The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tun.tunn3689, 2021-06-22 23:27:20

info

info

กฎหมายครอบครวัสมุดภาพอนิ โฟกราฟก ชุดความรู

โดยสำนักวิชานิตศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงราย

อาจารยที่ปรึกษา

คณาจารยสำนักวิชานติ ิศาสตร
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งราย

คำนำ

เอกสารรายงานเรื่องกฎหมายลักษณะครอบครัว ทำขึ้นเพื่อ
ใหนักเรียนไดศึกษากฎหมายในเรอื่ งครอบครวั การเผยแพรเอกสาร
ฉบบั นีจ้ ะยงั ประโยชนสำคัญตอการดำรงชีวิต และนำไปปรับใชในชวี ิต
ประจำวนั แกไขในส่ิงที่ควรแกไข การเรียนรจู ัดกิจกรรมการเรียนรู
กลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ เพื่อพัฒนาผูเรียนใหบรรลุตามพระ
ราชบัญญัติการศกึ ษาและหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานตอไป

หากผดิ พลาดประการใด ขออภยั มา ณ ทนี่ ีด่ วย
คณะผจู ัดทำ

1

“ครอบครวั ”นิยามความหมายของ

ครอบครวั หมายถงึ กลุมคนตั้งแตสองคนทีม่ าแตงงานกัน หร�อมคี วามสมั พนั ธฉนั ทสาม-ี ภรรยา อาศัยอยรู วมกนั
ในสถานท่เี ดียวกนั อาจจะมหี ร�อไมมกี ารส�บสายโลหติ หร�ออาจจะเล�้ยงดูผูอน่ื โดยการรับมาอปุ การะ อีกท้ังยงั อาจมี

ญาตพิ น่� องหร�อผอู นื่ มาอาศัยอยดู วยในสถานทเ่ี ดียวกัน

ป�จจบ� ันพอแม ไมไดมแี คเพศLหญGิง เพBศชTายแตมเี พศทางเล�อกหร�อเร�ยกอีกชอ่ื คือ คอื

• กลมุ ที่มีความหลากหลายดานอัตลักษณทางเพศ
คนทมี่ เี พศทป่ี รากฏทางรางกายกับจติ ใจไมตรงกัน

1 เชน รางกายเกดิ มาเปนผชู าย แตจติ ใจรสู �กวาตนเอง
เปนผูหญงิ

2 • กลุมทม่ี คี วามหลากหลายดานรสนิยมทางเพศ
คนเราแตละคนสามารถมีความรูส�กรัก รสู ก� ดงึ ดดู หร�อ
มอี ารมณทางเพศตอกันในลักษณะที่หลากหลายได
มที งั้ รักเพศตรงขาม รกั เพศเดียวกนั รักทั้งสองเพศ
หรอ� ไมมีความรสู ก� ทางเพศตอเพศใดเลยก็ได

3 • กลุมทีม่ คี วามหลากหลายดานการแสดงออกทางเพศ เปนการ
แสดงออกภายนอกของแตละบคุ คลซ่ึงอาจถูกตคี วามตามบร�บทของ
สังคมนั้นๆวาเปนเพศนน้ั เพศนี้ เชน คนท่ีไวผมยาวสวมกระโปรงตอง
เปนผูหญิง

**แต่ในประเทศไทยรับรองเพียงการสมรสระหว่างชายและ
2 หญิงตามมาตรา 1448 มาตรา 1457

เกง�อ่ านไรขแหหงมน้ั

การหมัน้ ทฝี่ าฝน ผลเปนโมฆะ

เงอ่� นไขอายุ มาตรา 1435 การหมัน้ จะทำไดตอ
เม่ือชายและหญิง

มีอายุส�บเจด็ ปบรบ� ูรณแลว
การหมน้ั ท่ฝี าฝนบทบญั ญัติ
วรรคหนงึ่ เปนโมฆะ

การทช่ี ายจะทำการหมน้ั หญิง
ชายและหญงิ ตองมีอาย1ุ 7 ปบรบ� รู ณ

อายุ 17 ปบรบ� ูรณ

การหม้ันที่ ฝาฝนบทบญั ญัติวรรคหน่ึงเปนโมฆะ

หมายถงึผกูเสพย� นัเปโตมลาฆามะไกมฎมหผี มลาบยงั คบั หร�อ

ตวั อยาง นายคิว นางสาวแนน
อายุ 15 ป อายุ 14 ป

ในขณะท่ี นายคิว ทำการหมน้ั กบั นางสาวแนน
ซึง่ นางสาวแนน อายยุ ังไมครบ 17 ป บร�บูรณ โดยมอี ายุ
เพ�ยง 14 ป การหมน้ั ดงั กลาวจงึ ฝาฝนบทบัญญัติ ป.พ.พ.
มาตรา 1435 วรรคหนง่ึ ยอมตกเปนโมฆะ

ตามมาตรา 1435 วรรคสอง

3

แบบของ “การหมน้ั ”

มอบหรือโอนทรพั ยสิน

การหมน้ั จะสมบรู ณ

หลักฐานวาจะสมรสกบั หญิงน้ัน

ของหมน้ั คอื

ทรพั ยสนิ ทีฝ่ ายชายใหกับหญงิ คหู ม้ันโดยของหมน้ั ตกเปนของฝายหญิง

ของหมัน้
ทรัพยสนิ ของหม้นั ตกเปนของ

ฝายหญิง

ตัวอยาง

แตง่ งานกนั นะ โดยนายจัสตินมอบแหวน 1 วง แหวนและรถยนตจงึ กลายเปน ของ
นายจัสตินเปนแฟนกับนางสาวแกวตา มลู คา 150,000 บาท และรถยนตอกี หมน้ั ทเ่ี ปนสทิ ธหิ รือเปนทรัพยสิน

ไดขอนางสาวแกวตาแตงงาน 1 คัน ใหแกนางสาวแกวตา ของนางสาวแกวตาแลว

4

สินสอด ทรพั ยสนิ ซง่ึ ฝายชายใหแกบดิ ามารดา ผรู ับบตุ รบุญธรรม
หรอื ผูปกครองฝายหญงิ แลวแตกรณี
เพอ่ื ตอบแทนการทหี่ ญงิ ยอมสมรส

บดิ ามารดา ฝายหญงิ
ผูรบั บุตรบญุ ธรรม

ผปู กครอง

สนิ สอดมีลักษณะสำคญั 3 ประการ

1 ตองเปนทรพั ยสนิ ไมจำเปนตองใหในขณะทำสัญญา ใหในภายหลงั ได
2 เปนของท่ฝี ายชายใหแกบดิ ามารดา ผรู ับบตุ รบญุ ธรรม หรือผูปกครองฝายหญิง
3 เพ่อื ตอบแทนการทหี่ ญิงยอมสมรส

เหตสุ ำคญั อนั เกดิ แกห่ ญิง

เหตทุ ่จี ะกระทบกระเทือนถงึ การสมรสที่จะมีตอไประหวางชายและหญงิ

หญิงคหู มั้นไปรวมประเวณีกับชายอน่ื ทำใหชายไมสมควรหรือไมอาจ
สมรสกบั หญงิ น้นั
เปนโรคติดตออยางรายแรง
ถูกจำคกุ ฝายชายเรียกสนิ สอดคืนได
โดยมีพฤติการณซึง่ ฝายหญงิ ตองรบั ผิดชอบ

