“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ก
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
คำนำ
เอกสารเล่มนี้ จัดทำข้ึนเพอื่ เสนอขอรับรางวัล นวตั กรรมสร้างสรรค์คนดี ตามโครงการโรงเรียน
คุณธรรม สพฐ. โดยไดน้ ำเสนอ แนวคดิ หลกั การสำคัญทีเ่ ก่ียวข้องกับผลงานหรือนวตั กรรม สามารถอ้างอิง
แนวคดิ หลกั การทฤษฎี รูปแบบ วิธีการ ทนี่ ำมาใชใ้ นการออกแบบผลงานหรือนวัตกรรม ขนั้ ตอนกระบวนการ
ในการดำเนนิ การตามโครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
ผจู้ ัดทำขอขอบพระคณุ ทา่ นผู้อำนวยการโรงเรยี นชมุ ชนบ้านป่าแดง ที่กรุณาช้ีแนะแนวทางและช่วย
ใหค้ ำปรกึ ษาในการพฒั นานวัตกรรม รวมถึงคณะครู ทใ่ี ห้ความชว่ ยเหลอื ในการจัดทำนวัตกรรมในครั้งนี้ จน
ประสบผลสำเรจ็ หวังอยา่ งย่ิงว่าเอกสารเล่มน้ี คงเปน็ ประโยชน์แกท่ ่านผอู้ ่านหรือได้ศึกษา หากพบข้อบกพร่อง
ส่วนใดในเอกสารเลม่ น้ี ผู้จดั ทำขอน้อมรับและจะนำไปปรับปรงุ พฒั นาใหเ้ รยี บร้อยสมบูรณต์ อ่ ไป
นางสาวอลั ดา กุลาสา
ผจู้ ัดทำ
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ข
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
สารบัญ
เนอ้ื หา
ขอ้ มูลทั่วไป ....................................................................................................................................................๑
๑. ความสำคญั ของผลงานนวัตกรรม............................................................................................................๒
๑.๑ เหตุผลทเ่ี กิดแรงบันดาลใจ ความจำเปน็ ปญั หาหรือความต้องการทจี่ ะทำผลงาน / นวตั กรรม............๒
๑.๒ แนวคดิ หลกั การสำคัญที่เกีย่ วขอ้ งกบั ผลงานหรือนวัตกรรม สามารถอ้างอิงแนวคิด หลกั การทฤษฎี
รูปแบบ วธิ ีการ ฯลฯ ท่ีนำมาใช้ในการออกแบบผลงานหรือนวตั กรรม.........................................................๓
๒. จุดประสงค์และเปา้ หมายของผลงานนวัตกรรม .....................................................................................๔
๒.๑ จดุ ประสงคข์ องผลงาน/นวัตกรรม.......................................................................................................๔
๒.๒ เป้าหมาย ............................................................................................................................................๔
๓. กระบวนการผลติ ชนิ้ งานหรอื ขนั้ ตอนการดำเนินงาน..............................................................................๕
กระบวนการออกแบบผลงาน ...................................................................................................................... ๕
๔. ผลการดำเนนิ การ ผลสัมฤทธิ์ และประโยชน์ท่ไี ดร้ บั ..............................................................................๗
๕. ปัจจยั ความสำเรจ็ .....................................................................................................................................๘
๖. บทเรยี นทไ่ี ด้รับ .........................................................................................................................................๙
รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ PIES Model................................................................................................๙
๗. การเผยแพร่ / การได้รบั การยอมรับ / รางวัลทไี่ ดร้ บั ........................................................................... ๑๐
๘. เงอ่ื นไขความสำเร็จ ............................................................................................................................... ๑๓
ภาคผนวก ก. แผนการจดั การเรียนรู้........................................................................................................ ๑๔
ภาคผนวก ข. ภาพถา่ ย ............................................................................................................................ ๒๖
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
นวตั กรรมสร้างสรรคค์ นดี
ข้อมูลทั่วไป
ชือ่ ผลงาน วิถีธรรม นำความรู้ สคู่ วามยั่งยืน โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบ PIES MODEL
สอดคล้องกับคุณลักษณะ
ความพอเพียง
ความกตัญญู
ความซือ่ สตั ย์ สจุ ริต
ความรบั ผดิ ชอบ
อุดมการณ์คุณธรรม
คุณธรรมอตั ลักษณ์ (โปรดระบุ) ......................................................................................
ชอื่ เจ้าของผลงาน นางสาวอัลดา กุลาสา
โรงเรยี น/หนว่ ยงาน โรงเรียนชมุ ชนบ้านป่าแดง
สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต ๒
โทรศัพท์ ๐๙๔-๒๗๔๕๑๗๑ E – mail [email protected]
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๒
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
นวัตกรรมสรา้ งสรรค์คนดี (โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.)
