The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเกิดดินและดินในท้องถ่นของเรา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เรื่อง ดิน (Soil)

การเกิดดินและดินในท้องถ่นของเรา

การเกดิ ดนิ และดนิ ในท้องถนิ่ ของเรา

ดนิ เกดิ จากอะไร ส่ วนประกอบของดนิ

ดนิ เกดิ จากอะไร

กากราเรกเกดิ ิดดดนินิ

และดแลนิ ะดในนิ ใทนท้อ้องงถถน่ิิ่นขของอเรงาเรา

ประเภทของดิน การแบ่งช้ันดนิ

การอนุรักษ์และพฒั นาดนิ

รายวิชา งานเกษตร
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ

โรงเรียนสิงหวทิ ยาคม ตาบลบ้านสิงห์ อาเภอนางรอง จงั หวดั บุรีรัมย์
สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 32

กระทรวงศึกษาธิการ

ดนิ เกดิ จากอะไร

ดนิ เป็นทรัพยากรท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติที่ปกคลุมผวิ โลกเป็นช้นั ๆ เกิดจากหินและ
แร่ธาตุท่ีผพุ งั ตามธรรมชาติ รวมกบั ซากพืช ซากสัตวท์ ่ีเน่าเป่ื อย ซ่ึงเรียกวา่ ฮิวมสั โดยมีน้าและ
อากาศแทรกอยตู่ ามช่องว่างของดิน กระบวนการเกิดดินจะเป็นไปอยา่ งต่อเนื่องและใชเ้ วลานาน
ซ่ึงเป็นผลมาจากอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอ้ มอื่นๆ เช่น อุณหภูมิ ความช้ืน ลม
กระแสน้าและการกระทาของมนุษย์

ส่ วนประกอบของดนิ

สสสส

1. แร่ธาตุอาหาร ซ่ึงเป็นส่วนท่ีเกิดจาการสลายตวั ของหินและแร่ธาตุ หรือ เรียกวา่ อนินทรียวตั ถุ
มีอยปู่ ระมาณ 45 %

2. ซากพืชซากสัตว์ทเ่ี น่าเป่ื อย ผพุ งั หรือ เรียกวา่ อนิ ทรียวตั ถุ มีอยปู่ ระมาณ 5 %
3. อากาศ มีอยใู่ นช่องวา่ งระหวา่ งกอ้ นดิน มีอยปู่ ระมาณ 25 %
4. นา้ ที่อยใู่ นช่องวา่ งระหวา่ งกอ้ นดิน มีอยปู่ ระมาณ 25 %

ประเภทของดนิ
ประเภทของดนิ แบ่งตามลกั ษณะของเนื้อดนิ ได้ 3 ประเภท คือ

1. ดนิ ร่วน หมายถึง ดินท่ีมีซากพชื ซากสตั วผ์ สมอยมู่ าก
เน้ือดินร่วนซุยมีช่องวา่ งระหวา่ งเมด็ ดินมาก ทาใหน้ ้าซึม
ไดส้ ะดวก จดั เป็นเน้ือดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะสม
สาหรับการเพาะปลูกพืชทาการเกษตร

2. ดินทราย หมายถึง ดินท่ีมีเน้ือดินมีลกั ษณะหยาบ เมด็ ดิน
ไม่เกาะตวั กนั ทาใหก้ ารระบายน้าไดเ้ ร็วมาก จึงไม่สามารถ
กกั เกบ็ น้าไวไ้ ด้ เหมาะสาหรับใชใ้ นการก่อสร้าง ปลูกพชื
บางชนิดที่ไม่ตอ้ งการน้า เช่นกระบองเพชร มนั สมั ปะหลงั
มีความอุดมสมบูรณ์ต่าเพราะความสามารถในการดูดยดึ
ธาตุอาหารพชื มีนอ้ ย พชื ท่ีข้ึนบนดินทรายจึงมกั ขาดท้งั ธาตุ
อาหารและน้า

3. ดนิ เหนียว หมายถึง ดินที่มีเน้ือดินละเอียดและมีการจบั
ตวั กนั อยา่ งหนาแน่น มีช่องวา่ งระหวา่ งเมด็ ดินนอ้ ย จึง
สามารถอุม้ น้าไวไ้ ดม้ าก แต่การระบายถ่ายเทอากาศไม่
สะดวก เหมาะสาหรับงานป้ัน และปลูกพืชท่ีชอบน้ามาก
เช่น ขา้ ว บวั