5

“คาทดแทน”สทิ ธิในการเรียก

สิทธใิ นการเรียกคาทดแทนนนั้ จะมไี ดเมือ่ ผิดสัญญาหมนั้ กอน หากไมมีการผิดสัญญา
หมัน้ เชน ไมมีการหม้นั เกิดขึน้ ดังน้ีสทิ ธดิ งั วากจ็ ะไมเกดิ ขึ้น ดงั ตามมาตรา
1439,1440,1444

ตามมาตรา 1439 “ เมื่อ มีการหม้ันแลว ถา ฝายใด ผิด
สัญญาหมน้ั อีกฝายหน่งึ มีสิทธเิ รยี กใหรบั ผดิ

ใชคาทดแทน ในกรณที ี่ ฝายหญิง เปนฝายผิด
สญั ญาหมน้ั ใหคนื ของหม้ัน แกฝายชายดวย ”

โดยคาทดแทนท่ีอาจเรยี กได มดี งั ใน
มาตรา 1440 และ 1439

“เจนนีผ่ ดิ สญั ญาหมัน้ กบั ไค ไคจึงบอกเลกิ สัญญา
หมั้นและใหเจนนค่ี ืนของหมัน้ ”

เจบีทำสญั ญาหมน้ั กบั ซึงกิ แตกลับไปหมน้ั กับจอย
ซึงกิรจู ึงยกเลกิ สัญญาหมั้นและไมคืนของหมน้ั

6

การเรียกทดแทน

1 คาทดแทนความเสยี หายตอกาย
หรอื ช่ือเสยี ง
2 คาทดแทนความเสียหายอันเนอื่ งมาจาก
การเตรยี มการสมรส
3 คาทดแทนความเสยี หาย เน่ืองจากได
จดั การทรัพยสนิ หรืออาชพี เพราะคาด
วาจะมีการสมรส
กรณี
4 คืนของหมั้นในกรณี
หญิงผิดสญั ญาหมั้น

การผิดสัญญาหมน้ั ท่สี ามารถทำใหเกดิ

สิทธิในการเรยี กคาทดแทนไดนอกจาก

การผดิ สญั ญาหมัน้ แลวน้นั

7

สัญญาหม้ัน

ตัวอยาง คอื ผิดสัญญาหมั้น เม่ือฝ่ายใดฝา่ ยหนง่ึ ผิดสัญญาหมั้น เชน่
มคี หู่ มนั้ แล้วไปแต่งงานกบั คนอ่ืน หรอื ได้หนีตามคน
อ่ืนไปจะฟอ้ งรอ้ งตอ่ ศาลใหศ้ าลบงั คบั ใหแ้ ต่งงานกนั ไม่ได้
เพราะการแตง่ งานตอ้ งเกดิ จากความสมคั รใจ

มาตรา 1442

ในกรณีมีเหตสุ ำคัญอนั เกดิ แก่หญิง คหู่ มั้นทำให้ชายไมส่ มควร

สมรสกบั หญงิ น้ัน ชายมสี ทิ ธบิ อกเลกิ สญั ญา
หมน้ั ไดแ้ ละใหห้ ญงิ คนื ของหมน้ั แกช่ าย

นายอนเปน็ คู่หมน้ั ของมโิ น ไดท้ ำการหมัน้ หมายวัน
ที่ 11 มิถนุ ายน 2564 นายอนไดม้ ใี จใหซ้ อกจินเม่อื
ใกล้ถงึ วนั สมรส นายอน ได้หลบหนไี ปกับซอกจนิ

ผลทเี่ กดิ ขนึ้

ทำใหม้ โิ นไม่สามารถทำการสมรสตามท่ีหม้นั หมายกันไว้ ถอื ไดว้ า่
นายอนได้ปฏิเสธการสมรสกับมโิ น จงึ สามารถบอกเลกิ สัญญาหมั้น
ได้ นายอนต้องคืนของหมั้นใหแ้ ก่มโิ นด้วย

8

เมอื่ ผิดสญั ญาหมัน้

“ มาตรา 1439 เมือ่ มีการ ให้เรียกได้เฉพาะกรณีทีม่ ีการหมนั้ เทา่ น้ัน ฉะนั้น หาก
หม้นั แล้ว ถ้าฝา่ ยใดผิด ชายและหญิงตกลงกันวา่ จะทำการสมรสหรือจด
สญั ญาหมั้นอีกฝา่ ยหน่งึ มี ทะเบียนสมรสกนั โดยไมม่ กี ารหมนั้ แลว้ แมฝ้ ่ายใด
สิทธิเรยี กให้รบั ผิดใช้ ฝา่ ยหน่งึ ไม่ปฏิบตั ิตามข้อตกลง อีกฝ่ายหนึง่ เรียก
ค่าทดแทนไม่ได้
คา่ ทดแทน
ในกรณที ่ฝี า่ ยหญิงเปน็ ฝ่าย ตวั อยาง
ผดิ สญั ญาหม้ันใหค้ ืนของ
นายโฮคิม ไปแต่งงานกับนางสาวจยี อน ท้ังที่ตนมนี าง
”หมน้ั แก่ฝา่ ยชายดว้ ย สาวคมิ ม่ี เปน็ คู่หมัน้ อยู่แล้ว ในกรณนี ี้ นางสาวคมิ มี่
มีสิทธ์ิ เรียกให้นายโยคมิ รบั ผิดใชค้ ่าทดแทน

ตัวอยาง

นางสาวโอเค ไปแต่งงานกับนายไบโอ ทง้ั ทีต่ นมีนายชจี องเปน็ ค่หู มั้นอยู่แลว้ ในกรณีน้นี างสาว
โอเค ตอ้ งคนื ของหมั้นใหแ้ ก่นายชีจอง ใหเ้ รยี กได้เฉพาะกรณีทม่ี กี ารหมัน้ เทา่ นั้น ฉะน้ัน หากชายและหญงิ
ตกลงกันว่าจะทำการสมรสหรอื จดทะเบยี นสมรสกนั โดยไม่มีการหมัน้ แลว้ แมฝ้ า่ ยใด ฝา่ ยหนึง่ ไม่ปฏิบัติ
ตามข้อตกลง อกี ฝา่ ยหนง่ึ เรยี กคา่ ทดแทนไมไ่ ด้

9

การสมรสเงอ่ื นไขแห่ง

มาตรา 1448
การสมรสจะกระทำได้ต่อเมอื่ ชายและหญิงมีอายุ 17 ปบี รบิ ูรณ์

กรณมี ีอายคุ รบ 17 ปีบรบิ รู ณ์ แตย่ ังไมถ่ ึง 20 ปี จะทำการสมรสได้ตอ้ งขออนุญาตผู้
ปกครองกอ่ น เมือ่ ผู้ปกครองยนิ ยอมจงึ ทำการสมรสได้
กรณบี รรลนุ ิตภิ าวะแล้วนน้ั (อายคุ รบ 20 ปีบรบิ รู ณ์) จะทำการสมรสสามารถกระทำไดเ้ ลย
มิต้องมคี วามยินยอมจากผ้ปู กครองกอ่ น

10

มาตรา 1448 ตอนทา้ ย แตใ่ นกรณีมีเหตอุ ันควรศาล
จะอนุญาตใหท้ ำการสมรสกอ่ นได้

ตวั อยาง

นายจอ๋ ม อายุ 16 ปี เป็นแฟนกับ
นางสาวออ๋ ม อายุ 15 ปี แตบ่ ังเอญิ นางสาว
ออ๋ มไดต้ ้ังครรภ์ขนึ้ มา ศาลจะอนุญาตให้ทำการ

สมรสก่อนได้

11

เป็นโมฆะฝ่าฝนื กกาฎรหสมมราสยท่ี

เปน็ คนวิกลจรติ หรือไร้ความสามารถ
เปน็ ญาติสบื สายโลหติ หรือเปน็ พี่น้องระหวา่ งกัน

เปน็ การสมรสซอ้ น
ขาดเจตนาสมรส
การสมรสจะทำไดต้ ่อเม่ือชายหญิงยินยอมกนั
และต่อหน้านายทะเบียน
นายทะเบียนต้องบนั ทึกความยนิ ยอมนัน้ ดว้ ย

12

กฝารา่ สฝมรสืนที่ มาตรา 1449 เปน็ โมฆะ

การสมรสจะกระทำมิไดถ้ า้ ชายหรือหญงิ เป็นบุคคลวกิ ลจรติ หรือ

เป็นบคุ คลซงึ่ ศาลส่งั ให้ เปน็ คนไร้ความสามารถ

สมรส สมรส บุคคลวกิ ลจรติ หมายถงึ บุคคลมคี วามประพฤตหิ รือ
! กิริยาผิดปรกติ หรือไมส่ ามารถแยกแยะผดิ ชอบช่ัวดี

เพราะสติวิปลาส

สมรส สมรส
!