วิถธี รรม นำความรู้ สู่ความย่ังยืน โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ PIES MODEL
๑. ความสำคัญของผลงานนวตั กรรม
๑.๑ เหตุผลทเี่ กดิ แรงบนั ดาลใจ ความจำเปน็ ปัญหาหรอื ความต้องการทีจ่ ะทำผลงาน /
นวัตกรรม
การจดั การเรียนการสอนในศตวรรษท่ี ๒๑ เน้นใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนรดู้ ้วยตนเอง ซึง่ สภาพการเรียนการ
สอนในหอ้ งเรยี นปัจจบุ นั น้ัน ครผู ู้สอนมกั พบปัญหาเก่ียวกับนักเรยี นที่มีความแตกต่างกันในด้านการเรยี นรู้ซึ่ง
แบ่งได้เปน็ ๒ กรณี คือ กรณีท่ีนักเรียนมีความกระตือรือร้นสูงมาก และอีกกรณีหนง่ึ คือนกั เรียนมีความ
กระตือรอื รน้ ต่ำหรือไม่มีความกระตือรือร้นเลยปัญหาของนักเรียนทงั้ ๒ กรณี ลว้ นสง่ ผลกระทบท่ีสำคัญต่อการ
เรยี นรู้ เพราะนักเรยี นทม่ี ีความกระตือรือรน้ สูงมากอาจทำให้เกดิ ความวิตกกังวลจนกลายเปน็ ความเครยี ด แต่
หากมคี วามกระตอื รือร้นต่ำก็จะทำให้นักเรียนขาดแรงจูงใจในการเรยี นรู้ ดงั นน้ั จึงเป็นหน้าท่ีสำคัญของ
ครูผู้สอนที่จะช่วยสรา้ งแรงจงู ใจในการเรยี นรู้ให้เกดิ ข้ึนในตัวนักเรียน เพราะจะเป็นตัวกระตนุ้ ให้นักเรียนเกดิ
ความต้องการทีจ่ ะเรยี นรู้ เพ่ือใหป้ ระสบผลสำเรจ็ และบรรลุเปา้ หมายท่ีไดต้ ัง้ ไว้ กล่าวได้วา่ นักเรียนทีม่ ี
แรงจงู ใจในการเรยี นรู้สูงจะมีโอกาสไดร้ ับผลลัพธ์ทางการเรียนในระดับดีขึน้ เชน่ กนั
การสรา้ งเสรมิ แรงจงู ใจในการเรียนนบั เปน็ เรื่องที่ต้องมคี วามสมั พันธเ์ ช่อื มโยงกับองค์ประกอบตา่ งๆ
ทงั้ ในดา้ นบรรยากาศการเรียน บุคลกิ ภาพและวิธกี ารสอนของครู เนือ้ หาสาระของบทเรียน รวมไปถึงความ
สนใจของตัวนักเรียนเอง กลวิธใี นการสร้างแรงจงู ใจในการเรียนว่าจะตอ้ งสร้างเจตคติทดี่ ีและทำใหน้ ักเรยี นเห็น
ความสำคัญของบทเรียน โดยวิธกี ารสอนจะต้องมีลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กับสถานการณใ์ นชวี ิตจรงิ อกี ท้ังครผู สู้ อน
จะตอ้ งอธิบายให้นักเรยี นเห็นความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงทีเ่ รยี นกบั สภาพความเป็นจริงในสังคม เพื่อใหผ้ ู้เรยี น
สนใจ ไม่รู้สกึ เบ่ือหนา่ ย ท้ังยังปลูกฝังความรทู้ ่ีได้ใหย้ ่งั ยนื อกี ดว้ ย
หลกั สตู รทุจรติ ศกึ ษา เปน็ หลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน (รายวิชาเพ่ิมเติม การป้องกันการทจุ ริต)
จดั ทำขนึ้ เพ่อื ให้สถานศึกษานำไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน เพม่ิ เติมจากหลักสูตรปกติ เพ่ือปลูกฝงั การเปน็
พลเมืองที่ซื่อสตั ยส์ ุจรติ ให้กับเยาวชน นำไปสู่เป้าหมายการลดปัญหาทจุ ริตคอรร์ ัปชนั ของประเทศท่ีออกแบบ
ขึน้ เพอื่ ให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรแู้ ละปลกู ฝงั ให้ผเู้ รยี นได้เรียนรทู้ ้งั หมด ๔ หนว่ ยการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ๑.) การคดิ
แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒.) ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ
๓.) STORNG : จิตพอเพียงต้านทจุ รติ ๔.) พลเมอื งกับ ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม โดยเริ่มปลูกฝงั ผเู้ รยี นตั้งแต่
ชั้นปฐมวยั จนถึงชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ซึ่งนักเรียนมีความรูส้ ึกว่า การทุจรติ เป็นเร่ืองท่ีไกลตัว และไมเ่ ก่ยี วข้อง
กับชวี ติ ประจำวนั จึงทำใหเ้ กิดความเบอ่ื หนา่ ย และ เพิกเฉยต่อการทุจรติ แต่ในความเป็นจรงิ เรอื่ งของการ
