The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือพนักงานเฌอร่า โรงงานลพบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mf13_safety, 2022-04-06 21:11:44

คู่มือพนักงานเฌอร่า โรงงานลพบุรี

คู่มือพนักงานเฌอร่า โรงงานลพบุรี

ค่มู อื ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และส่งิ แวดลอ้ ม

สาหรับพนักงาน

คำนำ

เพ่ือให้การดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางานของบริษัท เฌอร่า จากัด (มหาชน) โรงงานลพบุรี ประสบผลสาเร็จตามนโยบายด้าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและพลังงาน คณะกรรมการความปลอดภยั ในการ
ทางานจึงได้จัดทาคมู่ ือ "ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสิ่งแวดล้อม" ดว้ ยบริษัทฯ มีความ
ห่วงใยต่อความปลอดภัยและสุขอนามัยของพนักงาน ผู้รับเหมา และผู้มาติดต่อทุกท่าน
บริษัทฯ เชอ่ื มัน่ วา่ อุบตั เิ หตุท่ีเกดิ ขนึ้ จากการทางานน้นั สามารถป้องกนั ได้

คู่มือความปลอดภัยในการทางานฉบับน้ี บริษัทฯ ได้จัดทาขึ้นเพ่ือให้พนักงานและ
ผู้รับเหมาใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานภายในบริษัทฯ เพื่อก่อให้เกิดความปลอดภัยในการ
ทางาน ซึ่งได้กาหนดเนื้อหาจากลักษณะทั่วไปในการทางาน การป้องกันอันตรายจากการ
ทางาน ตลอดจนแนะนาให้รู้จักกฎระเบียบด้านความปลอดภัยของบริษัทฯ และการปฐม
พยาบาลเบ้อื งตน้ เมือ่ เกดิ อุบตั ิเหตหุ รือเหตฉุ กุ เฉนิ

บรษิ ัทฯ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าพนักงาน และผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกท่านจะให้ความร่วมมือในการ
ปฏิบัติตามกฎระเบียบด้านความปลอดภัยเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตาม
นโยบายด้านความปลอดภยั ฯ ของบรษิ ทั
“ ZERO ACCIDENT อุบตั เิ หตตุ ้องเปน็ ศูนย์ ”

นายจรนิ ทร์ อานักมณี
ประธานคณะกรรมการความปลอดภยั
อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน

สำรบญั หน้ำ
1
หวั ขอ้
2-3
1. นโยบายด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั สิง่ แวดล้อมและพลังงาน 4-5
2. สิทธหิ น้าทขี่ องนายจ้าง ลูกจา้ ง 6-7
3. กฎระเบียบดา้ นความปลอดภัยทวั่ ไป และ SHERA Safety Code 8 8-9
4. แนวทางการบริหารจัดการของบริษัท 10 - 12
5. นิยามความปลอดภยั
6. การจดั การดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม 13 - 18
7. มาตรฐานเก่ียวกบั ความปลอดภยั ในการทางาน 19 - 20
- งานท่เี กี่ยวกบั สารเคมี
- งานที่เกย่ี วกับเครื่องมือ 21
- งานทีเ่ ก่ียวกบั เครือ่ งจกั ร 22
- งานทีเ่ ก่ยี วกับรถยก 23
- งานท่เี ก่ียวกับป้ันจนั่ (เครน) 24
- งานท่ีเก่ียวกบั ไฟฟา้ 25 - 26
- งานเชือ่ มโลหะ 27
- งานยก เคลอื่ นย้าย 28
- งานในสานักงาน 29 - 30
- งานบนทีส่ ูง 31
- งานทีเ่ ก่ยี วกบั รังสี 32 - 34
- งานในท่อี ับอากาศ 35 - 36
8. อุบัติการณ์ อบุ ัติเหตุ เหตกุ ารณ์เกือบเกิดอุบตั ิเหตุ 37 - 39
9. อันตรายตามลกั ษณะงาน และอปุ กรณ์คุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล 40
10. ปา้ ย และสัญลกั ษณ์ความปลอดภัย 41 - 42
11. ระบบปอ้ งกัน และระงบั อคั คีภัย 43
12. ข้อควรปฏิบัตเิ มื่อพบเหตุฉกุ เฉนิ 44 - 48
13. การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ 49
14. จดุ รวมพล 50 - 51
15. แผนผังการระงับอัคคีภัย และหมายเลขโทรศัพท์ กรณเี กดิ เหตุฉุกเฉนิ

-1-

นโยบำยดำ้ นควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย สง่ิ แวดลอ้ มและพลังงำน

บรษิ ัท เฌอรา่ จากัด (มหาชน) เปน็ ผ้อู อกแบบ พัฒนา และผลิตวัสดุซีเมนต์คอมโพสิทส์เสริมแรงด้วยเส้นใย
มีความมุ่งม่ันผลิตสินค้าคุณภาพสูงด้วยการดาเนินธุรกิจที่มีความปลอดภัย ป้องกันอันตราย การบาดเจ็บหรือ
เจ็บป่วยจากการทางาน ปกป้องสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์และการจัดการพลังงานอย่างคุ้มค่า จึงได้กาหนด
นโยบายเพือ่ เป็นแนวทางการปฏบิ ตั ดิ ังน้ี
1. ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อกาหนดของลูกค้า และข้อกาหนดอ่ืนๆ ตลอดจนข้อตกลงต่างๆ ด้านความปลอดภัย
อาชวี อนามัย ส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งาน ทีม่ ตี ่อผูม้ สี ว่ นเก่ยี วข้องทกุ ภาคสว่ น
2. ประยุกต์ใช้และธารงไว้ซึ่งระบบมาตรฐานการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย ส่ิงแวดล้อมและ
พลังงาน ในทุกหน่วยงานเพ่ือยกระดับและพัฒนาประสิทธิผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
ส่งิ แวดล้อมและพลงั งานอยา่ งต่อเน่ืองทัว่ ทั้งองคก์ ร
3. ดาเนนิ ธุรกจิ ดว้ ยความรับผดิ ชอบต่อส่ิงแวดล้อมและสังคมในด้านการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า เพ่ือให้
เกดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและตอ่ ผู้มีส่วนได้เสีย ลดการปล่อยมลพิษและปกป้องพนักงาน
ใหท้ างานอยา่ งปลอดภยั โดยทกุ หนว่ ยงานมกี ารกาหนดเป้าหมายและแผนงานท่ชี ดั เจน
4. สนับสนุนทรัพยากรท่ีเหมาะสมและเพียงพอในการดาเนินงานตามนโยบาย ให้บรรลุตามเป้าหมายและ
วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพส่ิงแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย รวมทั้งส่งเสริมการใช้พลังงานและ
ทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเหมาะสมอยา่ งตอ่ เนื่อง
5. ส่งเสริมให้พนักงานมีจิตสานึกและได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถเพื่อให้ปฎิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพ
ปลอดภัย และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รวมท้ังมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงาน โดยมุ่งเน้น การมีส่วนร่วม
จากผ้บู ริหารและพนกั งานทุกระดบั
6. บริหารและสร้างความร่วมมือและพัฒนาด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อมและพลังงานให้แก่
ผู้รับเหมา ผู้จาหนา่ ย และคูค่ า้ ทีส่ าคัญ

โดยบริษัทถือว่าเป็นความรับผิดชอบและหน้าท่ีของพนักงานทุกคน ทุกระดับ และทุกหุ้นส่วนธุรกิจที่จะต้อง
ยดึ ถือและปฎบิ ตั ิตามอย่างเคร่งครัดและบรษิ ทั จะทบทวน ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงาน เพ่ือให้เกิดการ
ปฏบิ ตั ิตามนโยบายอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ จริงจังและต่อเนือ่ ง

จึงประกาศมาเพื่อทราบและถือปฏิบัตโิ ดยทัว่ กัน
ประกาศ ณ วันที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2562

นายวิโรจน์ ทานัชฌาสัย
ประธานเจ้าหนา้ ทบี่ รหิ าร

-2-

สิทธแิ ละหน้ำที่ของนำยจ้ำง

1. นายจ้างและลูกจ้างมีหน้าท่ีในการปฎิบัติตาม พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554
2. นายจ้างมีหน้าที่จัดและดูแลสถานประกอบกิจการ และลูกจ้าง ให้มีสภาพการทางาน และ
สภาพแวดล้อมในการทางานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการ
ปฎิบตั ิงานของลูกจ้าง มใิ ห้ลูกจ้างไดร้ ับอันตรายตอ่ ชวี ติ ร่ายกาย จิตใจ และสขุ อนามยั
3. นายจ้างมีหน้าท่ีจัดและดูแลให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ได้
มาตรฐาน ถ้าลกู จ้างไมส่ วมใสอ่ ุปกรณด์ ังกลา่ ว ให้นายจ้างสั่งให้หยุดการทางาน จนกว่าลูกจ้างจะสวม
ใสอ่ ปุ กรณน์ นั้
4. นายจา้ งมหี น้าท่จี ัดให้ผูบ้ รหิ าร หวั หน้างานและลูกจ้างทุกคนได้รับการฝึกอบรม ให้สามารถบริหาร
จัดการและดาเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานได้อย่าง
ปลอดภัยก่อนการเข้าทางาน เปล่ียนงาน เปลี่ยนสถานที่ทางาน หรือเปล่ียนแปลงเครื่องจักรหรือ
อุปกรณ์
5. นายจ้างมีหน้าที่แจ้งให้ลูกจ้างทราบถึงอันตรายที่อาจเกิดข้ึนจากการทางานและแจกคู่มือ
ปฎิบตั ิงานใหล้ กู จ้างทกุ คน ก่อนท่ลี กู จ้างจะเขา้ ทางาน เปลีย่ นงานหรือเปลีย่ นสถานทีท่ างาน
6. นายจ้างมีหน้าที่ติดประกาศ คาเตือน คาสั่ง หรือคาวินิจฉัยของอธิบดีกรมสวัสดิการคุ้มครอง
แรงงานพนักงานตรวจความปลอดภัย หรือคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางาน แลว้ แตก่ รณี
7. นายจา้ งเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม
ในการทางาน

อา้ งอิง : ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรือ่ ง สทิ ธแิ ละหน้าทีข่ องนายจ้างและลกู จา้ ง พ.ศ.2554

-3-

สิทธิและหน้ำทข่ี องลูกจ้ำง

1.ลูกจ้างมีหน้าที่ให้ความร่วมมือกับนายจ้าง ในการดาเนินการและส่งเสริมด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน โดยคานงึ ถงึ สภาพของงาน และหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบ
2. ลูกจ้างมีหน้าท่ีแจ้งข้อบกพร่องของสภาพการทางาน หรือการชารุดเสียหายของอาคาร สถานท่ี
เครอื่ งมอื เคร่ืองจักร หรืออุปกรณ์ท่ีไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเองต่อเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการ
ทางาน หัวหนา้ งาน หรือผู้บรหิ าร
3. ลูกจ้างมีหน้าที่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครอบความปลอดภัยส่วนบุคคลท่ีนายจ้างจัดให้และดูแลให้
สามารถใช้งานได้ตามสภาพและลักษณะของงานตลอดระยะเวลาทางาน
4. ในสถานท่ีที่มีสถานประกอบกิจการหลายแห่ง ลูกจ้างมีหน้าที่ปฎิบัติตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับความ
ปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานของนายจ้าง และสถานประกอบกิจการอ่ืนท่ี
ไม่ใชน่ ายจ้างด้วย
5. ลูกจ้างมีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากการเลิกจ้าง หรือถูกโยกย้ายหน้าที่การงาน เพราะเหตุที่
ฟ้องร้อง เป็นพยาน ให้หลักฐาน หรือให้ข้อมูลเก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางานต่อพนักงานตรวจความปลอดภัย คณะกรรมการความปลอดภัย
อาชวี อนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน หรือศาล
6. ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าจ้างหรือสิทธิประโยชน์อื่นใด ในระหว่างหยุดการทางาน หรือหยุด
กระบวนการผลิตตามคาสัง่ ของพนักงานตรวจความปลอดภัย เว้นแต่ลูกจ้างที่จงใจกระทาการอันเป็น
เหตุให้มีการหยดุ การทางานหรอื หยดุ กระบวนการผลิต

อ้างอิง : ประกาศกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน เรอื่ ง สทิ ธิและหนา้ ท่ขี องนายจา้ งและลกู จา้ ง พ.ศ.2554

-4-

กฎระเบียบดำ้ นควำมปลอดภัยทัว่ ไป

เพื่อความปลอดภัยของพนักงาน ผู้รับเหมา ผู้มาติดต่อ และทรัพย์สิน บริษัท เฌอร่า จากัด
(มหาชน) จงึ ได้กาหนดกฎระเบียบดา้ นความปลอดภัยใหท้ ุกคนมหี น้าทท่ี ่ีจะตอ้ งปฏิบตั ติ าม ดังนี้

