The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ของดีเมืองสตูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jarinya5307, 2021-09-18 06:52:47

ของดีเมืองสตูล

ของดีเมืองสตูล

ของดเี มืองสตลู

จังหวัดสตูล ของดปี ระจาจังหวัดสตูล

ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น สตูลเป็ นเพียงตาบลหน่ึงในเขตเมืองไทร

บรุ ี เรียกว่า มูเก็มสะตุล ( ) ‫مقي ستوي‬ประวตั ิความเป็ นมาของเมือง
สตูลจึงเก่ียวข้ องกับไทรบุรี ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุง

รัตนโกสินทร์รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั ว่า "ตาม

เนือ้ ความที่ปรากฏดงั กล่าวมาแล้ว ทาให้เหน็ ว่าในเวลานนั้ พวกเมืองไทร

เหน็ จะแยกกนั เป็นสองพวกคือ พวกเจ้าพระยาไทรปะแงรันพวกหนงึ่ และ บุหงาปูดะ
พ ร ะ ย า อ ภั ย นุ ร า ช ค ง จ ะ น บ น้ อ ม ฝ า ก ตั ว กั บ เ มื อ ง
นครศรีธรรมราช โดยเฉพาะเมื่อพระยาอภยั นรุ าชได้มาเป็ นผ้วู ่าราชการ "บหุ งาปดู ะ" หรือ ขนมดอกลาเจียก เป็นขนมพนื ้ เมืองของ

เมืองสตลู ซง่ึ เขตแดนติดตอ่ กบั นครศรีธรรมราชมากกวา่ เมืองไทร แต่พระ จงั หวดั สตลู มีการทากนั มาตงั้ แต่สมยั พระยาสมนั ตรัฐ โดยคนในสาย
ยาอภยั นรุ าชวา่ ราชการเมืองสตลู ได้สองปี ก็ถึงแก่อนิจกรรม ผ้ใู ดจะได้ว่า สกลุ กรมเมือง ที่เข้าไปรับใช้อยใู่ นวงั เก่าเจ้าเมืองสะโตย หรือจงั หวดั สตลู
ราชการเมืองสตูลต่อมาในชัน้ นัน้ หาพบจดหมายเหตุไม่ แต่พิเคราะห์ ในปัจจบุ นั ขนมบหุ งาปดู ะ มีลกั ษณะสี่เหล่ียมคล้ายหมอน ทาด้วย
ความตามเหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขนึ ้ ภายหลงั เข้าใจวา่ เชือ้ พระวงศ์ของพระอภยั มะพร้าวทึนทึก และแป้ งข้าวเหนียวผสมด้วยนา้ ตาล เกลือ นา้ และกะทิ
นรุ าช (ปัศน)ู คงจะได้วา่ ราชการเมืองสตลู และฟังบงั คบั บญั ชาสนิทสนม เป็นขนมพนื ้ บ้านของชาวมสุ ลิมที่นิยมทาเป็นขนมใช้ในงานเทศกาลงาน
พธิ ีที่สาคญั ๆทางศาสนาอิสลาม อาทิ งานเทศกาลฮารีลายอ ตรุษของ
กบั เมืองนครศรีธรรมราชอยา่ งครัง้ พระยาอภยั นรุ าชหรือยงิ่ กว่านนั้ "
อิสลาม เทศกาลถือศีลอด งานแตง่ งาน และเทศกาลงานอ่ืนๆ อีก

มากมาย และนอกจากนี ้ยงั ใช้เป็นขนมต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองที่มา

เยือน

ไข่มุกแท้อันดามัน ชาชักบังวร จ.สตูล

ไข่มกุ แท้อนั ดามนั เป็ นไข่มกุ ที่บริสทุ ธิ์ ไข่มกุ ที่มากจาก หากพดู ถึงเครื่องด่ืมอนั เป็ นเอกลกั ษณ์ของภาคใต้ใครๆ ก็คง

หอยมกุ ซงึ่ มีการเลีย้ งไว้ของชาวประมง พบมากได้แก่ หม่บู ้าน นกึ ถงึ “ชาชกั ” มาเป็ นอนั ดบั ต้นๆ ด้วยลีลาท่าทางการชงชาท่ีฉวดั เฉวียน
ปากบารา อาเภอละงู หม่บู ้านท่งุ บหุ ลงั หม่บู ้านมะหงงั และหม่บู ้านรา น่าต่ืนเต้นเร้าใจ สายชาสีนา้ ตาลอ่อนซึ่งไหลรินต่อเนื่องจากกระบอกชง
ไว อาเภอทงุ่ หว้า จงั หวดั สตลู สว่ นใหญ่ชาวบ้านเลีย้ งไว้ใน ชาท่ีถูกยกขึน้ สลับซ้ายขวาเป็ นจังหวะสอดคล้องพ้องประสานราวกับ
กะชงั เมื่อตวั โตเต็มท่ีจึงจะเก็บมาผ่านกรรมวิธีต่างๆ มาเป็ นสร้อยไข่มกุ กาลังร่ายรา คือ เสน่ห์ซ่ึงทาให้ผู้พบเห็นรู้สึกเพลิดเพลินจนเกินกว่าจะ
แท้อนั ดามนั
ไข่มุกแท้อันดามันของคุณมายุรี เทพวารินทร์ ตัง้ อยู่ ห้ามใจไมใ่ ห้สงั่ ชาชกั ที่ดนู า่ เอร็ดอร่อยนีไ้ ด้