ทจุ รติ นั้นมีอยู่ในชวี ติ ประจำวนั ของนักเรยี น เพียงแต่ไมไ่ ด้รับการทำความเขา้ ใจท่ีถูกตอ้ งว่าส่ิงใดคือการทจุ รติ
สง่ิ ใดคือการปฏบิ ตั โิ ดยปกติ
สรุปได้ว่า การนำเนอ้ื หาตามหลักสตู รทจุ ริตศึกษามาสอนในช้ันเรยี น เป็นการพฒั นาคุณธรรม
จรยิ ธรรมนกั เรียนไปพร้อมกบั การพฒั นาความรู้ เพื่อให้เกดิ ความยัง่ ยืน จงึ ควรมีการออกแบบกิจกรรมการ
เรียนร้ใู ห้ผ้เู รียนไม่รสู้ ึกเบ่ือหน่าย และได้เหน็ ความสำคญั ของการมีคุณธรรม จรยิ ธรรมอกี ด้วย
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๓
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๑.๒ แนวคิด หลกั การสำคญั ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ผลงานหรอื นวัตกรรม สามารถอ้างอิงแนวคิด หลักการ
ทฤษฎี รปู แบบ วธิ ีการ ฯลฯ ที่นำมาใชใ้ นการออกแบบผลงานหรือนวัตกรรม
จากความสำคัญขา้ งต้น ได้มกี ารศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง เพื่อพัฒนานวตั กรรมที่ช่วย
เสริมสรา้ งแรงจูงใจในการเรียนรู้ ควบคกู่ ับการพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน
กระบวนการจดั การเรยี นรู้ PIES Model มกี ารพฒั นาโดยใช้กระบวนการ Professional Learning
Community (PLC) ของครูผู้สอน ๓ วิชาหลกั ไดแ้ ก่ วิชาภาษาไทย วิชาภาษาองั กฤษ วชิ าคณติ ศาสตร์ เพื่อ
รว่ มกันแกป้ ัญหาคะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ผลการทดสอบระดับชาติ ตำ่ กว่าระดับประเทศ โดยมนี ำ
ทฤษฎีระบบกำหนดเป้าหมายการพัฒนาคณุ ภาพ ท่สี อดคล้องกับสภาพปญั หา และไดร้ ว่ มกันนำเสนอแนวคดิ
ทฤษฎี ท่ีจะนำมาใชใ้ นการพัฒนานวัตกรรมสกู่ ารปฏิบตั ิจริง ซ่ึงได้มีการกำหนดรูปแบบการแกไ้ ขปญั หา คือ
พัฒนานวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นใหผ้ เู้ รียนได้เกดิ ความรู้ทย่ี ัง่ ยืน และสามารถสร้างองค์ความรดู้ ้วย
ตนเองได้
การจดั ศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ควรจัดใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนรู้และพฒั นาตนเองอย่าง
ตอ่ เน่อื ง มิใช่การจดจำเน้ือหาวิชา เนน้ การเรยี นรทู้ เ่ี กดิ จากความต้องการของผเู้ รยี นอย่างแท้จรงิ และลงมือ
ปฏบิ ัติเพ่อื ให้เกิดประสบการณ์ตรงและต่อยอดความรู้น้นั ได้ด้วยตนเอง ผู้สอนต้องสามารถสร้างและออกแบบ
สภาพแวดล้อมในการเรยี นรู้ที่มีบรรยากาศเก้ือหนุนและเอื้อต่อการเรยี นรู้อยา่ งมีเปา้ หมาย การเช่ือมโยงความรู้
หรอื แลกเปลยี่ นความร้กู ับชมุ ชนและสังคมโดยรวม จดั การเรยี นรผู้ า่ นบริบทความเป็นจริง และการสร้างโอกาส
ให้ผู้เรยี นได้เข้าถึงสอ่ื เทคโนโลยี เครอื่ งมือ และแหล่งเรียนรู้ที่มีคณุ ภาพ
เพ่อื ให้เกดิ กระบวนการจัดการเรียนรู้ทส่ี ามารถสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามหลกั สูตรตา้ นทุจริต
ศึกษาของนักเรยี นโรงเรียนชมุ ชนบา้ นป่าแดง ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ได้มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรใู้ นการพฒั นาการ
จัดการเรียนการสอนระหว่างครผู ู้สอน (PLC) และได้ศึกษาเอกสาร งานวจิ ัยท่ีเกยี่ วข้อง และทฤษฎที างการ
ศกึ ษาที่พัฒนาผเู้ รียนให้สอดคล้องกบั คณุ ลักษณะของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ดงั น้ี
๑. ทักษะที่จำเปน็ ในการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี ๒๑
๒. ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิซมึ
๓. หลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา
