The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา (อภิชัย คล้ำปลอด)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เล่มการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา (อภิชัย คล้ำปลอด)

เล่มการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา (อภิชัย คล้ำปลอด)

รายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา

หลักสูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ก่อนแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

วิทยาลยั เทคนคิ สระแกว้ จงั หวดั สระแกว้ (แห่งท่ี 1)
ระหวา่ งวนั ที่ 25 – 29 เมษายน 2565

วิทยาลัยเทคนคิ วงั นา้ เยน็ จงั หวดั สระแก้ว (แห่งที่ 2)
ระหว่างวนั ท่ี 2 – 6 พฤษภาคม 2565

โดย
นายอภชิ ยั คลา้ ปลอด

กลุ่ม 4 เลขที่ 10

สานักพฒั นาสมรรถนะครูและบคุ ลากรอาชีวศกึ ษา

สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
ร่วมกบั สถาบนั พฒั นาครูคณาจารย์และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

สังกดั สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร

1

รายงานการฝึกประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
การวเิ คราะหบ์ ริบทของสถานศกึ ษา (SWOT Analysis)
-------------------------------------------------------------------

วทิ ยาลยั เทคนคิ สระแกว้ จังหวดั สระแก้ว (แหง่ ที่ 1)
ระหว่างวนั ที่ 25 – 29 เมษายน 2565

ช่อื – สกลุ นายอภชิ ยั คล้าปลอด กล่มุ 4 เลขที่ 10 สาย .

1. ข้อมลู พน้ื ฐานสถานศกึ ษา
วิทยาลัยเทคนิคสระแก้ว ตังอยู่ท่ี เลขท่ี 200 หมู่ 11 ถนนวัฒนา-แซร์ออ ต้าบลวัฒนานคร

อ้าเภอวัฒ นานคร จังหวัดสระแก้ว 27160 โทรศัพท์ 0-3726-1535 โทรสาร 0-3726-1675
เว็บไซต์ http://www.sktc.ac.th E-mail [email protected] เนือท่ีของสถานศึกษา 109 ไร่ 1 งาน
74 ตารางวา สีประจ้าวทิ ยาลยั สเี ขียว-เหลือง

ปรัชญา พฒั นาคน พฒั นางาน วิชาการเป็นเลศิ ประเสรฐิ คณุ ธรรม น้อมน้า รรู้ ัก สามคั คี
วิสยั ทศั น์ ผลติ และพฒั นากา้ ลงั คนให้มสี รรถนะวชิ าชพี และภมู ิภาคอาเซียน เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ
พันธกจิ 1) ผลติ และพฒั นากา้ ลงั คน ด้านวชิ าชีพในทกุ ระดับใหม้ คี ณุ ภาพไดม้ าตรฐาน

2) ขยายโอกาสทางการศกึ ษาสายอาชพี อยา่ งท่วั ถึงและต่อเนื่อง
3) ส่งเสริม พัฒนา นักเรียนนักศึกษา รองรับสถานประกอบการเพื่อแก้ปัญหาขาด
แคลนบคุ ลากรภาคการผลิตในปจั จบุ ัน
4) สร้างเครือข่ายความร่วมมือในทุกภาคส่วนท่ีมีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการ
อาชวี ศกึ ษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ
5) วิจัย สร้างนวัตกรรม จัดการองค์ความรู้เพ่ือพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน
6) ส่งเสริม พัฒนา ครูและบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อความเป็นเลิศม่ันคง และ
ก้าวหนา้ ในวิชาชีพ
7) ท้านุบ้ารงุ ส่งเสริมศลิ ปวฒั นธรรม แหล่งเรยี นรแู้ ละภูมปิ ัญญาท้องถนิ่
เอกลักษณ์ สถานศึกษาระดบั ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ม่งุ ผลิตและพัฒนาก้าลังคนดา้ นวชิ าชีพและบรกิ ารสังคม
อตั ลกั ษณ์ สา้ นึกดี มีจิตอาสา และทักษะวิชาชีพ

2. ขอ้ มูลคา่ นิยม วิทยาลยั เทคนิคสระแก้ว มีการจัดการเรยี นการสอน ดงั นี
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชา อุตสาหกรรม, พาณิชยกรรม, คหกรรม,

ศลิ ปกรรม, เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร รวมทงั สนิ จ้านวน 14 สาขาวชิ า 14 สาขางาน
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง (ปวส.) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม, บริหารธุรกิจ,

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร รวมทังสิน จ้านวน 9 สาขาวิชา 9 สาขางาน
ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชันสูง (ปวส.) (ทวิภาค)ี ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม, บรหิ ารธุรกิจ

และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร รวมทังสิน จ้านวน 10 สาขาวชิ า 11 สาขางาน
ระดับหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ระดับปริญญาตรี) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชา

เทคโนโลยีไฟฟ้า (ต่อเนือ่ ง)