1. ห้ำมสูบบหุ ร่ใี นบริเวณพน้ื ที่ของบริษัทฯ โดยเด็ดขาด เวน้ แตพ่ ้นื ทีท่ ี่บริษัทฯ อนญุ าตใหส้ บู เท่ำนั้น
2. หำ้ มทางานที่ตนเองไม่มีหน้าท่ีเก่ียวข้อง หรือไมไ่ ดร้ ับมอบหมายใหท้ าเปน็ อนั ขาด
3. หำ้ มโดยสารรถยก หรอื ใชง้ านรถยกผดิ ประเภท
4. ห้ำมดดั แปลงเคร่อื งมือ เครอื่ งจกั ร หรือถอดอปุ กรณป์ อ้ งกนั อันตรายจากเคร่ืองจักรออกโดยไมไ่ ดร้ บั

อนุญาต
5. ห้ำมหยอกล้อ หรือเล่นกันในขณะปฏิบัตงิ าน
6. ห้ำมใช้โทรศัพท์ หรือใส่หูฟังในขณะขับข่ียานพาหนะ ขับรถยก ควบคุมเครื่องจักร หรือภายในพ้ืนที่ผลิต

และคลังสินค้า ใชไ้ ด้เฉพาะพื้นที่ทก่ี าหนดไว้เทา่ นน้ั
7. หำ้ มทางานลดั ข้นั ตอนการทางานโดยเดด็ ขาด
8. ห้ำมปฏบิ ัติงานในระหว่างที่ร่างกายอย่ใู นสภาพท่ไี ม่พร้อมปฏบิ ัตงิ าน
9. ห้ำมเทสารเคมแี ละห้ามทิ้งขยะ ลงในรางระบายนา้ ฝนของโรงงาน
10.เม่ือขับขี่ยานพาหนะภายในบริษัทฯ ต้องปฏิบัติตามกฎจราจร และควบคุมความเร็วไม่เกิน 30 กม./

ชม.
11.ต้องแจ้งเจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภัยทกุ ครั้งเมือ่ เกิดอุบัตกิ ารณ์ และอบุ ตั เิ หตุจากการทางาน
12.ต้องสวมใสอ่ ุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คลทีก่ าหนดตลอดระยะเวลาการทางาน
13.ต้องใช้เคร่ืองมอื ใหเ้ หมาะสมกับงาน และเกบ็ อุปกรณ์เขา้ ทท่ี กุ คร้ังหลงั จากใชง้ านเสร็จ
14.ต้องปฏบิ ัตติ ามปา้ ยเตอื น และป้ายบงั คับอย่างเคร่งครัด
15.ตอ้ งปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบดา้ นความปลอดภัยและคู่มือความปลอดภัยในการทางานอย่างเครง่ ครดั
16.ต้องขออนุญาตทางาน (Work Permit) ตามระเบียบที่บริษัทกาหนดไว้ท้ังงานซ่อมสร้างและงาน

ซ่อมแซมบารุงรกั ษาต่างๆ
17.ให้รกั ษาบรเิ วณที่ทางานใหส้ ะอาดอย่เู สมอ

-5-

SHERA SAFETY CODE 8 (SSC 8)

“SSC 8 หมำยถึง วัฒนธรรมควำมปลอดภัย ตำมวถิ ขี องชำวเฌอร่ำ”
ข้อ 1 จัดกำรควำมปลอดภัย : พนักงานทุกคนมีหน้าที่จัดการความปลอดภัยของตนเอง และผู้อ่ืน
อย่างเคร่งครดั
ขอ้ 2 ตระหนักไว้ไม่เสย่ี ง : มีความตระหนักในความปลอดภยั ของตนเอง ไม่นาตัวเองเขา้ ไปเส่ียง
ข้อ 3 พร้อมเพรียงตรวจตรำ : สารวจตรวจสอบสถานที่ทางาน และกฎระเบียบการทางานให้
ปลอดภยั กอ่ นทางานทกุ คร้งั
ขอ้ 4 พบเหตุมำต้องแจง้ : เมื่อตรวจพบจุดเส่ยี ง หรอื อบุ ัตเิ หตุ ตอ้ งแจ้งให้หัวหน้างาน และเจ้าหน้าท่ี
ความปลอดภัยในการทางานทราบทันที
ข้อ 5 เข้มแข็งกฎวินัย สวมใส่PPE : ไม่ฝ่าฝืนกฎระเบียบ รวมท้ังสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองอันตราย
ส่วนบุคคล ตามลักษณะงาน และบารุงรกั ษาใหใ้ ชง้ านได้ตามระยะเวลาของอุปกรณ์
ข้อ 6 กจิ ที่ไมร่ ู้ไม่ทำ : ไม่กระทางานท่ตี นเองไม่มีความรู้ ไม่มีความชานาญ หรอื ไม่มีสว่ นเก่ยี วขอ้ ง
ข้อ 7 จดจำ เรียนรู้ : มหี นา้ ท่หี าความรู้ และพัฒนาตนเอง เพ่ือความปลอดภัย
ข้อ 8 พรอ้ มสู้เหตุฉกุ เฉิน : เตรยี มพร้อมรับมอื ต่อสถานการณ์ฉกุ เฉนิ ตลอดเวลา

-6-

แนวทำงกำรบรหิ ำรจัดกำรของบริษทั

TPM (Total Productive Maintenance) คือการบารุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม
เรม่ิ จากการบารงุ รกั ษาเครอื่ งจกั ร เพ่อื ไมใ่ ห้เสยี และสามารถเดินเครอื่ ง ตามทตี่ อ้ งการได้
ISO 9001 คือมาตรฐานดา้ นระบบบริหารงานคณุ ภาพของสนิ ค้าและบรกิ าร
ISO 14001 คือมาตรฐานด้านระบบบริหารงานด้านสิ่งแวดล้อม เน้นเรื่องของการป้องกัน
มลพิษและรักษาส่ิงแวดล้อมเป็นหลัก เพื่อช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงลด
ต้นทุนการผลติ
ISO 45001 คอื มาตรฐานดา้ นระบบบรหิ ารดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามัย มุ่งเน้นให้
พนักงานหรือลูกจ้างมีคุณภาพชีวิตท่ีดีทั้งขณะท่ีปฏิบัติอยู่กับองค์กรและตลอดการดาเนิน
ชวี ติ
ISO 50001 คือมาตรฐานด้านระบบบริหารด้านการจัดการพลังงาน เพ่ือลดต้นทุนด้าน
พลังงาน ลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก และใช้ทรัพยากรอยา่ งร้คู ุณคา่

-7-

กำรจดั กำรด้ำนควำมปลอดภยั ภำยในบรษิ ัท

พรี ะมิดอตั รำส่วนกำรเกิดอันตรำยจำกกำรทำงำน

เสยี ชีวิต
พิกำร/สูญเสียอวยั วะ/หยุดงำน >3 วนั
บำดเจบ็ ข้นั ปฐมพยำบำล
เหตุเกอื บเกิดอุบัติเหตุ
พฤติกรรมเสี่ยง

-8-

นยิ ำมควำมปลอดภัย

ควำมปลอดภัย หมายถงึ สภาวะการปราศจากภัย หรอื อันตราย การบาดเจบ็ และการสญู เสีย
ควำมปลอดภัยในกำรทำงำน หมายถึง การทางานท่ีไม่มีอันตราย ไม่อยู่ในสภาพที่เส่ียงต่อการเกิด
อบุ ัตเิ หตุ หรอื โรคจากการทางาน จากสภาพการณท์ ีไ่ มป่ ลอดภยั หรือ การกระทาทไ่ี ม่ปลอดภัย
- คนไมบ่ าดเจ็บ พิการหรือเสียชีวติ
- ทรพั ยส์ ินไมเ่ สยี หาย
- ผลผลิตสมา่ เสมอ
- มเี วลาปรับปรงุ งาน

สำเหตขุ องกำรเกิดควำมไม่ปลอดภยั
สภำพกำรณ์ทไี่ ม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) หมายถงึ สภาพของพน้ื ทีภ่ ายในโรงงานหรือที่ทางาน
ท่ีมีความเสี่ยงอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ เช่น พื้นชารุด เสียงดัง สภาพเครื่องจักรท่ีชารุดไม่มีการ์ด
ปอ้ งกันอันตราย เป็นต้น

กำรกระทำที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Action) หมายถึง การกระทาใดๆของผู้ปฏิบัติงานท่ีอาจทาให้เกิด
อุบัตเิ หตไุ ด้ เช่นการทางานโดยไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันที่มีการกาหนดไว้ ซ่อมแซมเคร่ืองจักรโดยไม่ปิด
สวิทซ์ ไม่แขวนป้ายแจ้ง การไม่ปฏิบัติตามวิธีการทางานที่กาหนดไว้ การขับรถเร็ว หรือหยอกล้อเล่นกัน
ขณะทางาน เป็นตน้

อบุ ัติกำรณ(์ Incident) หมายถงึ เหตกุ ารณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ทีเ่ กดิ ข้ึนแล้วมคี วามเส่ยี ง หรืออาจเป็นเหตุท่ี
ก่อใหเ้ กิดอบุ ัตเิ หตหุ รือเหตุการณ์เกือบเกดิ อุบตั เิ หตุ

อุบัติเหตุ (Accident)หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ท่ีอาจเกิดจากการท่ีไม่ได้มีการวางแผนไว้
ล่วงหน้า หรือขาดการควบคุม แต่เม่ือเกิดข้ึนแล้วมีผลให้เกิดการบาดเจ็บ หรือความเจ็บป่วยจากการ
ทางาน หรอื การเสยี ชีวติ หรอื ทรัพย์สินเสยี หาย

เหตุกำรณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ (Near Miss)หมายถึง เหตุการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ แต่เม่ือเกิดข้ึนแล้วมี
แนวโนม้ ทีจ่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ อุบตั เิ หตุ

-9-

นยิ ำมควำมปลอดภยั

โรคจำกกำรประกอบอำชีพ (occupational diseases) หมายถึง โรคที่เกิดจากปัจจัยในการประกอบ
อาชพี โดยตรง ซึง่ เป็นปัจจยั เดียวทีก่ อ่ ให้เกิดโรค แบง่ เปน็
1.การเจ็บป่วยแบบเฉียบพลัน (เกิดอาการทันที) เช่น ได้รับสัมผัสไอกรดในโรงงาน มีอาการแสบตา แน่น

หน้าอก หายใจไม่ออก หรือการสัมผัสสารกาจัดแมลงในขณะฉีดพ่น มีอาการแน่นหน้าอก หนังตา
กระตุกน้าตาไหล คล่นื ไส้ อาเจยี น ผ่นื คันตามผิวหนงั เป็นตน้
2.การเจ็บป่วยแบบเร้ือรัง (เกิดขึ้นภายหลังจากการป ระกอบอาชีพเป็นระยะเวลานาน) เช่น โรคปอด
จากการทางานได้แก่ โรคซิลิโคสิส โรคจากแร่ใยหินแอสเบสตอสมีระยะการก่อโรค (latency period)
ตงั้ แต่เริ่มสัมผสั จนมีอาการและอาการแสดง ใชเ้ วลานานอย่างนอ้ ย 15 ปี
โดยส่วนใหญ่โรคจากการประกอบอาชีพจะมีระยะฟักตัวนานและความสาคัญคือ เมื่อเป็นโรคแล้วมักจะ
รักษาไม่หายขาด
โรคท่ีเก่ียวเนื่องจำกกำรประกอบอำชีพ (work-related diseases) หมายถึง การประกอบอาชีพไป
กระตุ้นให้โรคเดิมของผู้ป่วยคนน้ันให้แสดงอาการออกมา หรือทาให้อาการแย่ลงกว่าเก่า เช่น ในคนท่ีมี
โครงสร้างผิดปกติอยู่แล้ว หรือผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานจะมีอาการโรคเส้นเอ็นอักเสบได้ง่าย ดังน้ันการ
ประกอบอาชีพเม่อื มีการออกแรงซ้า ๆ หรอื มีท่าทางการทางานที่ไมถ่ กู ต้อง กจ็ ะแสดงอาการขน้ึ
โรคและภัยสขุ ภำพจำกมลพษิ สง่ิ แวดลอ้ ม (environmental diseases) หมายถงึ ผลกระทบที่เกดิ จาก
มลพิษปนเป้ือนในดิน น้า อากาศ ท้ังจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ทาให้เกิดโรคหรือผลกระทบ
ท้งั แบบเฉียบพลันและเรอ้ื รัง

- 10 -

กำรจดั กำรดำ้ นสง่ิ แวดลอ้ ม

- 11 -

กำรคัดแยกขยะภำยในบรษิ ทั

- 12 -

กำรจดั กำรนำ้ ภำยในบรษิ ทั

บริษัทฯมีการใช้ทรัพยากรน้าอย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้นาน้าเสียท่ีผ่านการบาบัดโดยการตกตะกอน
กลับไปใช้งานในกระบวนการผลิต นอกจากน้ีบริษัทฯ มีระบบบาบัดน้าสีเพ่ือบาบัดน้าเสียท่ีมาจาก
กระบวนการเคลือบสใี ห้ผา่ นตามเกณฑ์ท่ีกฎหมายกาหนด