ชาย หรือ หญิง ชาย หรือ หญิง ชาย หรือ หญงิ ชาย หรอื หญิง
เป็นบุคคลวิกลจรติ เป็นคนปกติ เปน็ บคุ คลซง่ึ ศาลสงั่ ให้เป็นคน เปน็ คนปกติ

ไรค้ วามสามารถ ทวด
ปู่ยา่ ตายาย
มาตรา 1450 บิดามารดา
• ชายหญงิ ซึง่ เป็น ญาตสิ ืบสายโลหิตโดยตรง ขน้ึ ไปหรอื ลงมา
• เปน็ พ่นี อ้ งร่วมบิดามารดา หรือร่วมแตบ่ ดิ าหรือมารดา จะทำการ สมรสกนั ไมไ่ ด้ สมรสกนั ไม่ได้

พนี่ ้อง บดิ ามารดา หรือรว่ มบิดา หรอื มารดา ลูก หลาน
เหลน ลื้อ
คู่สมรส ทำการสมรส ค่สู มรส
มาตรา 1452
ถือว่าเปน็ การสมรสซ้อน • กำหนดเงอื่ นไขห้ามชายหรอื หญงิ ทำการสมรสขณะทีต่ นมคี ู่ใหป้ รากฏโดยเปดิ เผย
มาตรา 1458 สมรสอยู่ ซึ่งเป็นหลกั การของกฎหมายครอบครัวที่กำหนดใหม้ ีคู่
• การสมรสจะทำไดต้ อ่ เมอ่ื ชายหญงิ ยินยอมเป็นสามีภรยิ ากันและ สมรสได้เพยี งคนเดียว
• หากทำการสมรสซอ้ นหรือสมรสขณะทตี่ นมีคู่สมรสอยู่แล้ว
• ตอ้ งแสดงการยนิ ยอมนน้ั ใหป้ รากฏโดยเปดิ เผยตอ่ หนา้ นายทะเบยี น
ยินยอมเป็นสามภี รยิ ากัน
และใหน้ ายทะเบียนบนั ทึกความยินยอมนั้นไวด้ ว้ ย
สมรส

บนั ทกึ ความยนิ ยอม นายทะเบยี น 13

คำพพิ ากษาของศาลเทา่ นน้ั
ทแ่ี สดงวา่ การสมรสฝ่าฝนื

มาตรา 1449 การสมรสจะกระทำมไิ ดถ้ ้าชายหรอื บคุ คลวิกลจรติ หมายถงึ บุคคลท่มี ี
หญงิ เปน็ บคุ คลวกิ ลจริตหรอื เป็นบคุ คลซง่ึ ศาลสั่ง ความประพฤตหิ รือกิรยิ าผดิ ปกติ
ให้เปน็ คนไรค้ วามสามารถ หรอื ไม่สามารถแยกแยะผิดชอบช่วั
ดี เพราะสติวปิ ลาส
สมรส
! สมรส

!

ชาย หรือ หญงิ ชาย หรือ หญงิ ชาย หรือ หญิง ชาย หรอื หญงิ
เป็นบุคคลวิกลจริต เปน็ คนปกติ เป็นบคุ คลซ่งึ ศาลสงั่ ให้เป็นคน เปน็ คนปกติ

ไรค้ วามสามารถ ทวด
ปยู่ ่า ตายาย
มาตรา 1450 บิดามารดา
• ชายหญงิ ซง่ึ เปน็ ญาติสืบสายโลหิต
โดยตรงขน้ึ ไปหรือลงมา สมรสกันไมไ่ ด้
• เป็นพ่ีนอ้ งร่วม บิดามารดาหรอื ร่วมแต่
บิดาหรือมารดา ลกู หลาน
เหลน ล้อื
• จะทำการสมรสกันไมไ่ ด้

สมรสกันไม่ได้ บดิ ามารดา หรอื รว่ มบิดา หรอื มารดา มาตรา 1458

พน่ี อ้ ง • การสมรสจะทำไดต้ อ่ เมื่อชาย
ยนิ ยอมเปน็ สามีภรยิ ากนั หญงิ ยนิ ยอมเป็นสามีภริยากนั และ
ให้ปรากฏโดยเปิดเผย • ต้องแสดงการยินยอมนัน้ ให้
สมรส ปรากฏโดยเปิดเผยต่อหนา้ นาย
ทะเบียน
และให้นายทะเบียนบันทกึ ความ
ยินยอมนนั้ ไวด้ ้วย

14 นายทะเบียน บันทกึ ความยินยอม

คสู่ มรสชายหญงิ คสู่ มรส บิดามารดา หรอื ผสู้ ืบสันดานของค่สู มรส
อาจร้องขอให้ศาลพพิ ากษาว่าการสมรสเปน็
โมฆะได้

ร้องขอ

้ผูร้องขอ

ผ้มู ีส่วนไดเ้ สีย ค่สู มรสชายหญงิ
บิดามารดา
รอ้ งขอ

อัยการ ผสู้ บื สันดานของคสู่ มรส

15

สนิ สว่ นตัว

เปน็ ทรัพยส์ นิ ระหวา่ งสามีกบั ภรยิ าที่ไดแ้ ยกไว้เป็นสินส่วนตัวของใครของมันแล้ว ไม่
กระเด็นไปฝัง่ ภรรยาหรอื สามี

• ทรพั ยส์ นิ ฝ่ายใดฝา่ ยหนงึ่ ท่มี อี ยู่ • ทรพั ย์สินที่เปน็ ของใช้สว่ นตัว
กอ่ นสมรส ทรพั ยส์ นิ ท่ีเป็นเครอื่ งใช้สอยสว่ นตัว เครื่องแต่งกาย

ตัวอย่างเชน่ บ้าน, ที่ดิน, เงินทอง หรอื เครือ่ งประดับกายตามฐานะหรือ
เครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ทจี่ ำเปน็ ในการประกอบอาชีพ
• ทรพั ยส์ นิ ท่ีเป็นได้การรบั มรดก หรือ การให้
โดยเสน่หาระหว่างสมรส • ทรัพย์สนิ ท่ีเปน็ ของหม้นั
ทรพั ย์สินทเี่ ปน็ ของหม้นั กฎหมายใหถ้ ือเปน็

สนิ ส่วนตัวของฝา่ ยหญิง

การรบั มรดก หมายถงึ การที่ผ้ใู ห้ซึง่ เป็น เจ้าทรัพย์สินแกค่ วามความตายแล้ว ทรัพย์สนิ ที่ไดม้ า