ทกั ษะทจี่ ำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ทฤษฎคี อนสตรัคติวซิ ึม หลักสูตรต้านทุจรติ ศึกษา
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๔
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๒. จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมายของผลงานนวัตกรรม
ข้อมลู ยอ้ นกลบั (Feedback)
ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลติ ผลลพั ธ์
(Input) (Process) (Output) (Outcome
1. นกั เรยี น การจัดการเรยี นรู้ 1. นักเรียนมคี ุณลักษณะอนั พงึ )
2. ครู รายวชิ าปอ้ งกันการ ประสงค์ตามโครงการคณุ ธรรม
3. รูปแบบการสอน ทจุ ริต โดยใช้ 2. ครมู รี ปู แบบการสอนที่นำมาใช้ นกั เรยี นโรงเรียนชมุ ชน
4. สื่อการเรยี นการสอน รปู แบบการจดั การ ในการจัดการเรียนรตู้ เพ่อื พฒั นา บา้ นป่าแดงมีคณุ ธรรม
5. หลักสูตรตา้ นทจุ ริต เรยี นการสอนแบบ คุณธรรมจรยิ ธรมนักเรียน จรยิ ธรรม อย่างเปน็
ศกึ ษา PIES Model ประจักษ์
ภาพประกอบ 1 การนำทฤษฎีระบบ มาใชใ้ นการพฒั นานวัตกรรม
จากภาพประกอบ ๑ ได้นำทฤษฎรี ะบบมาใช้ในการวิเคราะห์ปจั จัยนำเขา้ เพื่อนำสู่การตั้งเป้าหมาย
และวัตถปุ ระสงค์ ได้ดงั น้ี
๒.๑ จุดประสงค์ของผลงาน/นวัตกรรม
ผลของการพัฒนานวตั กรรมทำให้ไดส้ งิ่ ต่อไปนี้
๑. เพือ่ พัฒนาความรคู้ วามเข้าใจในการเรยี นรู้รายวชิ าการป้องกนั การทจุ รติ ของนักเรียนโรงเรยี น
ชมุ ชนบ้านป่าแดง ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
๒. เพื่อศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนโรงเรียนชมุ ชนบา้ นปา่ แดง ครูและผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ตอ่ การจัดการพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม ในรายวิชาป้องกันการทจุ ริต โดยใชร้ ปู แบบการ
จัดการเรียนร้แู บบ PIES Model
๓. เพอื่ พัฒนานักเรียนโรงเรยี นชุมชนบ้านป่าแดง ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ให้สามารถสร้างองค์
ความรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง และมที ักษะตามศตวรรษท่ี ๒๑
๔. เพอื่ พัฒนารูปแบบการจดั การเรียนร้แู บบ PIES Model ทีใ่ ห้นักเรยี นได้เกดิ ความรู้ และ
คุณธรรมจริยธรรมอยา่ งยั่งยนื และสามารถบูรณาการกับรายวชิ าอ่ืนได้
๒.๒ เปา้ หมาย
๒.๒.๑ เชงิ ปริมาณ
๒.๒.๑. นักเรยี นโรงเรียนชุมชนบา้ นปา่ แดง ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ – ๖ ปกี ารศกึ ษา
๒๕๖๔ จำนวน ๑๒๖ คน มีผลการเรยี นร้รู ายวชิ า ป้องกนั การทุจรติ สูงกว่าร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๕
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๒.๒.๒ นกั เรยี นโรงเรยี นชมุ ชนบา้ นป่าแดง ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖ ปกี ารศกึ ษา
๒๕๖๔ จำนวน ๑๒๖ คน มผี ลการประเมนิ ความพึงพอใจต่อการจดั การเรียนรู้รายวชิ าปอ้ งกันการทจุ ริต โดยใช้
รูปแบบการเรียนการสอน PIES Model ค่าเฉล่ยี สูงกวา่ ๔.๕๐ ขึน้ ไป
๒.๒.๒ เชิงคุณภาพ
๑) นกั เรียนโรงเรยี นชมุ ชนบ้านป่าแดง มีคุณลักษณะตามโรงเรียนคณุ ธรรม ๕
ประการ คือ ความพอเพยี ง ความกตัญญู ความซ่ือสัตยส์ ุจริต ความรบั ผดิ ชอบ และอุดมการณค์ ณุ ธรรม
๒) เกิดเครือข่ายครูผู้บริหารบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนชุมชนบ้านปา่ แดงรวมทั้ง
ผปู้ กครองนักเรยี น ชุมชน องคก์ รสถาบนั ในทอ้ งถ่นิ ที่มสี ่วนรว่ มในการป้องกนั การทจุ ริตและพัฒนาคุณธรรม
จรยิ ธรรมนักเรียน
๓. กระบวนการผลิตชน้ิ งานหรอื ข้ันตอนการดำเนินงาน