สิง่ ทพ่ี นกั งานควรปฏิบตั ิเกยี่ วกับการใชน้ า้ มีดงั น้ี
- ควรปดิ นา้ ทกุ คร้ังเม่อื ใช้งานเสร็จ หรอื หากพบท่อนา้ รั่ว ท่อแตก ใหแ้ จ้งผู้ที่เก่ยี วข้องทราบ
- ไม่ควรนาสารเคมี นา้ มัน หรอื น้าเสยี เทลงรางระบายน้าฝน หรือหากพบวา่ มีการรว่ั ไหลลงรางระบาย

น้าฝนให้รีบแจ้งผทู้ เ่ี ก่ียวข้องทราบ
- ไม่ควรทง้ิ ขยะ เศษอาหารลงรางระบายน้าฝน

กำรจดั กำรฝนุ่ ภำยในบริษัท

บรษิ ัทฯมุ่งเนน้ ลดแหลง่ กาเนิดฝุ่น ปรับปรุงประสทิ ธภิ าพระบบบาบัดมลพษิ อากาศ และควบคุมคุณภาพ
อากาศใหส้ อดคล้องตามท่ีกฎหมายกาหนด เชน่ ระบบบาบดั อากาศจากกระบวนการตัดชน้ิ งาน ระบบ
บาบัดอากาศจากการอบช้นิ งาน เปน็ ต้น
สง่ิ ท่พี นักงานควรปฏบิ ตั ิเก่ยี วกับการควบคมุ การเกดิ ฝุ่น มีดงั น้ี
•ควรหมน่ั ดแู ลและทาความสะอาดในพนื้ ท่ีทางานใหป้ ราศจากฝุ่น
•ควรตรวจสอบและตรวจเชค็ ประสิทธิภาพการทางานของระบบบาบัดอากาศ
•ควรลดการฟุ้งกระจายของฝนุ่ เชน่ การพรมน้าในพนื้ ที่ หรือการคลุมผา้ ใบในขณะขนสง่ วัตถุดบิ

- 13 -

มำตรฐำนเกยี่ วกบั
ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน

- 14 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกบั สำรเคมี

ขอ้ มลู ควำมปลอดภยั ของสำรเคมี ( Safety Data Sheet : SDS )
สารเคมีทุกชนิดท่ีใช้ในโรงงานจะต้องได้รับการขึ้นทะเบียนจากหน่วยงาน SHEE บนบรรจุภัณฑ์

จะตอ้ งมีการติดฉลากทถ่ี กู ตอ้ งตามกฎหมาย ผู้ใช้งานและผูท้ ่เี กย่ี วขอ้ งจะต้องรู้จกั คณุ สมบตั ิอยา่ งชัดเจน มี
เอกสารแสดงข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี (SDS) ที่ทันสมัย ติดอยู่บริเวณท่ีใช้งานหรือจัดเก็บ
สารเคมี ซ่ึง SDS เป็นเอกสารสาคัญท่ีพนักงานผู้ใช้งานและผู้ที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีต้องศึกษา เรียนรู้
ขอ้ มูลของสารเคมที ่ตี อ้ งใช้งานให้เขา้ ใจเพอื่ พนกั งานสามารถนาไปปฏิบตั ิได้อยา่ งถูกต้อง และปลอดภยั

- 15 -

ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนกบั สำรเคมี

เคร่ืองหมำยNFPA 704 (National Fire Protection Association 704 Code System)
NFPA 704 คือรหัสบอกความรุนแรงในการลุกไหม้ของสารเคมี ท่ีกาหนดโดยสมาคมป้องกันอัคคีภัยแห่ง
ประเทศสหรัฐอเมริกา (National Fire Protection Association) กาหนดขึ้นโดยมีความมุ่งหมายให้เป็น
สญั ลกั ษณเ์ ตอื นภยั แกผ่ ู้ใช้งาน หรอื ผู้ทีเ่ ขา้ มากภู้ ยั ได้รู้ขอ้ มูลเบ้ืองต้นของวตั ถุอนั ตรายต่างๆ ท่ีจะใช้งาน ผู้ท่ี
เข้าไปทาการกู้ภัยหรือดับเพลิง ตัวรหัสอยู่ในเครื่องหมายรูปเพชรหรือรูปส่ีเหล่ียมข้าวหลามตัด อาจเรียก
เครื่องหมายนี้ว่า "เพชรไฟ" (fire diamond) ภายในเครื่องหมายจะแบ่งพ้ืนที่ออกเป็น 4 ส่วน และมี
ความหมายดงั ภาพ

- 16 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกบั สำรเคมี

กำรขอใช/้ เปลี่ยนแปลง/ยกเลกิ กำรใช้สำรเคมี

- 17 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกบั สำรเคมี

มำตรฐำนกำรจดั เก็บสำรเคมี และวัตถุอนั ตรำย

: SOP-09-SHE-044

- 18 -

ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนกบั สำรเคมี

ควำมปลอดภัยเกีย่ วกับกำรทำงำนกบั สำรเคมี

•พนกั งานต้องปฏบิ ัตติ ามข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ านอย่างเครง่ ครดั
•สวมใสอ่ ุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบคุ คลตามท่รี ะบใุ น SDS ตลอดการทางาน และจะตอ้ งตรวจสอบอปุ กรณ์
อยา่ งระมัดระวงั ก่อนการใชง้ าน
•ต้องม่นั ใจวา่ บรรจภุ ัณฑม์ ีฉลากปิดไว้อย่างถกู ต้อง หา้ มใช้บรรจภุ ณั ฑ์ท่ีไม่มฉี ลากหรือมีลักษณะทไ่ี มเ่ หมาะสมกับ
สารเคมี หากพบว่าบรรจภุ ัณฑช์ ารดุ ตอ้ งรายงานผู้บังคับบญั ชาทันที
•ใหพ้ นกั งานอา่ นฉลาก และขอ้ มูลสารเคมี (SDS) ก่อนการใช้สารเคมีนั้นๆ เพ่อื ใหม้ ั่นใจว่าไดเ้ ข้าใจถงึ อนั ตรายและข้อ
ควรระวงั
•ใช้สารเคมีให้ตรงกับวตั ถุประสงค์ของงาน
•อย่ารับประทานอาหาร สบู บุหรี่ หรือด่ืมในระหวา่ งที่ปฏบิ ัติงานกับสารเคมี และหากถกู สารเคมหี กรดหรอื ปนเปอ้ื น
ต้องทาความสะอาดด้วยสบแู่ ละนา้ ให้สะอาดก่อนรบั ประทานอาหาร
•ใหจ้ ดั เกบ็ สารเคมีอยา่ งเหมาะสม แยกสารเคมที ีเ่ ขา้ กนั ไมไ่ ด้ออกจากกัน จดั เกบ็ ในที่ทม่ี กี ารระบายอากาศทด่ี ี พื้นท่ี
แหง้ และเยน็

กรณสี ำรเคมหี กรว่ั ไหล ใหป้ ฏิบัติตามแผนฉุกเฉนิ ใหป้ ฏิบัติตาม SOP การควบคมุ การร่วั ไหลของสารเคมี

แจง้ แจ้ง

- 19 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกบั เครอ่ื งมือ

กำรควบคุมกำรใช้งำนเครื่องมอื ใหเ้ กิดควำมปลอดภยั

1 เคร่ืองมือประจำตวั (ชำ่ ง)
1.ผทู้ ่ใี ชเ้ คร่อื งมอื ต้องได้รบั การฝึกอบรมในการใชเ้ คร่ืองมืออยา่ งถกู ต้องและปลอดภัย
2.อุปกรณแ์ ละเคร่ืองมือต้องรักษาให้อยู่ในสภาพทสี่ มบูรณเ์ สมอ และตรวจสอบอย่างสมา่ เสมอ
3.ไม่ควรใชเ้ ครื่องมือเกนิ พิกัด หรอื เกินกาลงั ทีจ่ ะรบั ได้
4.เลือกใช้เคร่ืองมือทีถ่ กู กับงาน หลีกเล่ยี งการใช้เคร่อื งมือทผี่ ิดประเภท เชน่ ใชป้ ระแจแทนคอ้ น เป็นต้น
5.หา้ มใช้เคร่ืองมอื ทช่ี ารดุ เสียหาย
2. กำรใชเ้ คร่ืองมือกล

เคร่ืองมอื กล คอื เครอ่ื งมอื ท่ีทางานโดยอาศยั พลงั งานไฟฟ้า เครอื่ งยนต์ และต้นกาลงั อน่ื ๆ
อันตรายที่เกิดจากการใช้เคร่อื งมอื กล ไดแ้ ก่ เครือ่ งมอื อยใู่ นสภาพท่ชี ารุด วัสดกุ ระเด็น ความร้อน ไฟฟ้าชอ๊ ต
ประกายไฟ การถูกบาด การกระแทก เสยี ดสี เปน็ ตน้

กำรควบคุมกำรใช้งำนเครื่องมือกลให้เกดิ ควำมปลอดภยั

1.เครอ่ื งมอื กลจะต้องถูกใช้ใหแ้ ละเหมาะสมกบั ลักษณะของงาน
2.เครอื่ งมือทกุ ชนิดต้องอยู่ในสภาพสมบรู ณ์ปลอดภยั ไมช่ ารุดเสียหาย
3.เครื่องมอื ทใ่ี ช้ไฟฟ้าต้องต่อสายดนิ ก่อนเสมอ และสายไฟตอ้ งไม่มีรอยแตก สกึ หรือพบั งอ
4.เครื่องมอื ทมี่ ีจุดหมุน จุดเหวย่ี ง จดุ หนีบอวัยวะของผปู้ ฏบิ ตั ิงานได้ ต้องมีอุปกรณ์ครอบ
5.เครื่องมอื กลควรใช้สวทิ ซ์แบบปล่อยกลับเอง และมีสวทิ ซ์หยุดฉุกเฉนิ (Emergency Stop)
6.ตอ้ งตรวจสอบเคร่ืองมือเปน็ ประจาวนั ตามแบบฟอร์ม FO-10-SHE-085 หากพบวา่ ชารุดตอ้ งรบี แก้ไขและแจ้งให้

จป.ทราบ เพ่อื ตรวจสอบและตดิ TAG เครื่องมอื
7.การลากสายลม หรือสายไฟท่ใี ช้กับเครื่องจักรกล ควรมกี ารป้องกนั การถกู ทาลาย เชน่ การตีไมข้ นาบสาย

ป้องกันรถทบั สาย
8.เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชล้ มหลงั จากเลิกใช้งานต้องระบายลมออกให้หมด

กำรควบคมุ กำรใช้งำนสว่ำนให้เกิดควำมปลอดภัย

1.ผู้ปฏิบัตงิ านตอ้ งแตง่ กายให้เหมาะสม
2.ผู้ปฏิบัติงานควรสวมใส่อปุ กรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล
3.ดอกสว่านท่ีใช้ต้องคมและปรับแต่งมุมอย่างถูกต้อง เพราะถ้าดอกสว่านที่ต้องใช้แรงกดมาก อาจทาให้ดอกสว่าน

หกั ได้
4.ช้ินงานที่จะนามาเจาะรคู วรตอกนาไว้ก่อน แลว้ ยดึ ให้แนน่ กับปากกา ซ่ึงจะยึดแนน่ อกี ทีกับโต๊ะ
5.เม่ือใส่ดอกสว่านเข้ากับแกนติดดอกสว่าน ต้องยึดให้แน่นด้วยดอกจอก แล้วปรับความเร็วรอบของดอกสว่านให้

เหมาะสม
6.หลีกเลยี่ งทจี่ ะใชม้ อื จบั ช้ินงานหรือปากกาจับชิน้ งานขณะเจาะช้ินงาน เพราะอาจเกดิ อบุ ตั เิ หตชุ ้นิ งานตนี ิ้วมือได้

- 20 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกบั เครอ่ื งมือ

7. ควรใชส้ ว่านเจาะที่มีอปุ กรณ์ป้องกันอันตรายท่ดี อกสวา่ น

8. การเจาะรูช้ินงานขนาดใหญ่ควรจะเจาะช้ินงานด้วยสว่านดอกเล็กก่อนแล้วจึงค่อยเจาะตามด้วยสว่านดอกใหญ่
ตามต้องการ และไม่ควรหยุดเครอื่ งขณะทด่ี อกสวา่ นยังค้างอยใู่ นชนิ้ งาน
9. อย่าใชม้ ือจบั ดอกสว่านเพือ่ ใหห้ ยดุ แต่ควรปลอ่ ยให้ดอกสว่านหยุดดว้ ยตัวเอง
10. การทาความสะอาดชิ้นงานควรใชแ้ ปรงปดั หลกี เลี่ยงการใช้มือหรือลมเปา่