นนั้ จะตกเป็นสินส่วนตัว ไม่วา่ จะเป็นการรับมรดกในฐานะผู้รับตามพินัยกรรมหรอื เป็นทายาทโดยธรรม

16

สินสมรส

หมายถึง ทรพั ยส์ นิ ที่สามีภรยิ าได้มาภายหลงั การจดทะเบยี นสมรส
สามภี รรยาจะต้องจดั การรว่ มกนั

• ทรัพยส์ ินทค่ี ูส่ มรสไดม้ า • ทรพั ยส์ ินทฝี่ า่ ยใดฝ่ายหน่ึงมาโดย
ระหว่างสมรส พินัยกรรมหรือโดยการให้ระหวา่ งสมรส

นอกจากทีก่ ฎหมายกำหนดไว้ว่าเปน็ สินส่วน 1. พินยั กรรม โดยพินัยกรรมต้องทำเป็นหนังสอื
ตัวแลว้ สนิ ใดๆ ทีไ่ ดม้ าในระหว่างสมรสย่อม และระบวุ ่าเป็น “สนิ สมรส”

เปน็ สินสมรสท้งั สน้ิ เชน่ เงินเดือน 2. การให้ทีต่ ้องทำเป็นหนงั สอื นนั้ ระบุว่าเปน็
“สนิ สมรส”

• ทรพั ย์สินท่ีเปน็ ดอกผลของสินสมรส

เชน่ มแี มว่ ัว ลูกววั กเ็ ปน็ ดอกผลธรรมชาตมิ รี ถแลว้ นำไปให้เขาเช่า
คา่ เชา่ ก็เปน็ ดอกผลทเี่ กดิ ข้ึนตามกฎหมาย

17

ทรัพย์สนิ อ่ืน ๆ อนั นอกเหนอื จากสินส่วนตวั ไมว่ า่ อะไรกต็ าม ถา้
หากคสู่ มรสไมว่ ่าฝ่ายใดฝา่ ยหนงึ่ น้ันได้รับมาก็ใหถ้ ือว่าเปน็

”สนิ สมรส”

อาจจะเป็นเงนิ เดอื น
เงนิ โบนสั เงินรางวัลจากลอตเตอรี่

เงนิ ทท่ี ำมาหาไดร้ วมกนั

18

สามีและภรยิ าตอ้ งจดั การ

สินสมรสรว่ มกนั

สามแี ละภริยาต้องจดั การสนิ สมรสรว่ มกนั หรอื ได้รับความ
ยินยอมจากอกี ฝา่ ยหน่งึ ในกรณี

ขาย แลกเปลยี่ น ขายฝาก ให้เชา่ ซ้อื ก่อตั้งหรอื กระทำใหส้ ุดสิ้นลงท้งั หมดหรือ
จำนอง ปลดจำนอง หรือโอนสทิ ธจิ ำนอง บางสว่ น ซึง่ ภาระจำยอม สิทธอิ าศยั สิทธิ
ซึ่งอสังหาริมทรพั ย์หรือสงั หารมิ ทรพั ยท์ ่อี าจ เหนอื พื้นดิน สิทธเิ ก็บกินหรอื ภาระตดิ พันใน
จำนองไดจ้ ำนอง คอื การใครคนหน่ึงเรยี กว่า
ผ้จู ำนองเอาอสังหาริมทรพั ย์ อนั ได้แก่ ทดี่ ิน อสังหาริมทรพั ย์
บา้ นเรอื นเป็นต้น ไปตราไว้แก่บคุ คลอีกคนหน่งึ
เรยี กว่า ผ้รู บั จำนองหรอื นัยหนึ่งผจู้ ำนองเอา
ทรพั ยส์ นิ ไปทำหนงั สอื จดทะเบียนต่อเจ้า
พนักงานเพื่อเป็นประกันการชำระหนข้ี อง
ลกู หน้ี โดยไมต่ อ้ งสง่ มอบทรพั ยท์ ่จี ำนอง

ให้เชา่ อสงั หาริมทรพั ยเ์ กิน 3 ปี ให้กู้ยืมเงนิ
อสงั หาริมทรัพย์ หมายถงึ ทรัพยท์ ี่นำไปไหนไม่
19
ไดท้ รพั ย์ที่ตดิ กับที่ เช่น บา้ น ทดี่ นิ
และทรพั ยอ์ ันตดิ อยูก่ บั ทดี่ นิ มีลักษณะเป็นการ
ถาวรหรอื ประกอบเป็นอนั เดียวกับท่ดี นิ นนั้

ให้โดยเสนห่ า
เว้นแตก่ ารให้ทพ่ี อควรแก่ฐานานุรูปของครอบครัว

เพอื่ การกศุ ล เพื่อการสังคมหรอื ตาม
หน้าทธี่ รรมจรรยา

ประนปี ระนอมยอมความ

มอบขอ้ พิพาทให้อนญุ าโตตุลาการวนิ ิจฉัย

นำทรพั ยส์ ินไปเป็นประกัน
หรอื หลักประกันต่อเจา้ พนักงานหรอื ศาล

20

บดิ ามารดากับบตุ ร

ตาม 1546 กลา่ วถึงวา่ เด็กท่ีเกิดจากผหู้ ญิงทไ่ี ม่ไดม้ ีการสมรสก็คงยังเป็น
บุตรทีช่ อบดว้ ยกฎหมายมาตรา ของหญิงนน้ั เวน้ จะมีกรณอี น่ื

บดิ ากับบุตรมี 2 แบบ

เด็กในสมรส เด็กนอกสมรส

ซองยอนได้คลอดบุตรซ่ึงซองยอนใน
ขณะนนั้ กไ็ มไ่ ด้สมรสกับซอเชแตอ่ ยู่

กันฉันสามีและภรยิ า

ยอจีสมรสกับยอเช หลงั จากนัน้ ก็มีบุตร ต่อ
มาคลอดบุตรซึง่ เป็นหญิง ซ่ึงบุตรนน้ั ก็คง

ยงั เปบ็ บตุ รชอบด้วยกฎหมาย
ของยอจแี ละยอเซ

21

เดก็ ท่เี กิดจากการสมรสท่ชี อบดว้ ยกฎหมาย
เดก็ เกดิ จากหญงิ ทม่ี ิไดม้ ีการสมรส
กบั ชาย ใหถ้ ือวา่ เป็นบตุ รชอบดว้ ย
กฎหมายของหญงิ นนั้ เวน้ แต่จะมี
กรณีอน่ื

เรยี กบุตรคืนจากสามที ไ่ี ม่ชอบด้วยกฎหมาย
กรณีทบ่ี ดิ ามารดาไมไ่ ด้
จดทะเบียนสมรสกัน

บตุ รยอ่ มเปน็ บุตรทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย
ของมารดาผ้เู ดยี ว

22

มีช่อื ในสูตบิ ัตรว่าเปน็ บดิ า - บิดา แจง้ เกดิ ใหใ้ ช้
ช่ือสกุล ยงั ไมเ่ พยี งพอเป็นบุตรชอบด้วย
กฎหมาย

เด็กเกิดจากบดิ ามารดาท่ีไม่ได้
สมรสกนั จะเปน็ บุตรตาม
กฎหมายไดต้ อ่ เมอ่ื บิดาและ
มารดาสมรสกนั

การทีบ่ ิดาไปแจง้ เกิดและยอมให้บุตรท่ีเกิดมาน้ันใช้ช่ือสกลุ

“(นามสกุล)ของตนและมชี ่อื ในสูติบตั รเลยี้ งดูบุตรมาตัง้ แต่เดก็ ยังไมถ่ อื ว่าเปน็
”บุตรชอบดว้ ยกฎหมาย