2

3. วิเคราะห์บรบิ ทสถานศึกษา
จุดเด่น วิทยาลัยเทคนิคสระแก้ว ได้รับรางวัลเป็นสถานศึกษารางวัลพระราชทาน

ประจ้าปีการศึกษา 2560 เป็นสถานศึกษาท่ีได้รับความไว้วางใจจากผู้ปกครองในการส่งบุตรหลายเข้ามา
ศึกษา และมีจ้านวนนักเรียนนักศึกษาจ้านวนสามพันกว่าคน การท้างานของบุคลากรในสถานศึกษาเป็นการ
ท้างานท่ีร่วมมือร่วมใจกันทุกฝ่าย โดยทังเสียสละยินดีท่ีจะปฏิบัติงานและรับผิดชอบงาน โดยอาศัยกันด้วย
ไมตรี การมนี ้าใจ โดยผบู้ ริหารมกี ารให้แรงจูงใจสนบั สนุนการทา้ งานให้อยใู่ นระเบียบเป็นอยา่ งดี

จุดด้อย เน่ืองจากสถานศึกษา ตังอยู่ในอ้าเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว ความเข้าใจของ
สังคม ท่ัวไปยังไม่ให้ความส้าคัญต่อการเป็นวิทยาลัยเทคนิคสระแก้วประจ้าจังหวัดสระแก้ว ซึ่งจ้าเป็นต้อง
รว่ มงาน ในระดับจังหวดั และอ้าเภอท่ีซ้าซ้อนไดร้ ับงบประมาณตามจ้านวนนักเรียน-นักศึกษา ไม่มีงบประมาณ
สนับสนุนในการพัฒนาสถานศึกษา โดยรวมอีกทังถนนสายหลักท่ีผ่านหน้าวิทยาลัยฯ ไม่มีรถโดยสารประจ้า
ทางผ่าน เปน็ อปุ สรรคในการเดนิ ทางมาเรยี นของนักเรียนนกั ศกึ ษา

(1) กลยทุ ธ์ในการขบั เคลือ่ น Future Skill ของสถานศกึ ษา
วิทยาลัยเทคนิคสระแก้วได้ให้ความส้าคัญในการพัฒนาทักษะด้านความรู้ ด้านฝีมือแก่

นักเรียนนักศึกษา พร้อมทังสนับสนุนส่งเสริมในการพัฒนาคิดค้นส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรม สนับสนุนการเข้า
ร่วมการแข่งขันทักษะด้านต่างๆ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนา
วชิ าชีพ จนได้รับรางวลั มากมาย วิทยาลัยเทคนิคสระแก้ว มีความพร้อมในการจัดตังศูนย์พัฒนาความเป็นเลิศ
ทางอาชีวศึกษา (Excellence Center) เพื่อผลิตและพัฒนาก้าลังคนให้มีทักษะและความเช่ียวชาญเฉพาะทาง
ในสาขาวิชาช่างก่อสร้าง และเป็น 1 ใน 25 สถานศึกษาน้าร่อง ที่ได้รับการประกาศจากส้านักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษาให้เปน็ ศนู ยบ์ ริหารเครือข่ายการผลิตและพฒั นากา้ ลังคนอาชวี ศกึ ษา (Center of
Vocational Manpower Networking Management : CVM) วทิ ยาลัยเทคนิคสระบุรี จึงได้มีการขับเคลื่อน
นโยบายตา่ งๆ เพ่ือให้เปน็ แนวทางในการด้าเนนิ งานใหบ้ รรลตุ ามวัตถุประสงค์ ดงั นี

การวางแผน (Plan : P) วิทยาลัยเทคนิคสระแก้ว ก้าหนดกรอบกลยุ ทธ์ใน
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน สร้างผู้เรียนให้มีคุณภาพมาตรฐาน ยกระดับทักษะฝีมืออาชีพ พร้อมทัง
ร่วมประชุมวางแผนการด้าเนินงานในโครงการต่างๆ ท่ีจะสนับสนุนการขับเคล่ือนสถานศึกษาให้นักเรียน
นกั ศึกษาไดร้ บั ทกั ษะวิชาชีพทดี่ มี มี าตรฐาน ใหเ้ ป็นไปตามแผนงานของสถานศึกษา

การดาเนินงาน (Do : D) เจ้าของโครงการด้าเนินการจัดโครงการต่างๆ ตามแผนงาน
ของสถานศึกษา ให้ตรงตามวัตถุประสงค์ท่ีได้ก้าหนดแตล่ ะโครงการ และให้เกิดประโยชน์สูงสุดในทางราชการ
โดยได้รับการก้ากับติดตามดแู ลจากผบู้ รหิ ารของแต่ละฝา่ ยที่รบั ผดิ ชอบ

การตรวจสอบ (Check : C) การด้าเนินโครงการทุกโครงการ จะต้องมีการจัดท้าแบบ
ประเมินระดับความพึงพอใจโดยใช้แบบสอบถาม เพื่อตรวจสอบและให้ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคในการ
ด้าเนนิ งาน ให้สรปุ ผลการดา้ เนินโครงการทกุ ครงั