กำรควบคุมกำรใช้งำนเครื่องเจียรใ์ ห้เกิดควำมปลอดภยั

1.กอ่ นปฏิบตั งิ านต้องตรวจสอบหินเจยี ร์ว่าไมแ่ ตกชารดุ
2.ตอ้ งมเี คร่ืองปอ้ งกันสะเกด็ วัสดุกระเดน็
3.ก่อนทาการเจยี รพ์ นักงานตอ้ งสวมใส่แว่นตานิรภยั ก่อนทางานทุกครงั้
4.ห้ามใชด้ า้ นขา้ งของหินเจียร์ เจยี รช์ ้ินงาน
5.หนิ เจียร์ทใ่ี ช้งานจนเกดิ ความโคง้ ข้นึ บริเวณหน้าหนิ เจยี ร์ ให้ตัดส่วนท่ีโค้งนูนออกไปด้วยเคร่ืองมือปรับแต่งหน้าหิน

เจียร์
6.การเจียร์งานควรใชห้ ินเจียรช์ นดิ หยาบกอ่ น แลว้ จึงใช้หินเจียร์ชนิดละเอียดอีกครัง้
7.แท่นรองชน้ิ งานตอ้ งวางในแนวระนาบ และห่างจากหนิ เจียรป์ ระมาณ 1/8 น้วิ
8.ขณะเจียร์ ควรมนี า้ สาหรับจมุ่ ช้นิ งานทร่ี อ้ น
9.ไมค่ วรเจียรง์ านเกนิ กาลังของเคร่อื งเจยี ร์
10.หวั หนา้ งานมีหน้าทต่ี รวจสอบดแู ลพนกั งานให้ปฏิบัตติ ามกฎความปลอดภยั

อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัย(PPE) ที่ต้องสวมใส่ คือ ถุงมือหนัง หรือถุงมือป้องกันการบาดสาหรับงานตัด/

เจียร์ แว่นตานริ ภัย หมวกนิรภยั รองเทา้ นริ ภยั

- 21 -

ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนกับเครือ่ งจักร

กำรควบคมุ ควำมปลอดภยั เกย่ี วกบั กำรกับเครือ่ งจักร

1. หา้ มใช้เคร่ืองจักรโดยไมม่ ีหน้าทีห่ รือไม่เคยไดร้ ับการฝกึ อบรมมาก่อน (OJT : On the Job Training)
2. กอ่ นปฏบิ ัตงิ านพนกั งานตอ้ งตรวจสอบสภาพเครือ่ งจักรตามแบบฟอรม์ FO-10-SHE-089 วา่ อยูใ่ นสภาพดีเสมอ
3. ห้ามใช้งานเครือ่ งจักร กรณีท่ชี ารดุ เสยี หาย และใหร้ บี ดาเนนิ การแจง้ ใหห้ วั หนา้ งาน หรอื ผรู้ บั ผิดชอบดาเนินการแกไ้ ข
4. ใช้เครือ่ งจกั รอย่างระมัดระวงั ปฏิบัตงิ านตามคมู่ ือ หรือข้นั ตอนการทางานทก่ี าหนดเสมอ
5. หา้ มถอดการ์ดเครือ่ งมือหรือท่คี รอบป้องกันอันตรายจากเครอ่ื งจักรออกเดด็ ขาด
6. ให้สวมใส่อปุ กรณ์ป้องกันอันตรายท่เี หมาะสมกับงาน ตลอดเวลาท่ที างาน
7. ระวังอย่าใหม้ ือ หรือส่วนใดของรา่ งกายเข้าใกลจ้ ุดหมนุ จุดหนีบ หรอื สว่ นทีเ่ คลือ่ นไหวของเคร่ืองจกั ร
8. ขณะเครือ่ งจกั รกาลงั ทางาน หา้ มปรับแต่งทาความสะอาด หรือพยายามดึงช้ินงานที่ตดิ ขดั โดยไม่หยุดเครอ่ื งจักรกอ่ น
9. ให้สวมใส่เสื้อผ้าท่ีกระชับ ห้ามสวมใส่เครื่องประดับท่ีอาจถูกเครื่องจักรหนีบหรือดึงได้ หากผมยาว จะต้องรวบผมให้
เรยี บรอ้ ย
10. ขณะทาการตรวจสอบ แก้ไขหรือซ่อมแซมเคร่ืองจักร ให้แขวนป้ายเตือนและใส่กุญแจล็อค(Log out –Tag out)
ตลอดเวลา
11. หากพบเคร่อื งจกั ร การด์ หรือท่คี รอบป้องกนั อันตรายจากเครื่องจักรชารดุ หรือสญู หายไปให้รีบแจ้งหวั หน้างานทนั ที

กำรควบคมุ ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกบั เครอื่ งป๊ัมวสั ดุ

1. ในการเปลี่ยนตะแกรง ผา้ กรอง หรือเปลยี่ นแบบ จะตอ้ งหยดุ เครื่อง และแขวนป้ายแสดง กอ่ นทาการเปลย่ี นทกุ คร้งั
2. ใช้ตัวคา้ โมลด์ คา้ ท่ีตัวกดข้นึ รูปทุกคร้ัง กอ่ นทาการเปลี่ยน
3. ตรวจสอบปม้ั ไฮดรอลกิ วา่ มีการรวั่ ของน้ามนั ไฮโดรลิกหรอื ไม่
4. ตรวจสอบปุ่มควบคุม และปุม่ หยดุ ฉกุ เฉินว่าอย่ใู นสภาพพรอ้ มใช้งาน
5. ตรวจสอบการด์ ครอบเครื่อง และสภาพสายไฟกอ่ นการใชง้ าน
6. ปฏบิ ตั ิตามข้ันตอนการทางานอยา่ งเครง่ ครดั
7. ซอ่ มบารงุ ตามระยะทกี่ าหนด
8. หากพบความผดิ ปกติ เช่น เคร่ืองมีความส่ันสะเทือนมากผิดปกติ เป็นต้น ต้องรีบแจ้งให้หัวหน้างานทราบ หากต้องรอ
การซอ่ มแซม ควรติดป้ายแจง้ สถานะให้ชัดเจน

อปุ กรณค์ มุ้ ครองควำมปลอดภัย(PPE) ท่ตี ้องสวมใส่ คอื รองเทา้ นิรภัย หมวกนิรภยั ถงุ มือผ้า หนา้ กากกันฝุ่น

- 22 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกับรถยก

กฎระเบยี บควำมปลอดภยั เกีย่ วกับกำรใช้งำนรถยก

1. พนกั งานขบั รถยก ตอ้ งผา่ นการฝึกอบรม ติดบัตรพนกั งานขับรถยก หรอื พกสมดุ บนั ทกึ ประจาตัวทุกคร้ังท่ปี ฏบิ ัตงิ าน
2. กอ่ นใชร้ ถยกในแตล่ ะกะการทางาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทีม่ ีหน้าท่ีขับข่ี ต้องทาการตรวจสอบสภาพรถยก โดยใช้แบบฟอร์ม
บันทึกการตรวจสอบสภาพรถยก (FO-10-SHE-079) หากพบความผิดปกติให้รายงานหัวหน้ากะเพื่อพิจารณาว่าให้ใช้
งานตอ่ หรอื ไม่
3. คาดเขม็ ขดั นิรภยั ทุกครั้งขณะทขี่ ้ึนขับรถยก
4. หา้ มนารถไปใชง้ านอ่นื หรอื ขบั ออกนอกพื้นท่ีทางาน เว้นแตไ่ ด้รับอนญุ าตจากผู้บงั คบั บญั ชา
5. ห้ามโดยสารรถยก, น่ังหรือยืนบนงา หรือบน Pallet ขณะเคลื่อนย้าย และห้ามให้ผู้ใดอยู่ใต้งาน หรืออยู่ข้างใต้
สิง่ ของทใ่ี ช้งายกเด็ดขาด
6. ขับรถยกที่ความเร็วไม่เกินท่ีกาหนด (ไม่เกิน 20 กม./ชม. สาหรับรถเปล่า และไม่เกิน 10 กม./ชม. สาหรับรถที่
บรรทุกของ
7. เมอ่ื ถงึ ทางแยก ทางเลี้ยว หรือมุมอับสายตา ใหห้ ยดุ มองซา้ ย ขวา และตอ้ งใหส้ ัญญาณแตรทกุ ครง้ั
8. ถา้ ช้ินงานทีบ่ รรทุกด้านหน้ามคี วามสูงเหนือระดบั สายตา ให้ขบั ถอยหลงั โดยหนั หน้ามองเสน้ ทางตลอดการขบั
9. ขณะปฏบิ ัตงิ าน ต้องยกงาสูงจากพนื้ 15-20 ซม.
10. ต้องตรวจสอบความสมดุลของชน้ิ งานก่อนยก และน้าหนกั ทบ่ี รรทกุ ตอ้ งอยู่ในพิกัดของรถยกและขณะว่ิงขนส่งห้าม
ยกของสูงเกินระดบั เสากระโดงของรถ
11. กรณที างานในพ้นื ทตี่ ่างระดับ เชน่ การตักของจากรถส่ง Part หรือรถบรรทุกจะต้องตรวจสอบการดึงเบรกมือของ
รถบรรทกุ /การหนนุ ไมห้ มอน/ ตรวจสอบจดุ ที่จอดก่อนการปฏบิ ตั ิงาน
12. เพอ่ื ความปลอดภยั ใหเ้ ปิดสญั ญาณไฟหน้ารถ ขณะปฏิบตั ิงานในท่ีมืด หรอื ในขณะท่ฝี นตก
13. ปลดเกียร์ว่าง ดึงเบรคมือ ลดงาให้ราบกับพ้ืน ปิดวาล์วแก๊สและดับเครื่องยนต์ทุกคร้ังที่จอดหลังหยุดใช้งานนาน
เกนิ 5 นาที
14. หากเกิดอุบัติเหตุ อุบัติการณ์ หรือเหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุให้รีบรายงานหัวหน้างาน หรือ จป.วิชาชีพทันที
(หากปกปดิ โทษจะหนักขนึ้ )
15. การเคล่อื นยา้ ยถงั ปิโตรเลยี มเหลว ต้องใชค้ อกก้ันทม่ี ีความแขง็ แรง หา้ มใช้งาเก่ยี ว ชน กระแทกถงั LPG เด็ดขาด
16. หา้ มสบู บุหรี่ ขณะขบั ขีร่ ถยก เปลี่ยนถงั ปิโตรเลียมเหลว ชารจ์ แบตเตอรี่ เติมน้ามนั เชอื้ เพลงิ

อปุ กรณค์ มุ้ ครองควำมปลอดภัย(PPE) ทีต่ อ้ งสวมใส่ คอื รองเทา้ นิรภัย ถงุ มือผ้า หนา้ กากกันฝุน่

แบบตรวจสอบรถยกก่อนใช้งำน

- 23 -

ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนกบั ปั้นจ่ัน (เครน)

กำรควบคุมควำมปลอดภัยเกี่ยวกับกำรใชง้ ำนเครน (ป้ันจ่ัน)

1.ผู้ท่ที างานกบั เครนต้องผ่านการฝึกอบรมหลกั สูตร ผูค้ วบคุมเครนและอบรมทบทวนทุกๆ 2 ป(ี ตามกฎหมาย)
2.ก่อนเร่ิมงานต้องตรวจสอบสภาพของเครน โดยใช้แบบตรวจความปลอดภัย สภาพรอก/ เครน FO-10-SHE-011

ก่อนการใช้งาน
3.ห้ามยกของเกินพิกดั ท่ีกาหนด
4.ต้องผกู ของทจี่ ะยกให้แน่นและผูกให้น้าหนกั ได้สมดลุ ก่อนการยก
5.สลิงทีไ่ มไ่ ด้ใชย้ กห้ามปลอ่ ยตดิ กบั รอกขนึ้ ไป
6.หา้ มขนึ้ ไปอยูบ่ นสิง่ ของท่ีกาลงั ยกโดยเด็ดขาด
7.หา้ มยกของสองชิ้นในเวลาเดยี วกัน
8.ห้ามอยูใ่ ตส้ ิ่งของที่กาลงั ยกต้องกั้นพน้ื ที่ปฏิบัตงิ าน และตดิ ป้ายเตือนมิให้ผทู้ ี่ไม่เกยี่ วข้องเข้าไปในพนื้ ที่ปฏบตั งิ าน
9.ขณะท่ีทาการยกวัสดุข้ึนต้องค่อยๆยกข้ึนช้า ๆและสังเกตดูว่าของที่ยกขึ้นนั้นไม่เคลื่อนที่เร็วขึ้น หรือช้าลงอย่าง