หมบู่ ้านปากบารา 669 ม.2 ต.ปากนา้ อ.ละงู จ.สตลู ซง่ึ เป็ นผลิตภณั ฑ์

ที่ผา่ นมาตรฐานและได้รับรางวลั จาก OTOP ระดบั 4 ดาว สร้างรายได้

เข้าสู่ท้องถิ่นและจังหวัดสตูลเป็ นอย่างมาก นอกจากไข่มุกอันดามัน

แล้ว คณุ มายรุ ียงั จาหน่ายผลิตภณั ฑ์จากเปลือกหอยอีกด้วย

ผ้าบาตกิ

ผ้า บาตกิ หรือผ้าปาเต๊ะ เป็นคาท่ีใช้เรียกผ้าชนดิ หนง่ึ ท่ีมี

วธิ ีการทาโดยใช้เทียนปิดส่วนท่ีไม่ต้องการให้ตดิ สีและใช้วิธีการแต้ม
ระบาย หรือย้อมในสว่ นที่ต้องการให้ติดสี ผ้าบาตกิ บางชนิ ้ อาจจะผ่าน
ขนั้ ตอนการปิดเทียนแต้มสี ระบายสีและย้อมสีนบั เป็นสิบ ๆ ครัง้ ส่วนผ้า
บาติกอยา่ งงา่ ยอาจทาโดยการเขียนเทียนหรือพิมพ์เทียนแล้วจงึ นาไป
ย้อมสีท่ีต้องการ

คาว่าบาตกิ {Batik} หรือปาเต๊ะ เดมิ เป็นคาในภาษาชวาใช้
เรียกผ้าท่ีมีลวดลายที่เป็นจดุ คาวา่ “ ติก ” มีความหมายวา่ เล็กน้อย

หรือจดุ เล็กๆมีความหมายเชน่ เดียวกบั คาว่าตริติก หรือ ตาริติก ดงั นนั้ คา

วา่ บาตกิ จงึ มีความหมายว่าเป็นผ้าท่ีมีลวดลายเป็นจดุ ๆ ดา่ งๆวิธีการทา

ข้าวเกรียบปลาสด หรือ กะโป๊ ะ ผ้าบาตกิ ในสมยั ดงั้ เดิมใช้วิธีการเขียนด้วยเทียน { wax- writing}
ดงั นนั้ ผ้าบาตกิ จงึ เป็นลกั ษณะผ้าที่มีวิธีการผลติ โดยใช้เทียนปิดในสว่ นท่ี

ข้าวเกรียบปลาสด หรือ กะโป๊ ะ ทาจากปลาทกุ ชนิดที่ใช้ทาเป็ น ไมต่ ้องการให้ตดิ สี แม้วา่ วธิ ีการทาผ้าบาติกในปัจจบุ นั จะก้าวหน้าไป
มากแล้วก็ตาม แตล่ กั ษณะเฉพาะประการหนง่ึ ของผ้าบาตกิ ก็คือ จะต้อง
ลูกชิน้ ปลานามาทาข้าวเกรียบปลาได้ ซึ่งมีวิธีการผลิตใช้เทคนิคและ มีวิธีการผลิตโดยใช้เทียนปิดสว่ นท่ีไมต่ ้องการให้ติดสีหรือปิดส่วนที่ ไม่
วิธีการด้วยภมู ิปัญญาชาวบ้านและเป็ นการถนอมอาหารสามารถเก็บไว้ ต้องการให้ติดสีซา้ อีกแหลง่ กาเนิด
รับประทานได้นานข้าวเกรียบปลาสดนิยมนามารับประทานเป็ นอาหาร
วา่ งหรือกบั แกล้ม แต่ผ้รู ับประทานมกั เข้าใจผิดว่าข้าวเกรียบปลาคงจะมี แหล่งกาเนิดของผ้าบาตกิ มาจากไหนยงั ไม่เป็นท่ียตุ ิ
กลิ่นคาวหรืออร่อยไม่เท่าข้าวเกรียบก้งุ ชาวบ้านจงึ ได้พฒั นารสชาติให้ดี นกั วิชาการชาวยโุ รปหลายคนเชื่อว่ามีในอินเดียก่อน แล้วจงึ แพร่หลาย
ยิง่ ขนึ ้ เข้าไปในอินโดนีเซียอีกหลายคนวา่ มาจากอียิปต์หรือเปอร์เซยี แม้ วา่ จะ
ได้มีการค้นพบผ้าบาตกิ ที่มีอายเุ ก่าแก่ในประเทศอื่น ทงั้ อียปิ ต์ อินเดีย

และญ่ีป่ นุ แต่บางคนก็ยงั เชื่อวา่ ผ้าบาตกิ เป็นของดงั้ เดิมของอินโดนีเซยี


Click to View FlipBook Version