การดำเนนิ งานพฒั นานวตั กรรม ได้มีการนำวงจรเดรมม่ิง (PDCA) มาใช้เพื่อการดำเนนิ งานอย่างเปน็ ระบบ
และมปี ระสทิ ธภิ าพ
กระบวนการออกแบบผลงาน
PLAN ๑. ประชมุ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ในกลุม่ PLC
โดยนำ ทฤษฎีระบบ มาใช้
๒. ศึกษาเอกสาร ทฤษฎีท่เี ก่ยี วข้อง
๓. ออกแบบนวตั กรรมโดยนำทฤษฎีคอนสตรัคตวิ ทิ เปน็ ทฤษฎีหลกั
๔. จดั ทำแผนการเรยี นรู้ตามรปู แบบ PIES Model
DO การจดั การเรยี นรู้รายวชิ าป้องกันการทุจรติ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้ PIES
Model
CHECK ๑. วเิ คราะหผ์ ลการจัดการเรยี นรู้
๒. ประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั เรียน ครู และผู้บรหิ ารสถานศึกษา
๓. สะทอ้ นผลการดำเนินงาน
ACT ๑. ปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนการสอน
๒. เผยแพรผ่ ลงาน
ภาพประกอบ ๒ กระบวนการพฒั นานวตั กรรม
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๖
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
กระบวนการผลิตชิน้ งาน/นวตั กรรม ใช้วงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ (PDCA) เป็นกระบวนการหลัก
ซึง่ มีขั้นตอนการดำเนนิ งาน ดังน้ี
PLAN
๑. ดำเนนิ การประชมุ แลกเปล่ียนเรียนรู้ วเิ คราะห์สาเหตุของสภาพปัญหาเนอ่ื งจากผลการ เพือ่
หาวธิ แี ก้ปัญหาร่วมกับสมาชกิ ในกลุม่ PLC โดยมีการนำทฤษฎีระบบ (System Approach) มาใช้ในการชว่ ย
กำหนดทศิ ทางในการดำเนนิ การ เพอื่ ให้การพฒั นานวตั กรรมเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
๒. ศึกษาเอกสาร งานวจิ ัย และทฤษฎที างการศึกษา ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับสภาพปัญหา และความ
ตอ้ งการทอ่ี ยากใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั ผู้เรยี น เพือ่ นำมาเปน็ ข้อมูลในการพัฒนานวัตกรรมท่สี ามารถแกไ้ ขปัญหาได้อย่าง
เหมาะสม
๓. ออกแบบนวัตกรรม โดยใชท้ ฤษฎีคอนสตรคั ติวิซ เปน็ แนวความคิดหลกั จงึ ไดก้ ระบวนการ
จัดการเรียนรู้ตามข้นั ตอนของ PIES Model
๔. วิเคราะหห์ ลักสูตรต้านทุจริตศึกษา และกำหนดโครงสร้างรายวชิ า
๕. จดั ทำแผนการจดั การเรยี นรตู้ ามรูปแบบ PIES Model โดยมีการรว่ มมือกับสมาชกิ ในกล่มุ
PLC เพ่ือออกแบบการจัดการเรียนรูท้ ี่เหมาะสมกบั บรบิ ทห้องเรยี น และเน้ือหาวชิ าในรายวชิ าการปอ้ งกนั การ
ทุจรติ
DO
๑. นำแผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ผ่านการตรวจสอบจากสมาชิกในกลุ่ม มาใช้จดั กระบวนการเรยี น
การสอน โดยมขี ั้นตอนในการจดั กจิ กรรม ดังน้ี
๑.๑ ครูอธิบายให้นกั เรยี นเข้าใจถงึ การจดั กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามรปู แบบ PIES Model
๑.๒ ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
๑.๓ จัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรยี นรู้ดว้ ยรูปแบบ PIES Model
๑.๔ ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น
CHECK
๑. ประเมินความพึงพอใจของผู้เรยี น ครู และผบู้ ริหารสถานศึกษา โดยใช้แบบประเมินความพึง
พอใจของนกั เรยี นต่อรูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบ PIES MODEL
๒. นำผลการทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น มาวเิ คราะหผ์ ลการจดั การเรยี นรู้ เพ่ือประเมนิ ผล
การใชร้ ปู แบบการเรยี นร้แู บบ PIES Model
๓. สะทอ้ นผลการดำเนินงาน (AAR) หลังจากการนำแผนการจัดการเรียนรู้ PIES Model ไปใช้