ฉับพลันหรอื ตดิ ขดั อยกู่ บั สงิ่ ใด
10.ตอ้ งเชือ่ ฟงั ผูใ้ ห้สญั ญาณโดยเคร่งครดั
11.ขณะทีเ่ ครนเคลอื่ นทส่ี ญั ญาณเตือนจะต้องส่งเสยี งเตือนตลอดการเคลอื่ นทขี่ องเครน
12.พนักงานท่ที างานอยู่ใกล้ป้ันจ่ันควรอยู่ให้ห่างจากของที่กาลังยก
13.สิง่ ของท่ยี กไปวางไวจ้ ะต้องแน่ใจวา่ วางด้วยความปลอดภัยไมเ่ ล่ือนไหลไปก่อนทจ่ี ะปลดสลิง
14.ผูค้ วบคุมเครนจะตอ้ งอยู่ทต่ี ู้ควบคมุ หรือ สวิทช์ควบคุมเครนตลอดเวลาทท่ี าการยกเคลอ่ื นย้าย
15.เมื่อทางานเสร็จเรียบรอ้ ยใหท้ าการเคลือ่ นยา้ ยเครนกลับมาจอดทส่ี ถานตี ้ังตน้ เพอ่ื พรอ้ มใช้งานตอ่ ไป
16.สาหรับปนั้ จน่ั เคล่อื นท่ี เช่น รถเครน รถฮ้อย จะต้องตรวจสภาพความปลอดภัยโดยเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการ

ทางาน พร้อมแสดงใบ ปจ.2,วุฒิบัตรผ่านการอบรมผู้ควบคุม ผู้ให้สัญญาณ ผู้ผูกรัดวัสดุ และใบขับขี่ เม่ือถูก
ตรวจสอบ

อปุ กรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัย(PPE) ทต่ี อ้ งสวมใส่ คอื รองเทา้ นิรภยั หมวกนริ ภัย ถงุ มือผา้ หนา้ กากกันฝนุ่

- 24 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกับไฟฟ้ำ

กำรควบคุมควำมปลอดภัยในกำรทำงำนกบั ไฟฟำ้

1. ตรวจสภาพอุปกรณ์เคร่ืองมือไฟฟา้ ก่อนใช้งานทุกคร้ัง หากชารุดตอ้ งซ่อมแซมให้เรยี บรอ้ ยก่อนนาไปใชง้ าน
2. ตอ้ งไมใ่ ชเ้ คร่อื งมือไฟฟา้ เกนิ กาลัง
3. ใช้ขนาดฟวิ สใ์ หถ้ ูกต้อง ห้ามใชล้ วดหรือเสน้ โลหะอนื่ ใดแทนฟวิ ส์เดด็ ขาด
4. ปิดสวทิ ซ์เครือ่ งกอ่ นทาการแก้ไขใดๆ
5. เม่ือต้องซ่อมเคร่ืองจักร ต้องปิดวงจรไฟฟ้าก่อนและล๊อคกุญแจ - แขวนป้ายเตือนระบุข้อความ “กาลังซ่อม ห้าม

เปิดเครือ่ ง”(ระบบ Lock out – Tag Out)
6. ระวังไม่ให้สายไฟฟ้าพาดผา่ น หรอื วางเกะกะตามพ้นื
7. ไมค่ วรใช้เครือ่ งอุปกรณ์ไฟฟา้ ในท่ีเปยี กชืน้ หรอื เครอื่ งมือนั้นมคี วามเปยี กชื้น
8. ใชอ้ ุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายทีเ่ หมาะสมในการซ่อมหรือทางานกบั กระแสไฟฟ้าแรงสงู
9. เคร่ืองจกั รและอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ทกุ ชนดิ ต้องต่อสายดิน
10. ปดิ สวิทซเ์ ครอื่ งมอื เครอื่ งจกั รทุกชนิดหลงั เลิกใช้งาน
11. ใช้ปลัก๊ และขนาดของสายไฟฟา้ ใหม้ ีขนาดทเ่ี หมาะสมกบั งาน
12. เคร่อื งมืออุปกรณ์ไฟฟา้ ใดๆ ท่ชี ารดุ ตอ้ งซ่อมให้เรียบร้อยทนั ที หรือติดปา้ ย “ชารดุ หา้ มใช้งาน” จนกว่าจะซ่อมแซม

ใหอ้ ยู่ในสภาพพรอ้ มใชง้ าน
13. ควรถอื ว่าวงจรไฟฟา้ ทัง้ หลายยงั คงมีกระแสไฟฟา้ อยู่ จนกวา่ จะได้มีการพสิ ูจน์วา่ เปน็ อยา่ งอน่ื
14. เมื่อทางานกบั เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ทใี่ ช้ไฟฟ้ากาลังสูงตอ้ งใช้อุปกรณป์ อ้ งกันไฟฟา้ ท่เี ป็นฉนวนตามท่ีกฎหมายกาหนด และ

ถกู ตอ้ งตามหลกั ความปลอดภยั
15. ผู้ปฏิบัติงานช่างไฟฟ้า จะต้องผ่านการอบรมความปลอดภัยในการทางานเก่ียวกับไฟฟ้า และมีใบรับรองจากกรม

พฒั นาฝีมอื แรงงานฯ
16. การเช่ือมต่อสายไฟ การตัดกระแสไฟ จะต้องได้รับการอนุมัติจากช่างไฟฟ้าประจาโรงงาน หน่วยงานเจ้าของพ้ืนท่ี

และติดป้ายจดุ ทที่ าการตอ่ สายไฟให้เรยี บรอ้ ย

อปุ กรณ์คุม้ ครองควำมปลอดภัย(PPE) ท่ตี ้องสวมใส่ คือ รองเทา้ นิรภยั พน้ื ยาง หมวกนิรภัย ถุงมอื หนงั ถงุ มอื

กนั ไฟฟ้า

- 25 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกบั งำนเชอื่ มโลหะ

กำรควบคุมควำมปลอดภยั เก่ยี วกบั กำรใช้เครอ่ื งเชื่อมไฟฟ้ำ
อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัย(PPE) ท่ีต้องสวมใส่ คือ หน้ากากเช่ือม ถุงมือหนัง รองเท้านิรภัย และ

อปุ กรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ
1. ตอ้ งตรวจสอบสายไฟเครือ่ งเช่ือมไฟฟ้าวา่ มีจุดทช่ี ารดุ บกพร่องหรอื ไม่ ก่อนทจี่ ะนาไปท่ีเสยี บทีเ่ ต้ารับ
2. เครือ่ งเชื่อมจะต้องมกี ารต่อสายดิน (Ground) ทกุ คร้ัง ก่อนนาไปใชง้ าน
3. ก่อนเช่ือมใหต้ รวจสอบชิ้นงานว่าหนาหรือบาง และปรับไฟใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดของช้ินงาน
4. เตรยี มอุปกรณด์ ับเพลงิ ไว้ในบรเิ วณทีม่ กี ารเช่ือมอย่างน้อย 1 ถัง เพ่อื ป้องกนั อัคคภี ัย (ระยะห่างไม่เกิน 3 เมตร)
5. หากในบรเิ วณทท่ี าการเช่อื มเป็นพน้ื ทอ่ี ันตราย ให้ปรึกษาเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางาน(จป.วิชาชีพ) และ

วศิ วกรผคู้ วบคมุ งาน เพื่อวางแผนการทางาน หามาตรการปอ้ งกัน และแผนระงับเหตุฉุกเฉนิ
6. ตรวจสอบพ้ืนท่ีทางานก่อนทุกครั้งว่ามีสารไวไฟ และสารที่อาจเป็นเช้ือเพลิงอยู่ในบริเวณใกล้เคียงหรือไม่ หากมีให้

ทาการเคลอื่ นยา้ ยออกจากพ้นื ทีท่ างานและบริเวณใกลเ้ คียง อยา่ งน้อย 35 ฟุต
7. เตรยี มถงั ใส่นา้ วางเตรียมไวใ้ นบรเิ วณปฏบิ ัติงาน อย่างนอ้ ย 2 ถัง
8. ทาการปดิ ก้นั พื้นทกี่ ารทางาน เพอื่ ป้องกนั ผไู้ ม่เก่ียวข้อง
9. ต้องกาหนดผู้ทาหน้าท่ีดูแล ควบคุมสะเก็ดไฟ และหลังปฏิบัติงานต้องเฝ้าระวังการติดไฟ อย่างน้อย 30 นาที ก่อน

ออกจากพืน้ ท่ีการทางาน
10. การถอดธปู เชือ่ มออกเพ่ือหยดุ พกั ชว่ั คราวหรือเลกิ ใช้งาน จะตอ้ งปิดสวติ ช์ไฟฟ้าทุกคร้งั
11. ฟวิ ส์ของเครอ่ื งเชอื่ มไฟฟ้าท่ใี ชต้ ้องมีขนาดเหมาะสมและใส่ฟวิ ส์ใหเ้ ข้าท่ี

- 26 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกบั งำนเช่ือมโลหะ

กำรควบคมุ ควำมปลอดภยั เกีย่ วกบั กำรใช้เคร่อื งเชอ่ื มแก๊ส
อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัย(PPE) ท่ีต้องสวมใส่ คือ หน้ากากเช่ือม ถุงมือหนัง รองเท้านิรภัย และ

อปุ กรณ์ป้องกนั ระบบทางเดนิ หายใจ
1. ก่อนทีจ่ ะทาการเชอ่ื มตดั ด้วยแก๊สทกุ ครัง้ ผู้ปฏิบตั งิ านต้องทาการตรวจสอบบริเวณโดยรอบ จะต้องไม่มีวัสดุท่ีติดไฟ

ได้อย่ใู นรศั มีทสี่ ะเกด็ ไฟจากการปฏิบตั ิงานจะกระเดน็ ไปถงึ ท้ังน้ีให้รวมถึงการเช่ือมในท่ีสูงที่สะเก็ดไฟจะตกลงไปได้
โดยใหท้ าการเคลื่อนยา้ ยวัสดุทตี่ ิดไฟดงั กลา่ วออกไป หรือจดั หาวสั ดทุ ี่ไมต่ ิดไฟ (Fire Proof Blanket) ปิดกน้ั
2. จัดให้มีอุปกรณ์วัสดุที่ไม่ติดไฟปิดกั้นบริเวณพื้นท่ีปฏิบัติงานเพ่ือป้องกันประกายไฟหรือสะเก็ดไฟกระเด็นไปตก
บริเวณสารไวไฟ/ วัสดตุ ดิ ไฟหรือกระเด็นถูกผอู้ ยู่ใกล้เคียง
3. การเช่ือมหรือตัดภาชนะบรรจุสารไวไฟหรือแก๊สทุกคร้ัง ต้องถ่ายและล้างทาความสะอาด สารไวไฟหรือแก๊สท่ี
ตกค้างอยู่ในภาชนะ แล้วทาการระบายอากาศภายในภาชนะจนแน่ใจว่าไม่มีสารไวไฟหรือแก๊สตกค้าง จึงทาการ
เชอ่ื มได้
4. ในบริเวณท่ีมีการเช่ือมตัดจะต้องจัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงติดตั้งไว้ใกล้บริเวณพ้ืนที่ทางานให้เพียงพอ และสามารถ
หยบิ ใช้ไดโ้ ดยสะดวกในกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉนิ
5. ควรวางถงั แก๊สในแนวต้งั ให้หา่ งจากบริเวณเช่ือมตัดเพื่อป้องกันสะเก็ดไฟ จากการเช่ือมกระเด็นไปถูก และยึดถังให้
ม่ันคงป้องกันการล้ม และควรตรวจสอบอุปกรณ์ทุกช้ินเพ่ือป้องกันการร่ัวให้อยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานก่อนเร่ิม
ทางาน
6. อุปกรณก์ ารเชือ่ มตัดด้วยแกส๊ สายและข้อต่อตา่ งๆ จะตอ้ งอยู่ในสภาพท่ไี ม่ชารุด ฉีกขาด เสยี หาย
7. หา้ มสลับสายลมกับสายแกส๊ อย่างเดด็ ขาด เพราะอาจทาให้เกิดการระเบดิ ได้
8. ควรตรวจสอบสายลมและสายแก๊ส รวมท้ังอุปกรณ์ป้องกันไฟย้อนกลับ (Flashback Arrestors) ให้อยู่ในสภาพ
พรอ้ มใช้งาน
9. หลงั จากปฏบิ ตั ิงานแล้วเสร็จให้มีการตรวจสอบบริเวณพื้นท่ีทางานเชื่อมตัดและจุดท่ีสะเก็ดไฟตก เฝ้าระวังการติด
ไฟ 30 นาทกี อ่ นออกจากพื้นท่ีปฏิบตั งิ าน เพ่อื ใหแ้ น่ใจวา่ ไมม่ ีการลกุ ติดไฟ