บดิ าทไี่ ม่ได้จดทะเบยี นสมรสน้นั “ เดก็ ”
จะเปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมาย ม3ี กรณี คือ

1 บดิ ามารดาสมรสกนั ในภายหลงั
2 บดิ าได้จดทะเบยี นว่าเป็นบุตร
3 ศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร

23

เด็กหญงิ บีเกิดจาก นายไขแ่ ละนางสาวปอู ยู่
กนิ กันโดยฉนั สามภี ริยา โดยท่ีไม่ไดม้ กี ารจด
ทะเบยี นสมรส และต่อมานายไขแ่ ละนางสาวปจู ด
ทะเบียนสมรสกนั หรือทัง้ สองคนได้จดทะเบยี นวา่
เด็กหญงิ บนี ้ันเป็นบุตร หรือมีคำพิพากษาของศาล
ว่า เด็กหญิงบีหรือผเู้ ยาว์น้ันเป็นบตุ รของนายไข่

นายปูอา้ งสทิ ธ์กิ ารเปน็ บดิ า
ตามกฎหมายดว้ ยการใหเ้ ดก็ หญิง
บใี ช้ชื่อสกุล (นามสกุล) ของตน

และส่งเสยี เลี้ยงดู

“ การกระทำดงั กล่าวนายไขไ่ ม่

สามารถอ้างกฎหมายใหต้ นเองมี
อำนาจเป็นบดิ าตามกฎหมายของ
เดก็ หญงิ บี นายไขต่ อ้ งคืนเดก็

”หญงิ บีใหแ้ ก่นางสาวปู

24

บดิ าจะจดทะเบียนเด็กเป็นบุตร
ชอบดว้ ยกฎหมายต่อเมอื่ ไดร้ บั
ความยินยอมจากใครบ้าง

• เดก็ และมารดาของเดก็ น้นั ต้องแสดง
ความยนิ ยอมในการจดทะเบยี น
รบั เดก็ ด้วยกนั ท้ังสองคน

• จะต้องแสดงความยินยอมดว้ ยตนเอง เพราะเปน็ เร่อื งเฉพาะตวั

• กฎหมายไมไ่ ด้กำหนดอายขุ อง • การจดทะเบยี นรับรองบุตรจึงเปน็
ผู้เยาวไ์ วเ้ พือ่ ทำการแสดงความ ดุลยพนิ ิจของนายทะเบยี นทจ่ี ะพิจารณา
ยนิ ยอม ความสามารถเด็กในการสื่อสาร

• ถา้ เดก็ ไมใ่ ห้ความยินยอมหรือไม่สามารถให้ความยินยอมได้
ศาลจะเป็นผพู้ จิ ารณาเพ่ือใหก้ ารคุม้ ครอง

25

สมรสส้นิ สุดลง

หญงิ ทส่ี ามตี ายหรือทก่ี ารสมรสสนิ้ สุดลงดว้ ยประการ
อ่นื จะทำการสมรสใหม่ไดต้ อ่ เมอ่ื การสนิ้ สดุ แห่งการ
สมรสไดผ้ า่ นพน้ ไปแล้วไมน่ อ้ ยกว่า 310 วนั เวน้ แต่

1 2คลอดบตุ รแลว้ ในระหว่างน้นั
สมรสกบั คู่สมรสเดมิ

มีใบรบั รองแพทย์ ประกาศนยี บตั ร หรือปรญิ ญาซง่ึ
เป็นผู้ประกอบการรกั ษาโรคในสาขาเวชกรรมไดต้ าม
กฎหมายวา่ มิได้มีครรภ์

3มคี ำสง่ั ของศาลใหส้ มรสได้

26

สิทธแิ ละหนา้ ท่ีของ บแิดละาบมตุารรดา

บุตรมสี ิทธิใช้ชือ่ สกุลของบดิ า มีสทิ ธิใชช้ ือ่ สกลุ บดิ า
เปน็ บุตรชอบดว้ ยกฏหมาย

กรณีทบ่ี ิดาไม่ปรากฏ บุตรมีสิทธิใช้ชอ่ื สกลุ ของมารดา

บุตรนอกสมรสหาก หากบตุ รนอกสมรสมาใช้ชื่อสกลุ หากบดิ าไมช่ อบ
ของ ดว้ ยกฏหมาย
บิดาไดย้ อมใหใ้ ช้ บิดาไมช่ อบดว้ ย
ชื่อสกลุ กฏหมาย ยนิ ยอมให้ใช้

เปน็ เหตใุ ห้ฟอ้ งคดขี อใหร้ ับเด็ก สามารถเรยี กใหบ้ คุ คลนนั้ แมภ้ รยิ าชอบดว้ ยกฎหมายของ
เป็นบุตรชอบดว้ ยกฏหมาย ระงับความเสยี หาย บิดาจะมีสทิ ธใิ ชช้ ่อื สกุลของสามไี ด้
** เพราะเป็นการใช้โดยมิได้รับอำนาจ
ภริยาจะฟ้องวา่ บุตรนอกสมรส
ของสามใี ชช้ อื่ สกลุ อันเปน็ การ
ละเมดิ ต่อภริยาโดยชอบด้วย
กฎหมายของบิดาไมไ่ ด้

บตุ รจำต้องอปุ การะเลีย้ งดบู ิดามารดา

อุปการะเลีย้ งดู บดิ ามารดา

27

บุตรชอบด้วยกฎหมายแตแ่ รก
หรอื เป็นบุตรในภายหลัง

บิดา มารดา

บดิ ามารดาจำตอ้ งอุปการะเลย้ี งดูบตุ รซึง่ บรรลุนติ ิภาวะแล้ว แต่

“ ”เฉพาะผทู้ พุ พลภาพและหาเลีย้ งตนเองมไิ ด้

มอี ายตุ ามทีก่ ฎหมายใหพ้ น้ จากภาวะผู้ บรรลุนิตภิ าวะ
เยาว์ และสามารถใช้สทิ ธิตามกฎหมาย
ได้ดว้ ยตนเองเมอื่ มอี ายุ 20 ปีบริบรู ณ์
หรือเมื่อชายและหญิงท่มี ีอายุ 17 ปี
บริบูรณแ์ ลว้ ทำการสมรสโดยชอบด้วย

กฎหมาย.

สญู เสยี อวยั วะ บดิ า มารดา สญู เสยี ภาวะปกติของ
อปุ การะเลย้ี งดูบุตร เมอื่ จิตใจ
28
สญู เสยี สมรรถภาพ
ของอวยั วะ หรอื ของ

ร่างกาย

สญู เสยี อวยั วะ

การรบั บตุ รบญุ ธรรมจะ
สมบรู ณเ์ มอื่ ไดจ้ ด

ทะเบยี นตามกฎหมาย

การรบั บุตรบญุ ธรรม
การรบั ลกู ของคนอน่ื มาเลย้ี งดูเสมอื นเป็นลูก

ของตัวเอง ซงึ่ จะตอ้ งจดทะเบยี นจึงจะสมบูรณ์ตาม
กฎหมายว่าดว้ ยการรบั เด็กเป็นบตุ รบญุ ธรรม มาตรา
1598/27

คุณสมบัตผิ ูข้ อรับเด็กเปน็ ลกู 1. อายไุ มต่ ำ่ กว่า 25 ปี
บญุ ธรรม
2. ไมเ่ ข้าขอ้ ห้ามเป็นพอ่ แม่
บุญธรรม