ในการจัดการเรียนการสอน ร่วมกับสมาชกิ ในกลมุ่ PLC
ACT
๑. นำผลการจดั กจิ กรรมและข้อเสนอแนะจากการสะท้อนการดำเนินงาน มาปรบั ปรงุ แผนการ
จัดการเรยี นรู้ เพ่ือให้ได้รูปแบบการเรยี นรูท้ มี่ ีประสิทธิภาพ
๒. ขยายผลสคู่ ณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรยี น และภายนอก โดยสามารถนำ
รปู แบบการจัดการเรียนรู้ PIES Model ไปบูรณาการกับรายวิชาอนื่ ๆ ได้
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๗
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๔. ผลการดำเนนิ การ ผลสัมฤทธ์ิ และประโยชนท์ ่ไี ด้รับ
๔.๑ เชงิ ปรมิ าณ
๔.๑.๑ นักเรยี นโรงเรยี นชมุ ชนบ้านปา่ แดง ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
จำนวน ๑๒๖ คน มีผลการเรียนรรู้ ายวิชา ป้องกนั การทจุ รติ ร้อยละ ๘๙.๔๕
ระดบั ชนั้ จำนวน ระดบั การประเมนิ ระดับ๓ขน้ึ ไปคดิ เป็น
นกั เรยี น ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ รอ้ ยละ
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ๑๕ - ๑๒ - ๓ - - - ๘๐
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒ ๒๙ ๓ ๑๓ ๘ ๕ - - - ๘๒.๗๖
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ๒๑ ๗ ๕ ๘ ๑ - - - ๙๕.๒๔
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔ ๑๘ ๓ ๑๐ ๒ ๓ - - - ๘๓.๓๓
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ ๒๗ ๘ ๙ ๙ ๑ - - - ๙๖.๒๙
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑๖ ๕ ๔ ๓ ๔ - - - ๗๕
รวม ๑๒๖ ๒๖ ๕๒ ๓๐ ๑๗ - - - ๘๕.๔๔
ผลการเปรยี บเทียบคา่ เฉล่ยี หลังการใช้นวัตกรรม ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑-๖ ประจำปี
การศกึ ษา ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔ ผลปรากฎดงั ตาราง
ระดบั ชั้น ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ผลต่าง
ค่าเฉล่ียการทดสอบ ๗๘.๕๙ ๘๕.๔๔ +๖.๘๕
จากตาราง พบว่า ค่าเฉลีย่ การทดสอบหลงั การใช้นวัตกรรม ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ - ๒๕๖๓๔
พบวา่ นกั เรยี นระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นป่าแดง มีคา่ เฉลย่ี ผลการทดสอบหลงั การ
ใช้นวัตกรรมเพื่อเสรมิ สรา้ งการเรยี นร้ขู องนักเรยี น ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ เทา่ กับ ร้อยละ ๘๕.๔๔ เมอ่ื
เทียบกับค่าเฉลย่ี ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จะเห็นไดว้ ่า สงู ขึน้ รอ้ ยละ ๖.๘๕
๔.๑.๒. นกั เรยี นโรงเรยี นชุมชนบ้านปา่ แดง ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ – ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
จำนวน ๑๒๖ คน มผี ลการประเมินความพึงพอใจต่อการจดั การเรียนรู้รายวิชาป้องกนั การทุจริต โดยใช้รปู แบบ
การเรียนการสอน PIES Model คา่ เฉล่ยี ๔.๗๐ ในระดบั ดมี าก
รายการ การประเมนิ
x̅ S.D. แปลผล
๑. นกั เรียนเข้าใจเนอ้ื หาท่เี รียนมากขึ้น ๔.๕๗ ๐.๓๖ พงึ พอใจมากที่สดุ
๒. สอ่ื การสอนนา่ สนใจ ๔.๗๕ ๐.๓๙ พึงพอใจมากทส่ี ุด
๓. นักเรียนช่วยกันทำงานกลุ่ม ๔.๔๙ ๐.๓๔ พึงพอใจมาก
๔. คณุ ครูสอนสนกุ และเข้าใจง่าย ๔.๘๖ ๐.๔๑ พึงพอใจมากท่สี ุด
๕. นกั เรียนช่ืนชอบการเรยี นวิชาการปอ้ งกนั การทุจรติ ๔.๘๖ ๐.๔๑ พงึ พอใจมากท่สี ดุ
รวม ๔.๗๐ ๐.๓๘ พึงพอใจมากทสี่ ุด
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๘
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
จากตาราง ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรยี นโรงเรียนชมุ ชนบ้านปา่ แดง ท่ีมีต่อการใช้