- 27 -

ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนกับกำรยก เคล่ือนย้ำย

กำรควบคุมควำมปลอดภัยเกยี่ วกบั กำรยกเคลอ่ื นย้ำย

1. ตรวจดูสภาพวสั ดุทย่ี ก วา่ มผี ิวหยาบ-ลืน่ มสี ิง่ แหลมคมเพื่อกาจดั ใหเ้ รยี บรอ้ ยกอ่ นทาการโยกยา้ ย
2. ต้องทราบทศิ ทาง และตาแหน่งของจดุ หมายทจี่ ะนาสง่ิ ของน้ันไปไว้
3. พจิ ารณาขนาด รูปร่างและนา้ หนกั เพอื่ จดั เตรียมคน และอปุ กรณ์ให้เพียงพอ
4. ยกวสั ดุให้ถกู วิธี โดยยอ่ ตัวลง ยกของแนบชิดลาตวั ต้ังหลงั ใหต้ รง แลว้ ใชก้ าลงั ขาในการยกข้นึ
5. ถา้ ต้องใชค้ นจานวนมากในการยกของ ต้องมผี ู้สั่งการเพียงคนเดียว
6. อยา่ เปล่ียนมือขณะทกี่ าลังยก และวางของลงกอ่ นทจี่ ะเปล่ยี นมือ
7. ห้ามยกวัสดุท่ีมีน้าหนักเกินกว่าท่ีกฎหมายกาหนด โดยไม่มีเคร่ืองทุ่นแรงหรือวิธีการท่ีเหมาะสม (ไม่เกิน 55 กก.
สาหรับเพศชาย และไมเ่ กนิ 25 กก.สาหรับเพศหญงิ )

ขน้ั ตอนกำรยกวสั ดุสงิ่ ของ

1. ยนื ชดิ วัสดุสิง่ ของวางเท้าให้ถูกต้องและมีความมัน่ คง เพือ่ ปอ้ งกันการเสยี สมดุลของรา่ งกาย
2. ย่อเข่าให้หลังเป็นแนวตรงเพื่อรักษาสภาพความโค้งของกระดูกสันหลังให้เป็นแนวตรง เพ่ือให้แรงกดหมอนรอง
กระดกู สันหลังมีการกระจายตวั เท่า ๆ กัน
3. จบั วสั ดสุ ่ิงของใหม้ คี วามมนั่ คงโดยใชฝ้ ่ามอื จับ เพอ่ื ปอ้ งกนั การลื่นหลุดมือ
4. ให้แขนชิดลาตัวและให้วัสดุส่ิงของท่ีจะยกอยู่ชิดลาตัวให้มากท่ีสุด เพื่อให้น้าหนักของวัสดุส่ิงของผ่านลงท่ีต้นขาท้ัง
สองข้าง
5. ศีรษะและกระดกู สนั หลงั อยูใ่ นแนวเดียวกัน คือ อยู่ในแนวตรง ซงึ่ ทาให้มองเหน็ ทางเดินได้ชัดเจน
6. ในขณะที่ยกขนึ้ และเดนิ คอ่ ย ๆยึดเขา่ เพือ่ ยนื ขึน้ โดยใชก้ าลงั จากกลา้ มเนื้อขาและขณะที่ยกขึ้นหลงั ต้องตง้ั ตรง

อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภยั (PPE) ทตี่ อ้ งสวมใส่ คอื รองเทา้ นิรภัย และถงุ มอื ผา้

- 28 -

ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนภำยในสำนกั งำน

กำรควบคมุ ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนในสำนกั งำน

1. การหยิบของทสี่ งู ควรใช้บนั ได ห้ามใช้เกา้ อที้ ีม่ ลี ้อหรือไม่ม่ันคงเพราะจะทาใหเ้ สียการทรงตวั ไดง้ า่ ย
2. สายไฟตา่ ง ๆ เชน่ สายโทรศพั ท์ ไม่ควรพาดผา่ นเกะกะตามพ้นื ควรยึดสายให้เรียบร้อย เพราะอาจทาให้เดินสะดุดล้ม

หรือเครอ่ื งใชเ้ หลา่ น้นั ร่วงหลน่ เสยี หายได้
3. เก็บอุปกรณ์สานักงานที่มีความคม เช่น กรรไกร คัตเตอร์ แยกออกจากอุปกรณ์อื่น เพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บ และ

หยิบเก็บเคร่ืองใช้สานักงานที่ตกหล่นอยู่ตามพ้ืนทุกครั้ง เช่น ปากกา, กรรไกร,หมุด ฯลฯ เพราะอาจทาให้ล่ืนหรือตา
เท้าได้
4. ระมัดระวังเสมอเมื่อเดินผ่านมุมอาคาร หรือเปิดประตูทึบซึ่งไม่สามารถมองผ่านทะลุได้ เพราะจะทาให้ชนหรือ
กระแทกคนอื่นได้
5. ไม่ควรวางกองเอกสารทพี่ น้ื เพราะอาจทาใหเ้ ดนิ สะดดุ ได้
6. ลน้ิ ชักโต๊ะ, ตูต้ า่ ง ๆ ควรปดิ ใหเ้ รียบรอ้ ยทุกครง้ั หลงั ใชง้ าน
7. การจดั วางของบนที่สงู ควรวางใหม้ ่ันคงและไม่สูงจนเกินไป
8. อปุ กรณ์ไฟฟา้ ทีช่ ารุด ตอ้ งรบี ติดปา้ ยแจง้ สถานะชารดุ และสง่ ซ่อมกอ่ นนาไปใช้งาน
9. ทาความสะอาดพน้ื ทนั ทีทมี่ นี ้าหก ระวังสะดดุ บรเิ วณแผน่ กระเบอื้ งท่แี ตก เผยอ หรือพรมทเี่ ล่ือนหลดุ
10.พนักงานทุกคนต้องรู้สถานท่ีเก็บอุปกรณ์ดับเพลิงที่ใกล้ท่ีสุด วิธีการใช้และข้ันตอนการดับเพลิงเบื้องต้นรวมถึงการ
อพยพเมือ่ มสี ญั ญาณเตอื น
11.ไม่เสยี บปลั๊กไฟจนเต็มเตา้ รับ ปดิ ไฟ และถอดปล๊กั อปุ กรณ์ไฟฟ้า หลงั จากเลิกใชง้ าน

- 29 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเก่ียวกับกำรทำงำนบนที่สงู

กำรควบคมุ ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนบนที่สูง

ทสี่ ูง คอื พน้ื ทีก่ ารทางานทีต่ า่ งระดับกัน ตั้งแต่ 2 เมตร ขึ้นไป นับจากพน้ื

อปุ กรณ์ค้มุ ครองควำมปลอดภัย(PPE) ท่ตี ้องสวมใส่ คือ หมวกนิรภัย รองเท้าหุ้มส้นพ้ืนยาง เข็มขัดนิรภัยแบบ

เตม็ ตวั พร้อมสายคลอ้ งกนั ตก และจดุ ยึดเกาะ

นั่งร้ำน

- น่ังร้านต้องไดร้ ับการรับรองแบบและคานวณความสามารถในการรบั น้าหนกั โดยวศิ วกร หรือบรษิ ทั ผผู้ ลติ
- ก่อนใช้งานต้องผ่านการตรวจสภาพความม่ันคงของการติดตั้ง และรับรองโดยเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการ

ทางาน(จป.)ก่อน เท่านัน้ จงึ จะอนุญาตให้ใช้งาน โดยมรี ะยะเวลาอนญุ าตใหใ้ ช้งานได้ไม่เกิน 1 เดอื น
- การต้ังน่ังร้านต้องห่างจากสายไฟฟ้า 3 เมตรข้ึนไป หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ จะต้องแจ้งให้วิศวกรไฟฟ้า หรือ

ผชู้ านาญการดา้ นไฟฟ้ามาตรวจประเมนิ พนื้ ท่ีกอ่ น เทา่ นน้ั
- หัวหนา้ งานผู้รบั เหมา หรือผคู้ วบคมุ งานตอ้ งตรวจสภาพความปลอดภัยก่อนการใช้งานทุกวนั
- กรณลี มพัดแรง ฝนตก พายุเข้า ห้ามขน้ึ ทางานบนนั่งร้านทีอ่ ย่ภู ายนอกอาคารเป็นอันขาด

- 30 -

ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนเกย่ี วกบั กำรทำงำนบนทส่ี งู

บนั ได
- ตอ้ งตรวจสภาพของบนั ไดก่อนใช้งานทกุ ครั้ง หากพบว่าชารดุ ต้องซ่อมแซมใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อมใช้งาน และระหวา่ ง

รอซอ่ ม ให้ตดิ ป้ายแจ้งสถานะ “ชารดุ ห้ามใช้งาน”
- ตอ้ งตงั้ บนั ไดบนพน้ื ราบ และต้องมคี นจบั บนั ไดอยา่ งน้อย 1 คน
- บนั ไดทรง A หา้ มขน้ึ ไปเหยยี บ หรอื ทางานบนขั้นบนั ไดบนสดุ เดด็ ขาด
- ตอ้ งล็อคขาบนั ได หรอื ผกู รดั ให้แนน่ หนากบั การล่นื ไหล

รถกระเชำ้ หรือพ้นื ทปี่ ฏิบตั ิงำนทม่ี ีรำวกันตก
- ก่อนปฏบิ ตั งิ านตอ้ งตรวจสภาพของอปุ กรณ์ยึดเกย่ี ว รถกระเชา้ และพ้ืนทกี่ ารทางานทุกคร้งั
- แจ้งเจา้ ของพน้ื ที่ เจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางาน(จป.) และปดิ กั้นพ้นื ทกี่ ารทางาน กอ่ นปฏบิ ตั งิ าน
- ผู้ปฏิบัติงานต้องสวมใส่เข็มขัดนิรภัยแบบเต็มตัว และคล้องสายกันตกกับกระเช้า หรือราวกันตกที่มีความมั่นคง

ก่อนปฏบิ ตั งิ านเสมอ
- ห้ามเหยียบขอบ หรอื โครงสร้างของกระเช้า หรือราวกันตก เพ่อื ยืนปฏบิ ตั ิงาน
- ห้ามยน่ื อวัยวะสว่ นหนึง่ ส่วนใดออกนอกกระเช้า ขณะเคลอ่ื นท่ี และตอ้ งลอ็ คประตกู ระเชา้ ให้เรียบร้อยก่อนการยก

- 31 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเก่ียวกบั รังสี

กำรควบคุมควำมปลอดภัยในกำรทำงำนกับรังสี

1. ผู้ปฏบิ ตั ิงานตอ้ งผา่ นการอบรมความปลอดภยั ในการทางานกับรังสีเทา่ น้นั จึงจะสามารถปฏิบัติงานได้
2. เม่ือผู้ปฏิบัตงิ านตอ้ งเขา้ ทางานในเขตพืน้ ที่รังสี จะตอ้ งตดิ แผน่ วัดรังสีบรเิ วณลาตวั ของพนักงานทุกครงั้

3. พนกั งานใหมท่ ่ีเข้าทางานในพ้นื ท่ที ี่เกีย่ วข้องกับรังสี จะตอ้ งแจ้งแผนก SHEE เพ่อื ขอรบั แผ่นวัดรังสี
4. ผู้ท่ีไม่มีหน้าทเ่ี กีย่ วกบั รงั สี ห้ามเข้าไปในพืน้ ทีท่ ี่มสี ัญลกั ษณน์ ี้

อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัย(PPE) ที่ตอ้ งสวมใส่ คอื ถุงมอื ผา้ หน้ากากผ้า
กรณรี ังสีรว่ั ไหล ให้ปฏิบตั ติ ามแผนฉุกเฉนิ SOP-09-SHE-011 คู่มอื วสั ดกุ มั มันตรังสี และ SOP-09-SHE-037 ค่มู อื
และการป้องกนั รงั สเี อกซเรย์