การปรับปรุงแก้ไข (Action : A) เมื่อได้ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ก็จะน้าไป
แกไ้ ขปรบั ปรงุ เพื่อให้การจดั โครงการในครังต่อไปมปี ระสิทธิภาพมากทีส่ ดุ

สรุป จากการได้ศึกษากลยุทธ์ในการขับเคลื่อน Future Skill ของสถานศึกษา ได้พบว่า
ผู้บริหารของสถานศึกษาได้เล็งเห็นถึงความส้าคัญกับการส่งเสริมและพัฒนาการคิดค้นส่ิงประดิษฐ์และ
นวัตกรรม เพ่ือส่งเสริมให้ครูผู้เรียนคิดค้นสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมท่ีมีประโยชน์ การพัฒนาการจัดการเรียน
การสอนและการพฒั นาวชิ าชพี

3

(2) การสร้างความเข้มแข็งของระบบความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการ
วิทยาลัยเทคนคิ สระแก้ว จัดการเรยี นการสอนเน้นผ้เู รียนใหม้ ีความรู้ความสามารถในเชิง

ปฏิบตั ิงานไดใ้ นสายวิชาชพี ทังนี ต้องได้รับความร่วมมอื จากบคุ คล ชุมชน ท้องถิ่น และองคก์ รต่างๆ ทงั ในและ
ต่างประเทศ ในการให้โอกาสทางการศึกษาให้ได้มีทักษะ สมรรถนะด้านวิชาชีพให้ตอบสนองตรงตาม
ความต้องการของตลาดแรงงาน

การวางแผน (Plan : P) การจัดการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคสระแก้ว ได้มีการ
วางแผนในการจัดโครงการและการวางแผนการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทังภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา ทังในประเทศและต่างประเทศ ในด้านภูมิปัญญาท้องถ่ิน ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ
สถานประกอบการ งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ เพ่ือระดมทรัพยากรในการจัดการทาง
อาชวี ศกึ ษาอย่างมคี ณุ ภาพ

การดาเนินงาน (Do : D) ด้าเนินการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้เป็นไปตามแผนงานท่ีวางไว้
ทังการท้าบันทึกข้อตกลงร่วมกับสถานประกอบการ (MOU), ส่งนักศึกษาออกฝึกประสบการณ์, การศึกษาดู
งานในสถานประกอบการ โดยมสี ถานประกอบการทร่ี ่วมจัดการอาชีศึกษาทังในและตา่ งประเทศ

การตรวจสอบ (Check : C) จัดให้มีการนิเทศการฝึกประสบการณ์ของนักเรียน
นักศึกษาให้เป็นไปตามหลักสูตร กฎระเบียบ และประเมินผลการฝึกประสบการณ์ตามหลักสูตร และเพื่อให้
ทราบถึงปญั หาและอุปสรรคท่ีเกิดขนึ ในการฝึกประสบการณข์ องนกั เรียนนกั ศึกษา พรอ้ มสรปุ รูปเล่ม

การปรับปรุงแก้ไข (Action : A) จากการรวบรวมสรุปผลการจัดกิจกรรมต่างๆ
เสนอตอ่ ผ้บู รหิ าร เพอื่ น้ามาเปน็ แนวทางในการแกไ้ ขปรบั ปรุงในครังถัดไป

สรุป จากการศึกษาการสร้างความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ผู้บริหารได้ให้ความส้าคัญในการขอความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานท่ีมีมาตรฐาน เพ่ือเป็น
การส่งเสริมและท้าให้นักเรียนนักศึกษาได้รับการฝึกพัฒนาทักษะท่ีตรงตามมาตรฐาน และตอบสนองความ
ตอ้ งการของตลาดแรงงาน

(3) ระบบการบรหิ ารจดั การ สคู่ ุณภาพ
การวางแผน (Plan : P) ก้าหนดกลยทุ ธ์และแผนงานโครงการต่างๆ เพ่อื สง่ เสริม พฒั นา

ครูและบุคลากรในสถานศกึ ษา
การส่งเสริม พัฒนา ครูและบุคลากรในสถานศึกษาเพอื่ ความเป็นเลิศมั่นคง และก้าวหน้า

ในวชิ าชีพ
กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี

ประสทิ ธภิ าพ
- โครงการจดั หาบคุ ลากรสนบั สนุน เพื่อคืนครใู ห้นักเรียน

กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาครูและบุคลากรให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มุ่งสู่ความเป็นครูมือ
อาชีพ

- โครงการเชดิ ชูเกียรติครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริม สนับสนุน ก้ากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียนการสอนรายวิชาให้ถูกต้อง
ครบถ้วน สมบูรณ์

- โครงการผลติ พฒั นาเสรมิ สร้างคณุ ภาพชวี ิตครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

4

กลยุทธท์ ี่ 4 ส่งเสรมิ สนับสนุน ให้ครูและบคุ ลากรให้ได้รบั การพัฒนาทังดา้ นวิชาการและ
วิชาชีพ