3. แก่กว่าเด็กไม่นอ้ ยกว่า
15 ปี

ขอ้ หา้ มเป็นพ่อแมบ่ ญุ ธรรม

ทำหนังสือ “ระบุชือ่ ”
พฤติกรรมไม่เหมาะสม
เคยมคี ดใี นศาลกบั เด็ก

29

การรับบตุ รบญุ ธรรมจะสมบูรณต์ าม
กฎหมาย เม่อื จดทะเบยี น ณ ท่ีวา่ การอำเภอ

จองเบอายุ 25 ปี อยากรับเด็กชายจนิ
ซอเป็นบุตรบุญธรรม แตอ่ ายหุ า่ งกันไม่
ถึง 15 ปี จงึ ทำใหไ้ มส่ ามารถรบั
ได้

สบพทิ ลตุ ธ่อกูรติแบบามุญุญม่แกธธทฎรรๆ้ รรหมมรมไบั าดยม้ ขรดองกของ

30

การรับบตุ รบญุ ธรรมไม่กอ่ ให้เกิดสิทธิในการรับมรดกของ

ผู้รบั บตุ รบญุ ธรรม

ผู้รบั บุตรบญุ ธรรมไมถ่ อื
เปน็ ทายาทโดยธรรม
จึงไมม่ ีสทิ ธิรบั มรดกของ
บุตรบญุ ธรรม เว้นแต่
บตุ รบุญธรรมทำพินัยกรรมให้

31

การฟ้อง เรยี กคนื ทรพั ยส์ นิ
กรณีม. 1598 / 30 วรรค 1

ผู้รบั บตุ รบญุ ธรรมตอ้ งยืน่ ฟ้องก่อน
ภายใน 1 ปี

รู้หรอื ควรจะรู้ถงึ การตายของบตุ รบุญธรรม

ภายหลัง 10 ปี

หลังบตุ รบุญธรรมตาย

ม.1598/30 วรรค 1
มาตรา 1598/30 ถา้ บุตรบญุ ธรรมซ่งึ
ไมม่ ีคู่สมรสหรอื ผู้สบื สนั ดานตายก่อนผรู้ ับ
บุตรบุญธรรม ผรู้ บั บุตรบญุ ธรรมมสี ทิ ธิ
เรยี กร้องเอาทรัพย์สินท่ีตนไดใ้ หแ้ ก่บตุ ร
บุญธรรมคืนจากกองมรดกของบตุ รบุญ
ธรรม เพียงเท่าทท่ี รพั ยส์ นิ นั้นยังคงเหลือ
อยู่ภายหลังท่ชี ำระหนขี้ องกองมรดกเสรจ็
32 ส้นิ แลว้

ค่าอุปการะเลี้ยงดู
ระหว่างสามีภริยา

สามารถยื่นคดฟี อ้ งเรียกร้องได้
• ฝ่ายท่คี วรได้รบั อุปการะเล้ยี งดู
• ไมไ่ ดร้ บั การอปุ การะเลยี้ งหรอื ได้รบั อปุ การะเลยี้ งดูไมเ่ พยี ง
พอ

จำนวนค่าอปุ การะเลีย้ งดู
• ศาลอาจใหเ้ ท่าไหร่ หรือไม่ใหก้ ไ็ ด้

โดยคำนงึ ถึงความสามารถของผ้ใู ห้ ฐานะ
ของผูร้ บั

การแกไ้ ขเปลีย่ นแปลงจำนวนค่าอุปการะ
เลี้ยงดู
• หากรายไดห้ รอื ฐานะของคู่กรณีเปลี่ยนแปลงไป ศาลจะ
สัง่ แกไ้ ข โดยใหเ้ พกิ ถอน ลด เพ่ิม หรือกลับให้คา่ อุปการะ
เล้ยี งดูอกี กไ็ ด้

33

มารดากับบุตรคา่ อปุ การะเลีย้ งดูระหว่าง

บดิ าที่จะมีหนา้ ทอ่ี ปุ การะเลีย้ งดู หรอื บตุ รต้อง
อปุ การะเลย้ี งดู หมายถึง บดิ าโดยชอบด้วย
กฎหมาย
• สว่ นบดิ าที่รบั รองโดยพฤตนิ ัย แมจ้ ะเป็น
พฤติการณ์อาจฟ้องขอใหร้ บั เดก็ เปน็ บุตรได้
กต็ าม แต่ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบดิ ากับบตุ รยัง
ไมเ่ กดิ ขึน้ จึงยงั ไมม่ หี น้าทอ่ี ุปการะเลย้ี งดู
จนกวา่ จะเปน็ บดิ าทช่ี อบด้วยกฎหมาย

หนา้ ท่ใี นการอปุ การะ
เลีย้ งดูบดิ ามารดานนั้
กฎหมายไดก้ ำหนดให้
มขี นึ้ ตง้ั แตข่ ณะที่บตุ ร
มสี ภาพบุคคล แตก่ าร
จะให้คา่ อปุ การะเลย้ี ง
ดูมากนอ้ ยเพียงใด
หรอื ไมต่ ้องพิจารณา
จากมาตรา 1598/38

34

การสิน้ สุดการสมรส

1.การตายของคสู่ มรส

2.ศาลมีคำส่งั ใหเ้ พกิ ถอนการสมรส
3.การหย่า

35

1การตายของ คูสมรส

การตายโดยธรรมชาติ เปนเหตุให
สน้ิ สุดการสมรส

2
3การหยา ศาลมีคำสัง่ ใหเพิกถอนการสมรส
กรณที ี่การสมรสเปนโมฆะ ไดแก
การขมขู การสำคัญตัวผดิ ในคู
สมรส, กลฉอฉล เปนตน

การหย่ามอี ยู่ 2 แบบ เปนการยนิ ยอมทงั้ ฝายชายและ
• การหยาแบบยนิ ยอม หากทง้ั คไู ม ฝายหญงิ สมัครใจอยูกินดวย
ตองการอยูรวมกันแลวกฎหมายสามารถให กนั ถาคสู มรสไมยนิ ยอมอยกู ิน
หยาดวยการยินยอม โดยทำเปนหนังสอื รวมกันตอไปอาจฟองศาลให
มีคำพพิ ากษาหยาขาดกันได
• การหยาโดยคำพพิ ากษา ถาเกิด
ฝายใดประพฤติตนไมเหมาะสมทจ่ี ะทำให
อยกู ันอยางสงบสุข เปนเหตุในการฟองหยา
ได

36

10เทห่ใี ตชุผใ้ นลการฟอ้ งหยา่
1.เมอ่ื อีกฝายอุปการะเล้ียงดหู รือยกยอง 2.เมื่ออีกฝายประพฤตชิ ัว่ จนเปนเหตุใหอีกฝาย
ผอู ่ืนฉันภรยิ าหรอื สามี เปนชู หรือมชี ู
หรอื รวมประเวณกี บั ผอู ่นื เปน -ไดรบั ความอับอายขายหนาอยาง
อาจณิ รายแรง
-ไดรับความดูถกู เกลียดชงั เพราะ
การท่ีเปนสามหี รือภรรยาของฝายที่
ประพฤติชั่ว
-ไดรับความเสียหายหรอื เดือดรอน
เกินควร

3.ถูกอกี ฝายทำรายหรอื ทรมานรางกาย/ 4.จงใจละทง้ิ รางอีกฝายหนง่ึ ไปเกนิ 1 ป
จิตใจ หรอื หม่ินประมาท -ฝายหน่งึ ตองคำพพิ ากษาถงึ ทีส่ ุดใหจำคุ
หรอื เหยียดหยามอกี ฝายหน่ึง หรือบุพการี กและไดจำคกุ เกิน 1 ป
ของอีกฝายอยางรายแรง -สามแี ละภริยาตกลงแยกกันอยเู พราะ
อยูรวมกันไมได เกินกวา 3 ป