- 32 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนที่อับอำกำศ

กำรควบคุมควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนในท่อี ับอำกำศ

ทอ่ี ับอำกำศ หมายถงึ ทซี่ ่ึงมที างเขา้ ออกจากดั และมีการระบายอากาศไม่เพียงพอที่จะทาให้อากาศภายในอยู่ในสภาพ
ถูกสขุ ลกั ษณะและปลอดภยั เชน่ อุโมงค์ ถ้า บอ่ หลุมห้องใตด้ นิ หอ้ งนิรภัย ถังนา้ มนั ถังไซโล ท่อ เตา ภาชนะหรอื ส่งิ อน่ื
ท่มี ลี ักษณะคลา้ ยกนั
บรรยำกำศอันตรำย หมายถึง สภาพอากาศทีอ่ าจทาให้ลกู จา้ งไดร้ บั อนั ตรายจาก
สภาวะอย่างหนงึ่ อยา่ งใด คอื
- ออกซิเจน น้อยกวา่ 19.5% หรอื มากกว่า 23.5% by Vol.
- มกี า๊ ซ ไอระเหย ละอองทีต่ ิดไฟหรือระเบิดได้ เกนิ 10 %LEL
- ฝุ่นทตี่ ดิ ไฟหรือระเบิดได้ เท่ากับหรอื มากกว่าคา่ LEL
- มีปรมิ าณความเขม้ ข้นของสารเคมี เกินกว่ามาตรฐาน TLV (TWA/STEL/Ceiling) ตามประกาศในกฎหมายเร่อื ง
สารเคมีอันตราย
- สภาวะอน่ื ใดที่อาจเปน็ อันตรายตอ่ รา่ งกายหรือชวี ิต
การควบคมุ การทางานในทีอ่ ับอากาศอยา่ งปลอดภัย
(1) ผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงานหรือเจ้าของพ้ืนที่ เข้าดูแลรับผดิ ชอบโดยผู้ท่เี ก่ยี วข้องท้ังหมดต้องผ่านการอบรมและมีความรู้
ความสามารถในการเข้าทางานในสถานที่อับอากาศไดอ้ ยา่ งปลอดภัย อบรมทบทวนทกุ ๆ 5 ปี
(2) มกี ารตดั การทางานของเคร่อื งจกั ร,กระแสไฟฟ้า, การปอ้ นวสั ดุ (Isolation)
(3) มีการทาความสะอาดกอ่ นเขา้ ดาเนินการ
(4) มกี ารตรวจสอบและดาเนนิ การใหช้ อ่ งทางเขา้ ออกสะดวก ปลอดภยั มีขนาดทเี่ หมาะสม
(5) มกี ารระบายอากาศท่ีเหมาะสมก่อนเขา้ ปฏบิ ตั ิงาน และระบายอากาศตลอดเวลาที่ทางาน
(6) มกี ารตรวจสอบวดั สภาพบรรยากาศในทอี่ บั อากาศ (ปริมาณออกซเิ จน,สารพิษ)ทกุ ๆ 1 ช่ัวโมง
(7) มกี ารใชเ้ ครือ่ งมอื ทีเ่ หมาะสมกบั ประเภทของงานและมแี สงสว่างเพียงพอ
(8) มกี ารใช้เครือ่ งช่วยหายใจท่ีเหมาะสม มีผคู้ วบคมุ งาน มปี ้ายเตือนอนั ตรายและห้ามผไู้ มเ่ กย่ี วข้องเข้า
(9) ตอ้ งแจ้งการเขา้ ทางานในท่ีอับอากาศให้หนว่ ยงานความปลอดภัยฯ (SHEE) รบั ทราบ กอ่ นเขา้ ปฏิบัติงานทุกครั้ง โดย
ใช้แบบฟอรม์ การขออนุญาตเข้าทางานในที่อับอากาศ
10) ต้องจัดเตรยี มอุปกรณ์ช่วยเหลือปฐมพยาบาล และผู้ช่วยเหลือให้พร้อม และแนบแผนการดาเนินงาน และแผนการ
ช่วยเหลอื เม่อื เกิดเหตฉุ กุ เฉิน มาพรอ้ มกับแบบฟอรม์ การขออนญุ าตทกุ คร้งั

- 33 -

ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนท่อี ับอำกำศ

รปู ใบอนญุ ำตให้ปฏบิ ัติงำนในทอ่ี บั อำกำศ

- 34 -

ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนท่อี บั อำกำศ

อปุ กรณค์ ุ้มครองควำมปลอดภยั (PPE) ที่ต้องสวมใส่ คอื หมวกนริ ภยั รองเทา้ นิรภยั อปุ กรณป์ อ้ งกันระบบ

ทางเดนิ หายใจ

อุปกรณอ์ ื่นท่จี ำเป็น ได้แก่ อุปกรณ์ชว่ ยระบายอากาศ เครอ่ื งวดั คุณภาพอากาศ และอปุ กรณ์อ่นื ๆตามพนื้ ที่และ

ลักษณะงาน

- 35 -

อุบัติกำรณ์ อบุ ตั ิเหตุ
เหตุกำรณเ์ กอื บเกดิ อุบัตเิ หตุ

- 36 -

กำรรำยงำน และกำรสอบสวนอุบัติเหต/ุ อุบตั ิกำรณ์

อุบัติเหตุ หรืออุบัติการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้น ถือเป็นความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องรายงานและแจ้งให้ทราบโดยทั่วกัน
เพอ่ื ใหม้ กี ารดาเนินการ สอบสวน และแก้ไขตามสาเหตุท่ีพบป้องกันเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นอีกโดยมีสาเหตุคล้ายคลึง
กนั ในอนาคต
กำรรำยงำนอบุ ัติเหตุ/อุบตั ิกำรณ์

กาหนดให้มีการรายงานเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนทุกชนิดที่เป็นสาเหตุ หรืออาจทาให้เกิดการบาดเจ็บ ,ทรัพย์สิน
เสยี หาย หรือเปน็ การทาลายสภาพแวดล้อม ให้ผู้บรหิ ารที่เก่ยี วข้องในพ้นื ทท่ี เี่ กิดเหตุรับทราบ

เมื่อเกิดเหตุการณ์ข้างต้น จะต้องมีกำรรำยงำนโดยวำจำให้หัวหน้ำงำนในพื้นท่ีรับทรำบทันทีและเม่ือสามารถ
ควบคุมสถานการณไ์ ด้ท้ังหมดแลว้ จะตอ้ งเขียนรำยงำนให้เร็วที่สุดเท่ำที่กระทำได้ โดยใช้เวลำไม่เกิน 3 วันทำกำร
หลงั เกดิ เหตุส่งมาท่จี ป.วิชาชพี
กำรสอบสวนอบุ ัตเิ หตุ/อบุ ตั กิ ำรณ์

หากเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน เป็นเหตุฉุกเฉิน และได้มีการปฏิบัติตามแผนระงับเหตุฉุกเฉินแล้ว ผู้บริหาร จะต้องทา
การสอบสวนเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน เพ่ือหาสาเหตุพ้ืนฐาน (Basic Causes) เพื่อนาไปสู่การแก้ไข และเพื่อให้เป็นตาม
ข้อกาหนดของกฎหมาย

กรณีท่ีอุบัติเหตุเกิดขึ้น หัวหน้างานร่วมกับเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัย และทีมสอบสวนจากหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
ต้องทาการสอบสวนเพือ่ หาสาเหตแุ ละทบทวนสถติ อิ บุ ัติเหตุ เพ่อื ระบุช้ีถึงปัญหาที่เกิดข้ึน และดูแนวโน้มของอุบัติเหตุ
เพอ่ื หาทางควบคุม ป้องกนั กอ่ นทีเ่ กดิ ความสญู เสียมากข้ึน

ตัวอยำ่ งอบุ ัตเิ หต/ุ อบุ ัตกิ ำรณท์ ตี่ อ้ งมีกำรรำยงำน

•การเสียชวี ิต หรอื สูญเสยี อวัยวะ
•การบาดเจบ็ /เจบ็ ป่วย ซึง่ ทาใหส้ ญู เสยี เวลางาน (Loss-Time)
•การบาดเจ็บ/เจ็บป่วย ทีไ่ ม่ตอ้ งหยุดงาน (Minor)
•อุบัติเหตรุ ้ายแรง และไม่ร้ายแรงที่ต้องเข้ารบั การรกั ษาในโรงพยาบาล
•อบุ ตั ิเหตรุ ้ายแรง และไมร่ ้ายแรงทไ่ี ดร้ ับการปฐมพยาบาล
•อบุ ตั ิเหตุเก่ียวกับยานพาหนะ และการขนสง่
•อุบัตเิ หตุเกย่ี วกบั หมอ้ ไอนา้ และภาชนะปรับแรงดนั ระเบิด
•อบุ ัตเิ หตทุ ่ีมีนา้ มัน สารเคมี หก ล้น หรือ ร่วั ไหล หรือเหตุการณ์ใดๆ ท่ีก่อให้เกดิ ปัญหาด้านสงิ่ แวดล้อม
•อุบัติเหตเุ กีย่ วกับก๊าซ LPG และรังสรี วั่ ไหล
•อุบตั ิเหตทุ ี่มที รพั ยส์ นิ ,อปุ กรณ์เสยี หาย
•อุบตั เิ หตุทเี่ กดิ กบั ผรู้ ับเหมา หรอื แรงงานจา้ งเหมา

- 37 -

มำตรฐำนกำรสวมใส่อปุ กรณ์ (PPE) ในกำรปฏิบตั งิ ำน

ภำพสญั ลกั ษณ์ PPE

1. แผนกผลติ Main Line

- 38 -

มำตรฐำนกำรสวมใสอ่ ปุ กรณ์ (PPE) ในกำรปฏบิ ตั ิงำน

2. แผนก Packing & De-pallet

3. แผนก FL02, FL04 และงานตดั ตวั อยา่ ง

4. แผนกไลน์ทาสผี ลิตภัณฑ์

- 39 -

มำตรฐำนกำรสวมใสอ่ ปุ กรณ์ (PPE) ในกำรปฏบิ ัตงิ ำน

5. แผนกลา้ งเครื่อง, ซอ่ มบารงุ และ Tool Maintenance

พนื้ ที่/ประเภทงาน ปัจจยั เส่ียง PPE

ล้างเครอื่ ง,เคลียรท์ ่อ งานบนทส่ี งู

ความดนั น้าจาก High Pressure

ไฟฟ้าดูด

เศษปนู

ยกของ/ทางานด้วยทา่ ทางทถ่ี ูกตอ้ ง

ปัน้ จนั ่ เหนอื ศรี ษะ

ซอ่ มบารงุ วสั ดุหลน่ ตก หลน่ กระแทก ทมิ่ แทงใสเ่ ทา้

เครอ่ื งจกั รดงึ ผมกรณีผมยาว(กฎหมายกาหนด)

ยกของ/ทางานด้วยทา่ ทางทถ่ี ูกตอ้ ง

ฝ่นุ ละอองทวั ่ ไป

ไฟฟ้าดูด

ซอ่ มพาเลท และลกู ซฟี งานเช่อื มโลหะ(แสงจา้ )
ฟูมตะกวั ่
วสั ดุหลน่ ตก หลน่ กระแทก ทม่ิ แทงใสเ่ ทา้
เสยี งดงั
ฝ่นุ ละอองทวั ่ ไป
ไฟฟ้าดูด

6. แผนก Boiler และ Autoclave

พนื้ ท่ี/ประเภทงาน ปัจจยั เส่ียง PPE
Boiler ความรอ้ น ไอรอ้ นหนา้ เตา
ฝ่นุ ละอองขนาดเลก็ (ถ่านหนิ , แกลบ)
ไอระเหยสารเคมี (น้ามนั เตา)

Autoclave ความรอ้ น ไอน้ารอ้ นหนา้ เตาอบ
ไอระเหยสารเคมี
วสั ดุหลน่ ตก กระแทกใสเ่ ทา้

- 40 -

ป้ำย และสัญลักษณค์ วำมปลอดภยั

ปำ้ ยและลญั ลักษณค์ วำมปลอดภยั

สีและสญั ลกั ษณ์ของป้ายเตอื นความปลอดภัย ที่พบเห็นในโรงงานนน้ั มคี วามหมายแตกตา่ งกนั ดังน้ี
1. สแี ดง ตัดสีขำว

ความหมาย เครื่องหมายห้าม และใชก้ ับสญั ลักษณ์ท่เี กีย่ วข้องกบั การปอ้ งกนั และระงับอันตราย รวมถงึ อุปกรณ์
ดับเพลงิ

2. สีเหลือง ตดั ขอบดำ
ความหมาย เครอื่ งหมายเตือน เตอื นให้ระวัง

3. สีน้ำเงิน ตดั สีขำว
ความหมาย เคร่อื งหมายบังคบั ใหป้ ฏิบตั ติ าม

4. สีเขียว ตัดขำว
ความหมาย แสดงภาวะปลอดภัย และใช้กบั อุปกรณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ

- 41 -

กำรปอ้ งกันและระงบั อัคคีภัย

ระบบป้องกันและระงับอคั คีภัย

อคั คีภัย หรือภัยท่ีเกดิ จากเพลิงไหม้ เปน็ สาธารณภยั ประเภทหนึ่งทมี่ ีโอกาสเกดิ ขน้ึ ไดต้ ลอดเวลา ก่อให้เกดิ ความสูญเสยี
ต่อชวี ติ ทรัพยส์ นิ ดงั นนั้ การป้องกนั และระงับอัคคภี ยั จงึ มคี วามสาคญั อย่างยงิ่ ในการชว่ ยลดความสูญเสีย
องค์ประกอบของไฟ ประกอบดว้ ย
การทีจ่ ะเกดิ ไฟข้นึ ได้น้ัน ต้องมอี งคป์ ระกอบ 3 อยา่ ง คือ

-เชื้อเพลิง (fuel) ซง่ึ จะอย่ใู นสภาพของแขง็ ของเหลว หรือแก๊ส
-ออกซเิ จน (oxygen) ซงึ่ ะมอี ยูใ่ นอากาศประมาน 21% โดยปริมาณ
-ความรอ้ น (heat) พอเพยี งทีจ่ ะตดิ ไฟได้
เม่อื มอี งค์ประกอบท้ัง 3 ครบแลว้ ไฟจะเกดิ ลกุ ไหม้ขึน้ และเกดิ
ปฎกิ ริ ยิ าลกู โซ่
หลกั กำรดบั เพลงิ
•การลดความร้อนทจี่ ะทาใหเ้ กิดการระเหย
•การปอ้ งกนั ออกซเิ จนในอากาศรวมตัวกบั เช้อื เพลิง
•การกาจดั เชอ้ื เพลิง
ประเภทของไฟ ตามมาตรฐาน NFPA 10 แบ่งได้ 5 ประเภท คอื