- โครงการส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้เข้ารับการ
อบรมและพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง

การดาเนนิ งาน (Do : D) ด้าเนนิ การตามแผนงานโครงการต่างๆ
การตรวจสอบ (Check : C) ก้ากับติดตามผลการด้าเนินงาน โดยการใช้แบบประเมิน
ระดบั ความพึงพอใจโดยใช้แบบสอบถาม เพือ่ ตรวจสอบและใหท้ ราบถึงปญั หาและอปุ สรรคในการด้าเนินงาน
ให้สรปุ ผลการด้าเนนิ โครงการทุกครัง
การปรับปรุงแก้ไข (Action : A) เม่ือได้ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ก็จะน้าไป
แก้ไขปรับปรงุ เพอื่ ใหก้ ารจัดโครงการในครงั ตอ่ ไปมปี ระสิทธภิ าพมากทีส่ ุด
สรุป จากการศึกษาระบบการบริหารจัดการสู่คุณภาพ ผู้บริหารได้ใส่ใจในการพัฒนาครู
และบุคลากร เพื่อเตรียมบคุ ลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบตั ิงานให้เกิดผลดี พร้อมทังท่ีจะปรับตัว
ได้เท่าทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลก เพื่อให้ครูสามารถจัดกิจกรรมและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพและเปน็ ประโยชนต์ อ่ สถานศกึ ษา

(4) การขบั เคลอ่ื นระบบทางวชิ าการ
วิทยาลัยเทคนิคสระแก้ว มีการขยายโอกาสทางการศึกษาสายอาชีพอย่างท่ัวถึงและ

ต่อเนื่องมีการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษาเพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ตามหลักสูตร
มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษาตามระเบียบ หรือข้อบังคับเก่ียวกับการจัดการศึกษาและ
การประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร โดยวทิ ยาลัยเทคนิคสระแก้ว มีการจัดการเรียนการสอนในระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง (ปวส.) และหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
(ระดับปริญญาตรี) โดยวิทยาลัยได้มีการก้าหนดกลยุทธ์และเป้าประสงค์การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการจัด
การศกึ ษาของสถานศกึ ษาสูก่ ารปฏบิ ตั ิ

การวางแผน (Plan : P) ได้มีการจัดประชุมผู้บริหาร เพ่ือวางแผนการจัดการเรียน
การสอนร่วมกับหัวหน้างานในฝ่ายวิชาการและหัวหน้าสาขาวิชา ในการวางแผนก้ากับติดตามการจัดการเรียน
การสอนให้บรรลุตามเป้าหมายของแนวการจัดหลักสูตร ก้าหนดแผนงานฝ่ายวิชาการและแผนงานตาม
แผนพฒั นาของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ก้าหนดจัดท้าปฏทิ ินวิชาการประจ้าปีการศึกษา การพจิ ารณา
หนังสือเรียน แบบฝึกทักษะทุกระดับชัน ก้าหนดวันสอบ วางแผนการนิเทศภายใน วางแผนดา้ เนินการจัดสอบ
จัดท้าแบบทดสอบ วางแผนและร่วมกันพิจารณาเพื่อจัดท้างบประมาณโครงการ งานและกิจกรรมต่างๆ
ในฝา่ ยวิชาการ

การดาเนินงาน (Do : D) ด้าเนินการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามแผนการท่ีได้
ก้าหนดไว้ จัดหาหนังสือ สอื่ สิ่งพิมพ์ ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ เอกสารทางวิชาการเพื่อเสริมสร้างความรู้ให้แก่นักเรยี น
นกั ศึกษาผู้บรหิ ารคอยก้ากบั ติดตามการด้าเนนิ การจัดการเรยี นการสอนใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

การตรวจสอบ (Check : C) ฝ่ายวิชาการจัดให้มีการนิเทศครูผู้สอน ให้เป็นไปตาม
แผนงานท่ีก้าหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทังสรุปผลการนิเทศภายในเพ่ือรับฟังความคิดเห็น
ผลการปฏบิ ตั ิงานร่วมกบั หัวหนา้ สาขาวิชา

การปรับปรุงแก้ไข (Action : A) รับฟังความคิดเห็นจากหัวหน้าสาขาวิชา และร่วม
ก้าหนดเป็นแนวทางในการวางแผนการนเิ ทศในปกี ารศกึ ษาต่อไป

5

สรุป จากการได้ศึกษาการขับเคล่ือนระบบวิชาการ ผู้บริหารได้ให้ความส้าคัญเป็น
อย่างมาก เพราะฝ่ายวิชาการเปน็ หัวใจสา้ คญั ของด้านการเรียนการสอน โดยมุง่ เน้นใหก้ ารจดั การเรียนการสอน
ให้มีคุณภาพ เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุจุดหมายของการศึกษาท่ีก้าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือผลิตและ
พัฒนาก้าลังคน ด้านวิชาชีพในทุกระดับให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน สนองความต้องการของผู้ประกอบการ
ลดปญั หาการขาดแคลนบคุ ลากร

6

รายงานการฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา
การวเิ คราะหบ์ ริบทของสถานศกึ ษา (SWOT Analysis)
-------------------------------------------------------------------
วิทยาลัยเทคนคิ วงั น้าเย็น จงั หวดั สระแก้ว (แห่งที่ 2)

ระหว่างวันท่ี 2 – 6 พฤษภาคม 2565

ช่อื – สกลุ นายอภชิ ัย คล้าปลอด กลุม่ 4 เลขท่ี 10 สาย .