คูสมรสหายสาบสญู ไมชวยเหลือ ไมเลย้ี ง คูสมรส มีชู
ตามคำส่ังศาลไมมีใคร ดู ทำใหเราเดือดรอน หรอื รวมประเวณี
ทราบวาเปนตายรายดี มากเกนิ ไป กบั ผูอื่นเปนประจำ โดน
อยางไร ทำรายรางกาย จติ ใจ
หรอื ทำรายบพุ การขี อง
เราอยางรายแรง

37

5.เมื่ออีกฝายถกู ศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญ 6.เมอ่ื อกี ฝายไมอปุ การะเลย้ี งดูตามสมควร หรือ
หรอื หายไปจากภูมิลำเนา หรือถน่ิ ทอ่ี ยเู กิน 3 ทำในส่ิงท่ีขดั ตอการเปนสามีภรรยากนั อยางราย
ป แรงจนทำใหอีกฝายเดือดรอน

7.เม่ืออกี ฝายวิกลจรติ ตลอดมา 8.อีกฝายทำผิดทัณฑบนท่ี
เกนิ 3 ป เคยทำกันไวเปนหนังสอื ใน
ซึง่ ยากท่ีจะหายเปนปกตไิ ด เรือ่ งความประพฤติ
และความวกิ ลจริตนน้ั ตองถงึ
ขนาดทที่ นอยรู วมกนั ตอไปไมได 10.เมื่ออีกฝายไมอาจรวมประเวณี ได
ตลอดกาล
9.เมื่ออีกฝายเปนโรคติดตออยางรายแรง
อันอาจเปนภยั แกอีกฝายหนง่ึ และโรคมี
ลักษณะเรื้อรัง ไมมที างทีจ่ ะหายได

คนผิดสญั ญาตองจายคาทดแทน

สามีหรือภรยิ าท่ีทำผดิ สัญญา เปนเหตุใหฟองหยา/ ชู หรอื ผูรวมประเวณี หรือผูไดรบั การยกยอง
เลีย้ งดู

ฟองหยาไดที่ : ศาลเยาวชนและครอบครวั ที่
จำเลยมีภูมิลำเนา มชี อ่ื ในทะเบียนบาน หรือที่
เกดิ เหตุแหงการหยา

38 อางองิ : ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1516 (เหตแุ หงการฟองหยา)

ขอยกเวนในเหตุ

ฟองหยา

กำหนดไวในมาตรา 1517 ประกอบดวยขอยกเวน 3 ประการ
ก. การยินยอมหรือรเู หน็ เปนใจ
ของฝายทีม่ ีสทิ ธิฟองหยา

ข. กรณีคสู มรสมสี ภาพแหงกายทไ่ี มอาจรวมประเวณีได โดยเกิด
จากคสู มรสอกี ฝาย คสู มรสท่ีกระทำไมสามารถฟองหยาได
ค. เหตุหยาเปนเหตเุ ล็กนอย

- คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3288/2527 ระหวางจำเลยอยูกินเปนสามีภริยากับ
โจทก จำเลยมีอาชพี ผิดกฎหมายคายาเสพติด โจทกรูเห็นและรวมกระทำ โดย
โจทกใหญาตขิ องโจทกนำเฮโรอนี มาจากภาคเหนือ จนญาตขิ องโจทกและ
จำเลยถกู เจาพนกั งานตำรวจจบั ศาลพพิ ากษาลงโทษจำคกุ จำเลย 20 ป ถือ
ไดวาโจทกไดยินยอมหรอื รูเห็น เปนใจในการกระทำของจำเลยทเี่ ปนเหตหุ ยา
นั้น โจทกจะ ยกขน้ึ เปนเหตุฟองหยาจำเลยหาไดไม

39

วธิ ีการตัง้ เฉพาะโดยคำส่ังศาลเทานั้น โดยมบี ุคคลท่จี ะ
ผูปกครอง สามารถขอได ดังนี้

ญาติของเด็ก อัยการ บคุ คลซึง่ พินัยกรรม
ระบใุ หเปนผูปกครอง

คณุ สมบัตขิ องผปู กครอง

บรรลุนิติภาวะ ไมเปนบุคคลลมละลาย
ไมเปนบุคคลไรความสามารถ
ไมเปนบุคคลทไ่ี มเหมาะสม
ไมเปนบคุ คลซ่ึงมหี รอื เคยมคี ดใี นศาลกับ ท่ีจะปกครองผูเยาว
40
ไมเปนบุคคลทีบ่ ิดาหรอื มารดา
หามไวมใิ หเปนผูปกครอง

สิทธแิ ละหนาท่ี

ถามหี นี้สินตอกนั ตองแจงตอศาล ผูปกครองตองจัดทำบัญชีทรพั ยสินของผู
กอนลงมอื ทำบัญชที รัพยสิน อยใู นปกครอง ใหแลวเสร็จภายใน 3
เดอื น มิฉะนน้ั ศาลอาจส่งั ถอนได

ผปู กครองเปนผแู ทนของผเู ยาวตาม ผอู ยูในปกครองไมมีหนาทต่ี อง
กฎหมาย มสี ทิ ธเิ ชนเดยี วกับบดิ า อปุ การะเล้ยี งดผู ปู กครอง
มารดา รวมท้งั อำนาจในการจัดการ
ทรพั ยสิน ไมมีสทิ ธริ ับมรดกในฐานะทายาท
โดยธรรมตอกัน

หากผเู ยาวอายเุ กนิ 15 ป การจัดการ
ทรัพยสินตองปรึกษาผูเยาวกอน

ผูอยูในปกครองมสี ิทธิฟองคดแี พง
หรอื คดอี าญาผปู กครองได

ผอู ยใู นปกครองไมมสี ิทธิใชนามสกลุ ผู
ปกครอง

41

รบั มรดกบุคคลใดสามารถ

?ไดบาง

“เม่อื บุคคลใดตาย มรดกของ
บุคคลนั้นตกทอดแกทายาท”
มรดก คือ ทรพั ยสนิ ทุกชนิดของ
ผตู าย รวมทั้งสทิ ธิหนาทแ่ี ละความ
รบั ผิดชอบตางๆ มรดก ตอง
เปนทรพั ยสนิ ทผี่ ูตายมี
อยู “ขณะที่ตาย” ดวย
ดงั น้นั เงินประกนั ชีวติ ไดหลัง
ตาย

คนมีสทิ ธิท่จี ะไดรบั มรดกแยกออกเปน 2 ประเภทคือ
1. ทายาทโดยธรรมแบงออกเปน 6 ลำดบั ทม่ี ีสิทธิรับมรดกตามลำดบั
ไดแก ผูสบื สันดาน ,บดิ า มารดา,พี่นองรวมบิดามารดาเดยี วกนั , พีน่ อง
รวมบิดาหรอื รวมมารดาเดียวกนั ปู ยา ตา ยาย, ลุง ปา นา อา

***ผรู บั มรดกโดยธรรมถาเปนพระภกิ ษุจะไมสามารถรบั ได ตองสกึ ออก
จากสมณเพศเสียกอนจงึ จะเรยี กรองเอาได เวนแตจะมผี ูทำพนิ ยั กรรม
ยกใหแกทาน ทานอาจเรียกรองเอาไดแมวาจะยังอยใู นสมณเพศ***

2. ผูรบั พินยั กรรมซึง่ ไดแกทายาทที่มสี ทิ ธิตามพนิ ยั กรรมอกี ประเภทหนงึ่

42

อำนาจปกครองบตุ ร

หากทง้ั ฝายชายและฝายหญิงไดทำการจดทะเบยี นสมรสกันและไดมบี ตุ รในระหวางนน้ั
ทง้ั สองฝายมีอำนาจรวมกนั ปกครอง แมในภายหลังมีการฟองรองจนถกู ศาลสัง่ ใหมี
การเพิกถอนสิทธิในการเลย้ี งดูก็ถือเปนบตุ รชอบดวยกฎหมาย

บุตรมีสิทธใิ ชชอื่ สกุลของบดิ า
ในกรณที ีบ่ ดิ าไมปรากฏ จะทำ
อยางไร?

