ่งย่อยเลขหมู่แบบเดียวกัน : เป็น
o AY หนงั สอื รายปี สมพตั รสร นามานุกรม
o AZ ประวตั ิของนกั วิชาการ ทนุ การศึกษาและ

การเรยี นรู้ การกาหนดให้เลขหมู่กลุ่มหน่ึงใช้การ

 4 หมวด Z แบ่งเป็นหมวดยอ่ ย ดงั นี้ แบ่งย่อย หรือกระจายเลขหมู่ไป ใน

o ทนุ การศกึ ษาและการเรียนรู้ ทานองเดียวกันกับการแบ่งย่อยหรือการ
o 4 - 15 เร่ืองท่ัวไปเกีย่ วกบั หนงั สือ กระจาย เลขหมู่ อีกกลุ่มหนึ่งท่ีได้กาหนด
o 40 - 115 การเขียน ไว้แล้ว

o 116 - 550 อุตสาหกรรมการผลิตหนังสือและ  การกระจายภายในหมู่ : เป็นการนาช่วง
การคา้ เลขแต่ละหมู่ไปกระจายตามลาดับของ
o 551 - 661 ลิขสิทธ์ิ และความเป็นเจ้าของผลิต
กรรมทางปญั ญา เลขที่ระบุเพื่อแบ่งย่อยตามลักษณะของ
งาน เนื้อหา หรือสถานท่ีทางภูมิศาสตร์
o 662 - 997 หอ้ งสมุดและบรรณา รักษศาสตร์ ตามทีช่ ว่ งเลขกาหนด
o 998 - 1000 รายการหนังสือของผู้พิมพ์หน่วย
 การใช้ตาราง : เป็นการกาหนดเลขหมู่
ราคาหนงั สือ สถิติการจาหนา่ ย
o 1001 - 9000 บรรณานกุ รม บรรณานุกรมทวั่ ไป โดยการใช้ตารางเป็นการกาหนดเลขหมู่
ของระบบ L.C. เป็นวิธีการแบ่งย่อย
o Z1201 - 4941 บรรณานกุ รมแหง่ ชาติ
เนื้อหาภายใต้ประเทศให้ละเอียดยิ่งข้ึน
o Z5051 - 7999 บรรณานกุ รมเฉพาะวชิ า
o Z8001 - 9999 บรรณานุกรมงานเฉพาะบุคคล โดยแบ่งตามยุคสมัย ลักษณะของงาน
เนอ้ื หาเฉพาะ และสถานที่ทางภูมิศาสตร์

ตารางจะต้องใช้ประกอบกับเลขหมู่ท่ี

กาหนดให้

ชือ่ นางสาวสุพตั รา ภรู่ ะหงษ์ รหสั 603080695-7 สาขา สารสนเทศศาสตร์ ช้ันปีท่ี 2

3. หมู่ย่อย หรือการแบ่งครั้งที่ 3 โดยวิธีเติมตัวเลขอารบิค o เลขหมู่ทม่ี คี าส่ังใหใ้ ชต้ ารางประกอบ
ตั้งแต่ 1-9999 เชน่ จะเป็นเลขหมู่ของประเทศท่ีมีช่วง
 PN1 วารสารสากล เลขห่างแตกตา่ งกนั เชน่
 PN2 วารสารอเมริกนั และองั กฤษ  10 จานวน
 PN86 ประวัติและวจิ ารณ์  2 จานวน
 PN101 ผแู้ ต่งอเมรกิ นั อังกฤษ  1 จานวน
ตารางที่ให้ใช้ประกอบ เลขหมู่
4. จุดทศนิยม หรือการแบ่งครั้งที่ 4 โดยใช้จุดคั่น และตาม ดังกลา่ ว ก็จะแบ่งเปน็ 3 ตาราง โดย
ด้วยตัวอักษรและตัวเลข เพ่ือแสดงรายละเอียดหมวดเร่ือง กาหนดช่วงเลขให้กระจายเลขหมู่
หรือรูปแบบ หรือประเทศ เชน่ เป็น 10 จานวน 2 จานวน และ
 TX คหกรรมศาสตร์ 1 จานวน
 TX อาหารและโภชนาเฉพาะกลมุ่ และเฉพาะชนช้ัน
 TX 361.A3 ผู้สงู อายุ
 TX 361.C5 เด็ก
o นอกจากนี้ยังมีการแบ่งตามตารางเลขเฉพาะ ซ่ึงต้อง
ใชป้ ระกอบกับเลขหม่อู ีก 5 ตาราง ไดแ้ ก่
 5.4.1 ตารางวธิ ีเขยี น
 5.4.2 ตารางภมู ิศาสตร์
 5.4.3 ตารางการแบง่ ตามยคุ สมยั
 5.4.4 ตารางการแบง่ เฉพาะเรื่อง
 5.4.5 ตารางรวม


Click to View FlipBook Version