1. ขอ้ มลู พนื ฐานสถานศกึ ษา
วทิ ยาลัยเทคนิควังน้าเย็น ที่ตัง เลขที่ 104 หมู่ที่ 13 ถนนสระแก้ว-จันทบุรี ตา้ บลวังน้าเย็น

อ้าเภอวังน้าเย็น จังหวัดสระแก้ว 27210 โทรศัพท์ 037-252-066 โทรสาร 037-252-066
เว็บไซต์ www.wangcc.ac.th E-mail [email protected] เนือที่ของสถานศึกษา 67 ไร่ 2 งาน
22.57 ตาราวา สปี ระจา้ สถานศึกษา เหลือง-มว่ ง

ปรัชญา เป็นเลศิ วิชาการ บรหิ ารเป็นระบบ ครบมาตรฐาน ประสานชุมชน เปี่ยมล้นคุณธรรม
น้อมน้าหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

วิสัยทศั น์ วทิ ยาลยั เทคนคิ วงั นา้ เย็นเปน็ แหล่งเรียนรดู้ ้านวชิ าชีพและวิชาการของชมุ ชน
พันธกิจ 1) มงุ่ สร้าง ผลติ ก้าลงั คนอาชวี ศึกษา ใหต้ อบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน

2) พัฒนาปริมาณและคุณภาพครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาด้าน
อาชวี ศกึ ษา

3) พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแหลง่ เรยี นรู้ใหม่
4) การพัฒนาคณุ ภาพบริหารจัดการใหม่
5) ส่งเสริมและสนับสนุนท้านบุ ้ารุง ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี แลเทิดทูลสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
อตั ลักษณ์ ผเู้ รยี นมที กั ษะด้านวิชาชีพและจติ อาสาเพอ่ื สงั คม
เอกลกั ษณ์ วทิ ยาลัยเทคนิควงั น้าเยน็ เป็นตลาดการเรียนร้ดู ้านวชิ าชพี
2. ข้อมูลค่านยิ ม วิทยาลยั เทคนิควงั นา้ เย็น มีการจดั การเรียนการสอน ดงั นี
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชา อุตสาหกรรม จ้านวน 4 สาขาวิชา,
พาณชิ ยกรรม จ้านวน 4 สาขาวิชา และเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) (หลักสูตรทวิภาคี) ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
จ้านวน 1 สาขาวิชา และพาณิชยกรรม จา้ นวน 1 สาขาวชิ า
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชันสูง (ปวส.) ประเภทวิชา อุตสาหกรรม จ้านวน 2 สาขาวิชา,
พาณิชยกรรม จ้านวน 3 สาขาวชิ า และเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง (ปวส.) (หลักสูตรทวิภาคี) ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
จ้านวน 3 สาขาวชิ า, พาณชิ ยกรรม จา้ นวน 4 สาขาวิชา และเทคโนโลยสี ารสนเทศ

7

3. วิเคราะห์บรบิ ทสถานศกึ ษา
จุดเด่น กระทรวงศึกษาธิการ เห็นควรให้สถานศึกษาในสังกัดส้านักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา เปลี่ยนช่ือสถานศึกษาจัดการเรียน การสอน ตามความเชี่ยวชาญและบทบาทภารกิจของ
สถานศึกษา เพื่อให้สามารถจัดการอาชีวศึกษาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ เน้นการพฒั นาในด้านทักษะฝีมือเพื่อให้
ตอบสนองต่อนโยบาลรัฐบาลกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้เปลี่ยนช่ือจาก วิทยาลัยการอาชีพวังน้าเย็น เป็น
วิทยาลัยเทคนิควังน้าเย็น เน่ืองจากมีจ้านวนนักเรียนนักศึกษาที่เพ่ิมขึน เกิดจากการร่วมแรงร่วมใจของครูและ
บุคลากร ในเร่ืองของการดูแลนักเรียนนักศึกษาเป็นอย่างดี จึงได้รับการยอมรับและไว้วางใจจากผู้ปกครองส่ง
นกั เรยี นนกั ศกึ ษาเขา้ มาศกึ ษาในสถานศกึ ษา