รูปแบบการเรยี นรแู้ บบ PIES Model พบว่านักเรยี น มคี วามพึงพอใจมากท่สี ุด (x̅ = ๔.๗๐) ตอ่ การนำรปู แบบ
การจัดการเรยี นรู้ไปใช้ในการสอนรายวิชาป้องกันการทจุ ริต ของนักเรยี นโรงเรยี นชุมชนบ้านป่าแดง
๔.๒ เชิงคุณภาพ
๔.๒.๑) นกั เรียนโรงเรียนชุมชนบา้ นปา่ แดง มีคณุ ลักษณะตามโรงเรยี นคุณธรรม ๕
ประการ คือ ความพอเพยี ง ความกตัญญู ความซ่ือสัตยส์ จุ ริต ความรับผิดชอบ และอุดมการณ์คณุ ธรรม โดย
นกั เรียนได้ผ่านการเรียนรู้บ่มเพาะ จติ สํานึกด้วยกระบวนการ/วิธีการเรียนรู้ท่หี ลากหลายจากการจัดการ
เรียนรู้ โดยการปฏบิ ัติอยา่ งสร้างสรรค์ ดว้ ยนวัตกรรม Best practice ของครู เช่น “การเสรมิ สร้างคุณธรรม
จรยิ ธรรมตามหลกั สตู รทุจริตศกึ ษาโดยใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ PIES MODEL” “หนนู ้อยจติ อาสา”
“ภาพยนตร์สั้นส่งเสรมิ คุณธรรม” เป็นต้น ซง่ึ สอดคล้องกบั ปฏิญญาโรงเรยี นสุจรติ ด้านการปลูกฝังคา่ นิยม
ความซอ่ื สตั ย์ สุจริตให้เป็นวถิ ีชีวติ ในโรงเรยี นและชมุ ชน
๔.๒.๒) เกิดเครือขา่ ยครูผูบ้ รหิ ารบคุ ลากรทางการศึกษาโรงเรยี นชมุ ชนบ้านปา่ แดงรวมทั้ง
ผู้ปกครองนักเรยี น ชมุ ชน องค์กรสถาบนั ในท้องถน่ิ ท่ีมีส่วนร่วมในการป้องกนั การทจุ ริตและพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมนกั เรียน บคุ ลากรทางการศึกษาโรงเรยี นชุมชนบา้ นป่าแดง รวมท้ังผู้ปกครองนกั เรยี นชมุ ชนองค์กร
สถาบนั ในท้องถน่ิ ใน การมสี ่วนร่วมป้องกันการทุจริตซึ่งบุคคลเหล่าน้ีเป็นภาคีหนุ้ ส่วนในการพัฒนา
คุณลกั ษณะโรงเรยี นสจุ ริต ๕ ประการให้กับนกั เรียน ภาคีหุ้นส่วนมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมนิ
ประสทิ ธผิ ลโครงการโรงเรยี นสุจรติ แบบแผนท่ผี ลลพั ธ์ (Outcome mapping) โดยเริม่ ตงั้ แตก่ ารกำหนด
วสิ ัยทศั น์รว่ มกัน การติดตามโครงการ และการ ประเมินผลโครงการ ซ่งึ กระบวนการแผนที่ผลลพั ธ์ ช่วยให้ ครู
นักเรยี น และผู้ปกครอง เกดิ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ เกิดความตระหนกั เป็นคนซ่อื สัตย์ สจุ ริต มี
ระเบียบวินัยพอเพยี งและมจี ติ สาธารณะมากข้นึ สอดคล้องกับปฏิญญาโรงเรียนสจุ ริตด้านการสร้างเครือข่าย
ระหว่างโรงเรียนและชมุ ชน
๕. ปจั จัยความสำเรจ็
๕.๑ ผู้อำนวยการโรงเรียนให้การสนบั สนนุ ท้ังด้านงบประมาณ วสั ดุอปุ กรณ์และการใหค้ ำแนะนำใน
การพัฒนานวัตกรรม
๕.๒ คณะครู ชว่ ยเหลือ ใหค้ ำปรกึ ษาและปรับปรงุ ในการออกแบบนวัตกรรมท่สี ามารถใช้ได้จรงิ และ
เกิดผลประโยชนก์ บั นักเรียน
๕.๓ หากชั้นเรียนใดท่ีมีจำนวนนักเรยี นท่เี รยี นรูช้ า้ จำนวนมาก ควรจดั เปน็ คู่ หรือเป็นกลุม่ เพอื่ ให้ไม่
เป็นอปุ สรรคต่อการนำนวัตกรรมไปใช้ และควรจดั สภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรยี นให้เอื้อต่อการจดั กิจกรรม
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๙
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๖. บทเรยี นท่ีไดร้ ับ
สงิ่ ทคี่ ้นพบจากกการพัฒนาผลงาน
รปู แบบการจัดการเรียนรู้ PIES Model
ภาพประกอบ 2 รูปแบบการเรียนรแู้ บบ PIES Model
กระบวนการจดั การเรียนรู้ PIES Model เปน็ กระบวนการทเ่ี น้นใชค้ วามรู้ ทักษะ ทัศนคตขิ องตนท่ี
มีอยใู่ นขณะนนั้ ไปช่วยตีความเรอื่ งท่ีเรยี นรู้ การปฏสิ มั พันธ์ระหว่างผูอ้ า่ นและผู้เขยี นเกิดขึ้นเมื่อผู้อ่าน สรา้ ง
สมมตฐิ านเก่ียวกับความหมายของข้อความไวล้ ่วงหนา้ ทัง้ จากประสบการณ์เดิมของตน และจากบริบทของ