บุตรมีสิทธิใชช่ือสกุลของบดิ าและในกรณที ไ่ี มปรากฏ
วาใคร เปนบิดา บตุ รมสี ิทธใิ ชช่ือสกุลของมารดาได
มไิ ด บังคับวาบุตรจะตองใชชอ่ื สกุลของบดิ าหรือ
มารดาเมอ่ื กฎหมายมิไดบังคับไว บตุ รกช็ อบที่จะใชชือ่
สกุลอ่นื ได แมจะปรากฏวามีบิดาโดยชอบดวย
กฎหมายอยู ก็ตาม การทผี่ เู ปนบดิ าและผูเปนมารดา
ยนิ ยอมพรอมใจกันใหบุตรใชชอ่ื สกลุ ของมารดาหา
เปนการตองหาม

“บุตรมีสิทธิใชชื่อสกุลของบดิ าในกรณที บี่ ดิ าไม
ปรากฏบุตรมีสิทธิใชชื่อสกลุ ของมารดา”

43

ทสทิ าธรขิ อกงในครรภมารดา

สภาพบุคคลจะเรมิ่ เมอ่ื ทารกคลอดแลวและมชี วี ติ จึงจะมี
สทิ ธิหนาท่ีตางๆ

คำวา “สทิ ธิของทารกในครรภมารดา”
คอื สทิ ธติ างๆของเด็กทีจ่ ะเกิดมาจากครรภมารดารวม
ไปถงึ หนาท่ีตางๆ ท่ีจะไดรับ

“ทารกทป่ี ฏสิ นธิแลวยอมถือวามีสภาพบคุ คลทุกคร้งั เมอื่ มีกรณที ่ตี อง
คมุ ครองผลประโยชนของทารกน้นั ”สิทธิประการอน่ื ๆ เชน สิทธิในเนือ้ ตวั
รางกาย ชือ่ เสยี ง สทิ ธิในทรัพยสนิ เปนตน แตคงจะตองอยูภายใตเง่อื นไขท่ีวา
ทารกคลอดและมชี ีวิตอยรู อด หากเดก็ เกิดมาไมมีสภาพบคุ คลเด็กก็จะไมไดรับ
การคุมครอง

44

การทีจ่ ะถอื วาเดก็ เปนทารกในครรภมารดาและมี
สิทธิรับมรดกในฐานะทายาทของเจามรดก เดก็ จะ
ตองเกิดมารอดอยภู ายใน 310 วนั นับแตเวลาที่
เจามรดกถึงแตความตาย ดวยเหตุผลทวี่ า โดย
ปกตคิ นเราจะมีระยะเวลาตงั้ ครรภตง้ั แตปฏสิ นธิ
จนถึงคลอด จะใชเวลาประมาณ 286 วัน แต
กฎหมายก็ไดเผ่อื เอาไวถงึ 310 วนั และถาหากเดก็
เกดิ มาภายหลังพน 310 วนั ไปแลว เด็กน้ันนาจะ
ไมใชบุตรของเจามรดกหรือทายาทอน่ื ของเจา
มรดก
สิทธิของทารกในครรภมารดาในการรับมรดก มี
ทง้ั ในฐานะทายาทโดยธรรม
และผรู บั พนิ ยั กรรม

45

ในการรับมรดกสิทธโิ ดยธรรม

บุตรนอกกฎหมาย

- บตุ รท่ีเกดิ จากบดิ ามารดาทีไ่ มไดจดทะเบียนสมรสตามกฎหมาย หรือ
- บุตรทเี่ กดิ จากหญิงอน่ื ในขณะทีบ่ ิดาจดทะเบยี นสมรสกบั ภรรยาตามกฎหมายอยแู ลว
เรยี กวา "บตุ รนอกกฎหมายหรือบตุ รนอกสมรส"
• บตุ รนอกสมรสทบี่ ดิ ายังมิไดจดทะเบียนรบั รองบตุ ร มีสทิ ธิเพียงรับมรดกบดิ าเทานั้น
สวนบดิ าไมมกี ฎหมายบัญญตั ิใหมีสิทธแิ ละหนาท่ตี อบุตรนอกสมรสที่ยังมไิ ดจดทะเบียน
46

การแบงทรัพยมรดกระหวางทายาท
โดยธรรมในลำดบั

ทายาทโดยธรรมทางกฎหมายในการแบง
มรดก

คูสมรสไดสนิ สมรสไปกอนคร่ึงหนึ่ง • ผูตายไมมีบตุ รและบิดามารดาของผูตายได
สินสมรสท่ีเหลืออีกครง่ึ + สินสวนตวั ผตู าย เสยี ชวี ติ ลงทง้ั หมด ภรรยาและพ่นี องรวม
• บดิ ามารดาของผตู าย บตุ รและภรรยาไดคนละ บดิ ามารดาเดยี วกันกบั ผตู ายไดคนละสวน
สวนเทาๆ กนั เทาๆ กนั
• บดิ ามารดาของผูตาย ไดเสียชวี ิตลงทง้ั หมด
บตุ รและภรรยา แบงคนละสวนเทาๆ กนั • ผูตายไมมีบุตรและบิดามารดาของผูตาย
• ผูตายไมมีบตุ ร ภรรยาและบดิ ามารดาของผู ไดเสียชีวิตลงท้ังหมด และผูตายไมมพี น่ี อง
ตาย แบงคนละสวนเทาๆ กัน ภรรยาไดไป 2 ใน 3 ปู ยา ตา ยาย หรือ ลงุ
ปา นา อา ไดไป 1 ใน 3 ของมรดกน้นั

• ภรรยาไดมรดกไปทงั้ หมด กรณีทผี่ ูตายไมมี
บุตร บดิ ามารดาของผตู าย ไดเสยี ชวี ติ ลง
ทั้งหมด และผตู ายไมมี ญาติ พี่ นอง

47

ท่รี บัลำดมบั แรละดสวกนแขบงอมรงดกผขอตูงคาูสมยรส

คูสมรสเปนทายาทโดยธรรมของคูสมรสที่เสียชวี ติ สวนแบงมรดกเปน
ไปตามลำดับของคสู มรสที่ยงั มชี ีวติ อยู ตามมาตรา 1635

ทายาทโดยธรรมลำดบั ที่ 1 ทบบหิดาิดรายาือมมผาาารูรทรบัดดโบาาดทตุบ่ชีรุญยอบธธบุญรดรธรวรรมยรมกมฎลหำมดายบั ไทมรี่ 2วม
• ลกู
• หลาน

••บเไุญหปลเธรนร่ือรยมๆทจีไ่ นดกจวดาทจะะเบหมยี นดเสปานยบรตุวรมตถางึ มบตุ ร
กฎหมาย

48


Click to View FlipBook Version