จุดด้อย พบว่าบุคลากรภายในสถานศึกษา ส่วนใหญ่เป็นครูพิเศษสอนและลูกจ้างช่ัวคราว
จะประสบปัญหาตรงที่วา่ เมื่อลูกจ้างเหล่านีสอบติดหรอื มีงานที่ดี ตา้ แหนง่ เหลา่ นีก็จะวา่ งลง กลายเป็นการสอน
และการด้าเนินงานต่างๆ จะไม่ต่อเนื่อง

(1) กลยทุ ธใ์ นการขบั เคล่ือน Future Skill ของสถานศกึ ษา
วิทยาลัยเทคนิควังน้าเย็น มีจุดเน้นในการพัฒนาของสถานศึกษา มีการส่งเสริมการ

จัดท้างานวิจัย โครงงาน นวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ์ โดยสามารถน้ามาประยุกต์ใช้ในท้องถิ่นและใน
ชีวิตประจ้าวันได้ มีความพร้อมในการจัดศูนย์พัฒนาความเป็นเลิศทางอาชีวศึกษา (Excellence Center)
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล เพื่อผลิตและพัฒนาก้าลังคนให้มีทักษะและความ
เชี่ยวชาญเฉพาะทางในสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของ
ประเทศตามนโยบายประเทศไทย 4.0 เพอ่ื ใหก้ ารด้าเนนิ งานบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ วทิ ยาลัยเทคนิควงั น้าเย็น
ไดม้ ีกระบวนการขับเคล่ือน ดังนี

การวางแผน (Plan : P) ผู้อ้านวยการพร้อมด้วยรองทัง 4 ฝ่าย ร่วมประชุมก้าหนด
แผนงานและมอบหมายนโยบายในการด้าเนินการจัดกิจกรรมโครงการต่างๆ ตามความเหมาะสม ทังนีเพื่อให้
สถานศึกษาสามารถด้าเนินงานตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมายได้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ
โครงการต่อไป

การด้าเนินงาน (Do : D) วิทยาลัยเทคนิควังน้าเย็น ได้ด้าเนินโครงการต่างๆ ตาม
แผนงานทวี่ างไว้ ให้บรรลุตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ

การตรวจสอบ (Check : C) โครงการแต่ละโครงการจะมีรองแต่ละฝ่ายก้ากับติดตาม
ดูแลและติดตามผลการด้าเนินงาน พร้อมทังจัดท้าแบบประเมินความพึงพอใจแต่ละโครงการ เพ่ือได้ทราบถึง
ปญั หาและอปุ สรรคต่างๆ พรอ้ มจัดท้าเป็นเล่มรายงานผล

การปรับปรุงแก้ไข (Action : A) การจัดโครงการในครังถัดไป ก็จะนา้ เล่มรายงานผลมาดู
ปัญหาอปุ สรรคต่างๆ ท่ีเกิดขนึ และนา้ มาวางแผนในการแก้ไขในโครงการต่อไป

สรุป จากการศึกษากลยุทธ์ในการขับเคลื่อน Future Skill ของสถานศึกษา ได้เห็นว่า
ผู้บริหารได้ให้ความส้าคัญกับการมุ่งเน้นการพัฒนาของสถานศึกษา ที่จะส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา มีความ
เปน็ เลศิ ในทางวิชาชพี

(2) การสร้างความเขม้ แขง็ ของระบบความร่วมมือกบั สถานประกอบการ
วิทยาลัยเทคนิควังน้าเย็น มีหน้าท่ีผลิตนักเรียนนักศึกษา เข้าสู่สถานประกอบการที่มี

ความพร้อมและทันสมัยของวัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือ ครุภัณฑ์ที่สนับสนุนทางดา้ นวิชาการ โดยสามารถปรบั เพิ่ม
วุฒิของบุคลากรในสถานประกอบการ และนักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัย ไดม้ ีโอกาสเข้าฝึกประสบการณ์จริง

8

ในสถานประกอบการท่ีมีมาตรฐาน เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ
วิทยาลัยเทคนิควังนา้ เยน็ มีกระบวนการขบั เคลื่อน ดังนี

การวางแผน (Plan : P) ผู้บริหารและหัวหน้างานท่ีเกี่ยวข้องร่วมประชุมวางแผนการ
ลงนามความร่วมมือกับสถานประกอบการในการส่งนักเรียนนักศึกษาเข้าฝึกประสบการณ์ พร้อมทังก้าหนด
รายละเอยี ดการพัฒนาสถานศึกษากบั สถานประกอบการ