การแบ่งช้ันดนิ

ช้ันต่างๆ ในดนิ ทเ่ี ราใช้เพาะปลกู พืช อาจจะแบ่งอย่างง่ายๆ ดงั นี้

1. ดนิ ช้ันบน หรือเรียกวา่ “ช้นั ไถพรวน” โดยทวั่ ไปมีความหนาประมาณ 15-30 ซม.
จากผวิ หนา้ ดิน ช้นั ดินบนน้ีเป็นช้นั ที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก เพราะเป็นช้นั ที่มีอินทรียวตั ถุ
หรือฮิวมสั สูงกวา่ ช้นั ดินอ่ืนๆ โดยปกติจะมีสีคล้าหรือดากวา่ ช้นั อ่ืนๆ รากพชื ส่วนใหญ่จะชอน
ไชหาอาหารอยใู่ นช่วง
ช้นั น้ี

2. ดินช้ันล่าง เป็นช้นั ที่มีอินทรียวตั ถุนอ้ ยกวา่ รากพืชท่ีชอนไชลงมาถึงช้นั น้ีส่วนใหญ่
จะเป็นรากของไมผ้ ลหรือไมย้ นื ตน้ ที่มีขนาดใหญ่ ท้งั น้ีเพือ่ ยดึ เกาะดินไวใ้ หพ้ ชื ทรงตวั อยไู่ ด้ ไม่
โค่นลม้ ลงไดง้ ่ายเม่ือมีลมพดั แรงโดยทวั่ ไปรากพชื เจริญเติบโตและดูดธาตุอาหารเฉพาะในส่วน

ที่เป็นดินบนและดินล่าง ซ่ึงดินแต่ละชนิดมีความลกึ ไม่เท่ากนั ดินท่ีลึกจะมีพ้ืนท่ีใหพ้ ชื หยง่ั ราก
และดูดธาตุอาหารไดม้ ากกวา่ ดินที่ต้ืน การปลูกพืชใหไ้ ดผ้ ลดีจึงควรคานึงถึงความลึกของดินดว้ ย

การอนุรักษ์และพฒั นาท่ีดนิ

การอนุรักษ์ หมายถึง การใชอ้ ยา่ งประหยดั และใหเ้ กิดประโยชนม์ ากที่สุด ตลอดจน
การนาส่ิงท่ีใชแ้ ลว้ มาใชใ้ หม่หรือหาส่ิงอื่นมาทดแทน

การอนุรักษ์และพฒั นาทดี่ ิน หมายถึง การรู้จกั ใชท้ ี่ดินใหเ้ กิดประโยชนม์ ากที่สุด
มีการสูญเปล่านอ้ ยท่ีสุด และมีการสร้างหรือทาใหด้ ินมีมากข้ึน การอนุรักษแ์ ละพฒั นาท่ีดิน
สามารถทาไดโ้ ดย

1. ปลูกพืชคลุมดิน เพ่อื ไม่ใหน้ ้าชะเอาแร่ธาตุต่างๆ ไป
2. ปลูกพืชหมุนเวยี นและใชป้ ๋ ุยใหถ้ ูกวธิ ี
3. ปลูกหญา้ เพ่ือเล้ียงสัตวแ์ ละปลูกป่ าไม้
4. ปลูกพืชตระกลู ถว่ั แลว้ ทาใหเ้ น่าเปื่ อยกลายเป็นป๋ ุย
5. ไม่เผาป่ าหรือทาลายป่ าไม้
6. ไม่ทาไร่เลื่อนลอย

7. สร้างคนั ดินก้นั ขวางท่ีลาดชนั เพ่อื ชะลอความเร็วของน้าที่ไหลเป็นการป้องกนั
การกดั เซาะพดั พาหนา้ ดิน หรือปลูกหญา้ แฝกเพื่อป้องกนั ดินพงั ทลาย

8. ปลูกพชื แนวขวางเป็นข้ึนบนั ไดตามเน้ือท่ีลาดชนั ทาใหด้ ินถูกชะลา้ งไปไดย้ าก

แหลง่ ที่มา LESA หรือ http://www.lesacenter.com
ศูนยก์ ารเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์
ตู้ ปณ.2058 ปณฝ.จฬุ าลงกรณ์ กทม.10320
โทรศัพท:์ 087-920-6630
โทรสาร: 02-993-6081
อเี มล์:[email protected]


Click to View FlipBook Version