วิธกี ำรตรวจสอบถงั ดบั เพลิง - 42 -

วธิ กี ำรใช้ถังดบั เพลิง กำรปอ้ งกันและระงับอัคคภี ัย

•ยกถังดบั เพลิงลงจากจดุ ตดิ ตัง้ กำรตรวจสอบถังดบั เพลิง ชนิดคำร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
•ปฏบิ ตั ติ ามแผนภาพ 1. ช่ังนา้ หนกั ถัง เดือนละ 1 คร้ัง
หากน้าหนักหายไปเกินกว่าท่ี
กาหนดใหส้ ่งไปเตมิ ก๊าซใหม่
- ถัง 10 ปอนด์ (13.5 กก.)
น้าหนักรวม 15 กก. น้าหนัก
หายไมเ่ กนิ 4 กก.
- ถัง 15 ปอนด์ (19.4 กก.)
น้าหนักรวม 22 กก. น้าหนัก
หายไม่เกนิ 6 กก.
2. ตรวจดูสลัก ด้ามจับ สายฉีด
และตวั ถังเหมอื นกบั การตรวจถัง
ชนดิ มีเกจวัด

•เข้าใกล้ 2-4 เมตร ในทิศทางเหนอื ลม เท่านั้น
•ฉีดดับเพลิงท่ีฐานของไฟ ส่ายสายฉีดไปมา ซ้าย-

ขวา จนไฟดบั สนทิ
•หากไฟสูงเกินกว่าระดับศีรษะ แสดงว่า เกินกว่า

การควบคุมได้ด้วยการใช้ถังดับเพลิง ให้ถอยห่าง

ออกมา และรอให้ทีมตอบโต้เหตุฉุกเฉินของบริษัท

เขา้ มาระงบั เหตุ

- 43 -

ขอ้ ควรปฏบิ ัติเมอ่ื เกดิ เหตุฉกุ เฉนิ

1. กรณเี ป็นผูพ้ บเหน็ เหตผุ ดิ ปกติ เช่น ไฟไหม้ , สารเคมหี กรว่ั ไหล , ไดก้ ลิ่นก๊าซ LPG ร่ัวไหล และเหตุผิดปกตอิ ่ืนๆ
1.1 แจง้ ผู้บงั คบั บญั ชาใหท้ ราบทันที โดยแจ้งว่า เกิดเหตอุ ะไร จุดท่พี บ สถานการณ์อยู่ในระดบั ใด
1.2 หากทราบวธิ ีระงับเหตุนั้นๆ ให้ปฏบิ ัติตามข้นั ตอนการระงับเหตุฉกุ เฉิน
2. กรณไี ดย้ ินเสียงสัญญาณเหตฉุ กุ เฉนิ ให้ปฏิบัติดังน้ี
2.1 อยา่ ตนื่ ตกใจ หยดุ กจิ กรรมที่ทาอยู่ และรอฟังคาส่งั จากหัวหน้างาน
2.2 กรณีมีคาส่ังให้อพยพ ห้ามวิ่งเด็ดขาดให้เดินเร็วตามธงอพยพของแผนกที่หัวหน้างานหรือผู้ได้รับมอบหมายถือ
เพ่ือไปรวมกัน ณ จุดรวมพล
2.3 ขานช่อื กับหวั หนา้ งานตามลาดับ หากมเี พื่อนรว่ มงานสูญหาย ให้รีบแจ้งกับหัวหน้างาน เพ่ือให้ชุดค้นหาและช่วย
ปฐมพยาบาล ทาการคน้ หาและเคลอ่ื นยา้ ย โดยแจง้ จดุ ทพี่ บเหน็ ครงั้ สุดทา้ ย ใหท้ มี คน้ หาฯทราบ
2.4 หากท่านได้รับมอบหมายให้อยู่ในชุดระงับเหตุฉุกเฉิน(Fire Fighting Team) หรืออยู่ในชุดค้นหาและช่วยปฐม
พยาบาล(FR Team) ให้แยกออกมารายงานตัวกับหัวหน้าชุดนั้นๆ เพ่ือดาเนินการตามแผนการช่วยเหลือท่ีได้รับ
มอบหมาย
2.5 ปฏิบัติตามคาส่ังของหัวหน้าทีมอย่างเคร่งครัด ไม่ออกนอกบริเวณโรงงาน จนกว่าจะมีคาส่ังให้อพยพออกนอก
บรเิ วณโรงงาน
3. กรณที ่านอยใู่ นตัวอาคารที่มีเหตเุ พลิงไหม้ ใหป้ ฏบิ ตั ดิ ังน้ี
3.1 คลานตา่ หรอื ก้มตวั ใหอ้ ยใู่ กลก้ บั พนื้ ห้องไม่เกิน 1 ฟตุ และหนไี ปยังทางออกฉกุ เฉนิ
3.2 หลีกเล่ียงการอยู่ใต้คาน หรอื เสาอาคาร
3.3 ใช้ผ้าชุบน้าปิดจมูก และคลมุ รา่ งกาย
3.4 ก่อนจะเปิดประตูให้แตะลูกบิดก่อน โดยนั่งชันเข่าหลังประตู แล้วใช้หลังมือแตะ ถ้ามีความร้อนสูงแสดงว่ามีไฟ
ไหม้อยู่ภายในหอ้ ง หา้ มเปดิ ประตเู ดด็ ขาด แต่หากลูกบดิ ไมร่ ้อน ให้ค่อยๆบิดออกชา้ ๆ โดยใชไ้ หล่หนุนประตไู ว้
3.5 หากต้องเผชญิ กับควนั ไฟ อาจใช้ถงุ พลาสตกิ ใสขนาดใหญ่ตักอากาศ แล้วคลมุ ศีรษะหนฝี ่าควนั ออกมา
3.6 หากติดอยู่ในห้อง ให้ปิดประตู หาผ้าหนาๆชุบน้าอุดตามช่องที่ควันเข้าได้ ปิดพัดลมและเคร่ืองปรับอากาศ แล้ว
เปดิ หนา้ ตา่ งสง่ สญั ญาณขอความชว่ ยเหลอื
3.7 หากมไี ฟลามติดเส้ือผ้า อยา่ ว่งิ ใหล้ ม้ ตวั ลงนอนกับพ้ืนทันที ใชม้ อื ปิดหนา้ และกล้งิ ตวั ทับเส้ือผา้ ท่ีติดไฟจนดับ
3.8 หากหนีออกมาจากตัวอาคารได้แล้ว ไม่ควรกลับเข้าไปอีก หากยังมีคนอื่นติดอยู่ภายในอาคาร ให้แจ้งเจ้าหน้าที่
ดบั เพลิง เพ่อื เจา้ หนา้ ทด่ี ับเพลงิ จะได้เข้าไปชว่ ยเหลือ

- 44 -

ขอ้ ควรปฏบิ ัติเมอื่ เกิดเหตุฉกุ เฉิน

1. กรณีเปน็ ผูพ้ บเหน็ เหตผุ ดิ ปกติ เชน่ ไฟไหม้ , สารเคมหี กรวั่ ไหล , ได้กลิน่ ก๊าซ LPG รัว่ ไหล และเหตุผดิ ปกติอื่นๆ
1.1 แจง้ ผู้บงั คบั บัญชาใหท้ ราบทนั ที โดยแจ้งว่า เกิดเหตุอะไร จดุ ที่พบ สถานการณ์อยู่ในระดบั ใด
1.2 หากทราบวธิ รี ะงับเหตุนั้นๆ ให้ปฏิบตั ิตามข้นั ตอนการระงบั เหตุฉกุ เฉนิ
2. กรณไี ด้ยินเสียงสัญญาณเหตฉุ กุ เฉนิ ใหป้ ฏิบัติดังนี้
2.1 อยา่ ตนื่ ตกใจ หยดุ กจิ กรรมทท่ี าอยู่ และรอฟังคาส่งั จากหัวหนา้ งาน
2.2 กรณีมีคาส่ังให้อพยพ ห้ามวิ่งเด็ดขาดให้เดินเร็วตามธงอพยพของแผนกที่หัวหน้างานหรือผู้ได้รับมอบหมายถือ
เพือ่ ไปรวมกัน ณ จดุ รวมพล
2.3 ขานช่อื กับหวั หน้างานตามลาดับ หากมเี พื่อนรว่ มงานสูญหาย ให้รีบแจ้งกับหัวหน้างาน เพ่ือให้ชุดค้นหาและช่วย
ปฐมพยาบาล ทาการคน้ หาและเคลอื่ นยา้ ย โดยแจง้ จดุ ทพี่ บเหน็ คร้ังสุดทา้ ย ใหท้ มี คน้ หาฯทราบ
2.4 หากท่านได้รับมอบหมายให้อยู่ในชุดระงับเหตุฉุกเฉิน(Fire Fighting Team) หรืออยู่ในชุดค้นหาและช่วยปฐม
พยาบาล(FR Team) ให้แยกออกมารายงานตัวกับหัวหน้าชุดนั้นๆ เพ่ือดาเนินการตามแผนการช่วยเหลือท่ีได้รับ
มอบหมาย
2.5 ปฏิบัติตามคาส่ังของหัวหน้าทีมอย่างเคร่งครัด ไม่ออกนอกบริเวณโรงงาน จนกว่าจะมีคาส่ังให้อพยพออกนอก
บรเิ วณโรงงาน
3. กรณที ่านอยใู่ นตัวอาคารที่มีเหตเุ พลงิ ไหม้ ใหป้ ฏบิ ตั ิดงั น้ี
3.1 คลานตา่ หรือก้มตวั ใหอ้ ยใู่ กลก้ บั พ้นื หอ้ งไม่เกิน 1 ฟุต และหนีไปยังทางออกฉกุ เฉนิ
3.2 หลีกเล่ียงการอยู่ใต้คาน หรอื เสาอาคาร
3.3 ใชผ้ ้าชุบน้าปดิ จมูก และคลมุ ร่างกาย
3.4 ก่อนจะเปิดประตูให้แตะลูกบิดก่อน โดยนั่งชันเข่าหลังประตู แล้วใช้หลังมือแตะ ถ้ามีความร้อนสูงแสดงว่ามีไฟ
ไหม้อยู่ภายในหอ้ ง หา้ มเปดิ ประตเู ด็ดขาด แต่หากลกู บิดไม่ร้อน ให้ค่อยๆบิดออกชา้ ๆ โดยใช้ไหลห่ นุนประตไู ว้
3.5 หากต้องเผชญิ กับควนั ไฟ อาจใช้ถุงพลาสตกิ ใสขนาดใหญ่ตกั อากาศ แลว้ คลมุ ศีรษะหนฝี ่าควนั ออกมา
3.6 หากติดอยู่ในห้อง ให้ปิดประตู หาผ้าหนาๆชุบน้าอุดตามช่องที่ควันเข้าได้ ปิดพัดลมและเคร่ืองปรับอากาศ แล้ว
เปิดหนา้ ตา่ งสง่ สญั ญาณขอความชว่ ยเหลอื
3.7 หากมไี ฟลามติดเส้ือผ้า อยา่ วิ่ง ให้ลม้ ตัวลงนอนกับพ้ืนทันที ใช้มือปดิ หนา้ และกล้งิ ตวั ทับเส้อื ผ้าที่ติดไฟจนดับ
3.8 หากหนีออกมาจากตัวอาคารได้แล้ว ไม่ควรกลับเข้าไปอีก หากยังมีคนอื่นติดอยู่ภายในอาคาร ให้แจ้งเจ้าหน้าที่
ดับเพลิง เพ่อื เจา้ หนา้ ทด่ี ับเพลงิ จะไดเ้ ขา้ ไปช่วยเหลือ

- 45 -

กำรปฐมพยำบำลเบอ้ื งตน้

กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้น หมายถึง การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย หรือผู้บาดเจ็บก่อนที่จะถึงมือแพทย์หรือ

โรงพยาบาล เพอ่ื ปอ้ งกนั มใิ ห้เกดิ อนั ตรายจนถึงข้นั พกิ าร
วตั ถุประสงคใ์ นกำรปฐมพยำบำลเบอ้ื งตน้
1.เพ่อื ให้ผู้ป่วยหรอื ผ้บู าดเจบ็ รอดชวี ิต
2.เพอ่ื มใิ ห้ไดร้ ับอันตรายหรอื ความพิการเพิ่มมากขน้ึ
3.เพอ่ื ให้ไดก้ ลับส่สู ภาพเดิม คือฟืน้ หรือหายจากการเจบ็ ป่วยได้อย่างรวดเร็ว

กำรห้ำมเลอื ด

- 46 -

กำรปฐมพยำบำลเบ้ืองตน้

- 47 -

กำรปฐมพยำบำลเบ้ืองตน้


Click to View FlipBook Version