ฝา่ ยวิชาการ
- โครงการจดั ท้าแผนการฝึกรว่ มกับสถานประกอบการ
- โครงการสมั มนาครฝู กึ ในสถานประกอบการ
- โครงการนิเทศนักเรียนนักศึกษา ฝกึ ประสบการณ์
ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมือ
- โครงการพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้กับเครือข่ายความร่วมมือทางอาชีวศึกษากับ
ชมุ ชนสถานประกอบการ
การด้าเนินงาน (Do : D) ประสานงานกับหน่วยงาน สถานประกอบการท่ีเกี่ยวข้อง
ด้าเนินงานตามแผนท่ีไดว้ างไวข้ องแต่ละฝ่าย ให้บรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
การตรวจสอบ (Check : C) จัดท้าประเมินผลโครงการต่างๆ เพื่อทราบถึงปัญหาและ
อปุ สรรค และการเข้าถึงสถานประกอบการ โดยการจัดให้มีการนิเทศนักเรียนนักศึกษาที่ออกฝึกประสบการณ์
ร่วมพูดคุยทา้ ความเขา้ ใจ แลกเปลย่ี นขอ้ คดิ เห็น ปัญหาและอุปสรรคตา่ งๆ
การปรับปรุงแก้ไข (Action : A) ผู้บริหารและครูที่เกี่ยวข้องร่วมประชุมวางแผนเพ่ือ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขปัญหาต่างๆ เพอื่ พฒั นาโครงการในครังถัดไป
สรุป จากการได้ศึกษ าการสร้างความเข้มแข็งของระบ บ ความร่วมมือกับ
สถานประกอบการ วิทยาลัยเทคนิควังนา้ เย็น ไดม้ ีการสา้ รวจความพร้อมของสถานประกอบการ ในการจัดการ
อาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าครี ่วมกบั สถานศึกษาและไดม้ ีการลงนามความรว่ มมอื (MOU) กับสถานประกอบการไป
แล้วมากกว่า 30 แห่ง ซ่ึงเป็นสถานประกอบการท่ีได้มาตรฐาน พร้อมด้าเนินกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับสถาน
ประกอบการมากมาย เพือ่ เป็นการสร้างความสัมพันธอ์ ันดีระหวา่ งสถานศึกษากบั สถานประกอบการ

(3) ระบบการบรหิ ารจัดการ สคู่ ณุ ภาพ
องค์กรที่ประกอบด้วยบุคลากรท่ีมีความหลากหลายอันมีความรู้ ความเช่ียวชาญและ

ประสบการณ์ที่แต่งต่างกันออกไปตามลักษณะของงาน ส่วนส้าคัญต่อผลส้าเร็จในการบริหารงานที่ปัจจัยท่ี
ส้าคัญส่งผลให้การบริหารงานบรรลุผลส้าเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลยิ่งขึน คือการ
ประสานงานของทีมงานหรือการท้างานเป็นทีม การท้างานเป็นทีมเป็นเงื่อนไขแห่งความส้าเร็จของการท้างาน
ท่ีได้รับมอบหมายที่ต้องการให้งานบรรลุเป้าหมายได้ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรี ยนรู้อย่าง
สม้่าเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพ่ือน้ามาประยุกต์ใช้ในการ
ปฏิบัติงานได้ อย่างถูกต้องรวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทังต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้
ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปล่ียนทัศนคติของบุคลากรในสังกัดให้มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้
รว่ มกนั ทังนเี พือ่ ประโยชน์ในการปฏบิ ตั งิ านของส่วนงานใหส้ อดคลอ้ งกับการบริหารงานใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิ์

การวางแผน (Plan : P) วิทยาลัยได้ก้าหนดแนวทางในการพัฒนา โดยก้าหนดเป็น
โครงการและกจิ กรรม สรุปได้ดงั นี

9

1. ส่งเสรมิ การจดั การเรียนการสอนด้านภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศทห่ี ลากหลาย
2. ส่งเสริมกิจกรรมประชมุ ผู้ปกครอง กิจกรรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และกิจกรรม
ด้านดนตรี กีฬาเพื่อลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียน
3. ส่งเสริมการจัดท้างานวิจัย โครงงาน นวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ์โดยสามารถน้ามา
ประยุกต์ใชใ้ นทอ้ งถ่ินและในชีวิตประจ้าวันได้
4. สง่ เสริมกิจกรรมการบริการวชิ าชีพสู่ชุมชน
5. สง่ เสริมการจดั ท้า พฒั นาสอ่ื นวตั กรรมการเรียนการสอน
6. สนับสนนุ การฝกึ อบรมพัฒนาความรทู้ างดา้ นวชิ าชพี ให้ทันตอ่ เทคโนโลยี
7. ด้าเนินการนเิ ทศการเรียนการสอนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
การด้าเนินงาน (Do : D) ทุกฝ่ายด้าเนินโครงการตามวัตถุประสงค์ของแตล่ ะฝ่าย โดยมี
รองแต่ละฝ่ายเปน็ ผูก้ า้ กบั ตดิ ตามดแู ล
การตรวจสอบ (Check : C) การติดตามผลและประเมินผล น้ามาวิเคราะห์ปัญหาและ
อุปสรรคของแต่ละฝา่ ย ดังนี – การสังเกต – การสมั ภาษณ์ – แบบสอบถามความพึงพอใจของครูและบุคลากร
พรอ้ มทงั ทา้ แบบสรุปผลการดา้ เนนิ งาน
การปรับปรุงแก้ไข (Action : A) น้าปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึน มาร่วมกันวิเคราะห์
และน้ามาแก้ไขในการจัดทา้ โครงการครังตอ่ ไป
สรุป จากการศึกษาระบบการบริหารจัดการสู่คุณภาพ ผู้บริหารได้ให้ความส้าคัญใน
การพัฒนาในทุกๆ ด้านให้มีคุณภาพ จนได้รับความไว้วางใจจากผู้ปกครองส่งนักเรียนนักศึกษา เข้ามาศึกษา
ในสถานศึกษา ท้าให้วิทยาลัยแห่งนีได้รับการเปล่ียนชื่อจากวิทยาลัยการอาชีพวังน้าเย็น เป็นวิทยาลัยเทคนิค
วงั น้าเยน็

(4) การขับเคล่อื นระบบทางวิชาการ
การจัดการเรียนการสอนโดยเนน้ ให้ผูเ้ รียนมีโอกาสเรยี นรู้ตลอดชีวิต ตามความถนัด ตาม

ความสนใจและได้รับการบริการด้านการศึกษาจากรัฐอย่างมีคุณภาพ การจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยให้จัด
เนือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยค้านึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชญิ สถานการณ์ และการประยุกตค์ วามรู้มาใชเ้ พ่ือ
ป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ท้าได้ คิดเป็น
ท้าเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ อย่างได้
สัดส่วนสมดุลกัน รวมทังปลูกฝัง คุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะอังพึงประสงค์ไว้ในทุกรายวิชา
ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและสิ่งอ้านวยความสะดวก
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทังสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้
ทังนีผู้สอนและ ผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึนได้ทุกเวลา ทุกสถานที่และประสานความร่วมมือกับบุคลากรในชุมชนทุกฝ่ายเพ่ือ
รว่ มกันพัฒนา ผ้เู รียนตามศักยภาพต่อไป

การวางแผน (Plan : P) ฝ่ายวิชาการ แบ่งออกเป็นงานในฝ่ายและสาขาวิชามีการ
ก้าหนดกรอบการดา้ เนินงาน โดยมผี ูบ้ ริหารเป็นท่ปี รกึ ษา

- วางแผนการพฒั นาครดู า้ นการจัดการเรยี นการสอน
- วางแผนพฒั นาหลักสูตรของสถานศกึ ษา
- วางแผนการนิเทศครูผสู้ อน

10

- วางแผนการสอน, การทดสอบทางการศกึ ษา (V-Net), มาตรฐานวิชาชีพ
การด้าเนินงาน (Do : D) ครูผู้สอนปฏิบัตหิ น้าท่ีการสอนตามแผนการสอนที่ไดว้ างไว้ มี
การหาส่ือในการช่วยการจดั การเรียนการสอน จดั ท้ากจิ กรรมตา่ งๆ ตามกรอบระยะเวลา
การตรวจสอบ (Check : C) - จัดให้มีการนิเทศครูผู้สอน เพ่ือเป็นการพัฒนาคุณภาพ
และประสิทธิภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู เป็นการแนะน้าช่วยเหลือระหวา่ งผู้นิเทศกับผูร้ ับการนิเทศ
ทา้ ใหค้ รูพัฒนาความสามารถและพฤตกิ รรมการสอนอนั จะสง่ ผลถึงคณุ ภาพการศึกษาทด่ี ี
- จัดให้มีการประเมินครูผู้สอนโดยนักเรียนนักศึกษา เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้เทียบ
กับจดุ ประสงคห์ รือผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั
การปรับปรุงแก้ไข (Action : A) - จากกระบวนการการนิเทศครูผู้สอน น้าแนวทาง
คา้ แนะน้ามาปรบั ปรุง พัฒนาคุณภาพและความรู้ในการสอน
- จากผลการประเมินครูผู้สอน โดยอาจน้าผลมาปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนวิธีการสอน
ปรบั เปล่ียนวิธีการใช้สื่อการสอน การใชน้ วัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เพ่ือน้าไปสู่การพัฒนาการจดั การเรียนรู้ ท่ี
มีประสิทธิภาพ
สรปุ จากการศึกษาการขบั เคล่ือนระบบทางวชิ าการ วทิ ยาลยั เทคนคิ วังน้าเย็น ไดเ้ ลง็ เห็น
ความส้าคัญของการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน ให้ครูจัดท้าแผนการ
จัดการเรียนรู้รายวชิ าด้วยเทคนิคการสอนที่หลากหลาย ท่ีมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และการบูรณาการคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ครูผู้สอนสามารถน้าความรู้ท่ีได้รับไปพัฒนากระบวนการ
เรยี นรู้ กา้ วไปสู่การเปน็ ครมู ืออาชพี

ภาพประกอบการฝกึ ประสบการณ์

วทิ ยาลยั เทคนคิ สระแก้ว

วทิ ยาลยั เทคนคิ สระแก้ว

วิทยาลัยเทคนิควังน้าเย็น

วิทยาลัยเทคนิควังน้าเย็น


Click to View FlipBook Version