เนือ้ หาและภาษา เมื่ออา่ นเนื้อหาตอ่ ไป ความหมายของข้อความจะสะทอ้ นกลบั มายงั ผู้อ่านเพื่อใหร้ วู้ ่าการ
ตคี วามในขัน้ ต้นของผอู้ า่ นนัน้ ถกู ต้องหรือไมม่ ากน้อยเพียงใด จากน้นั ผู้อ่านอาจจะมีการปรับปรงุ เปล่ยี นแปลง
การตีความของตนใหมใ่ ห้ถกู ต้องเหมาะสมย่งิ ขนึ้ หรือในกรณีการตคี วามขน้ั ตน้ ถูกต้องแล้ว กจ็ ะเก็บสะสม
ข้อมลู นน้ั ไวเ้ พ่ือการตีความในคร้งั ตอ่ ไป สามารถกระตนุ้ ให้ผู้เรยี นได้เรยี นรู้และมีกระบวนการคดิ เปน็ ของ
ตนเอง มีการใช้ความรู้และประสบการณ์เดมิ มาใช้ในการเรยี นรู้ ซึง่ จะช่วยให้ผ้เู รียนสามารถเรยี นร้ไู ด้งา่ ยข้ึน
ถือเป็นการต่อยอดความรเู้ ดมิ โดยมกี ระบวนการ ดังนี้
๑. P (Previous Knowledge) : ความรู้เดิม
เป็นขนั้ ตอนที่นักเรยี นได้ทบทวนว่าตนเองมีความรู้เกี่ยวกับหวั ขอ้ เร่ืองมากน้อยเพียงใด เป็นการ
นำความร้เู ดิมมาใช้ เพราะการเชอ่ื มโยงความรู้ใหม่กับความรพู้ น้ื ฐานและประสบการณข์ องผเู้ รียนเป็นสงิ่ สำคัญ
ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ซงึ่ ขน้ั น้เี ป็นการเตรยี มนักเรยี นในการเรียนรเู้ นื้อหาใหม่ การบูรณาการระหวา่ ง
ความรพู้ ืน้ ฐาน และเร่ืองท่นี กั เรยี นจะเรียนรู้ เปน็ ส่งิ ท่ีช่วยให้นกั เรียนสามารถสรา้ งความหมายของสิง่ ที่เรียนรู้
ได้ นกั เรียนควรได้รับการกระตุ้นความร้พู ้นื ฐานให้เหมาะสม โดยนำทฤษฎปี ระสบการณ์เดมิ ซึง่ เป็นทฤษฎที ว่ี ่า
ดว้ ยหลักการนำความรู้พ้นื ฐาน ความรเู้ ดมิ และประสบการณ์เดิมมาใชใ้ นการเรยี นการสอน
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑๐
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๒. I (Interested) : ความสนใจ
เป็นขั้นตอนทน่ี ักเรียนจะตอ้ งคน้ หาความสนใจในประเดน็ ต่าง ๆ รวมถึงต้องการรู้อะไรจาก จาก
หัวขอ้ เร่ือง ซึ่งคำถามทน่ี ักเรียนสรา้ งข้ึนก่อนการเรยี นรู้ ถือเปน็ การตงั้ เปา้ หมายในการเรียนรู้ และเป็นการ
คาดหวังวา่ จะพบอะไรในเรอ่ื งทเี่ รยี นรูบ้ ้าง
๓. E (Educated) : ความรู้ท่ไี ด้
เปน็ ขนั้ ตอนหลังจากทน่ี ักเรียนไดเ้ รยี นรู้เรื่องน้นั ๆ แล้ว ทำการสำรวจว่าได้เรียนร้อู ะไรบ้างจาก
เรอ่ื งทเ่ี รียนรู้ โดยนักเรียนจะหาคำตอบให้กับคำถามที่ตั้งไว้ในข้นั ความสนใจ
๔. S (Summarize) : การสรปุ ความ
เปน็ ข้นั การเขียนสรปุ ความร้หู ลังการเรยี นรู้ ซงึ่ สามารถทำไดห้ ลากหลายวิธี โดยวิธที ีน่ ยิ มมากคือ
การเขยี นแผนผงั เพราะจะช่วยใหน้ ักเรียนเรียงลำดบั ขั้นตอนของข้อมูล สรา้ งความรู้ และเกบ็ สาระสำคัญจาก
เรือ่ งที่อา่ นได้
๗. การเผยแพร่ / การไดร้ ับการยอมรับ / รางวัลทไี่ ด้รับ
๑. การประชาสมั พนั ธ์ ผา่ นทางจดหมายข่าว เฟสบคุ๊ ไลน์ และเวบ็ ไซตโ์ รงเรยี น
นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ PIES Model
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑๑
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๒.รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ๑ การประกวดนวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ทัง้ ระบบ ส่กู ารยกระดับ
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ โครงการ ๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรมคณุ ภาพ
๓. รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ๒ การประกวดนวตั กรรมเพื่อการศกึ ษา (Innovation For Thai
Education : IFTE) ซง่ึ เป็นการเขา้ รว่ มโครงการพมั นานวตั กรรมการศึกษาของโรงเรียนในจงั หวัดกาฬสินธ์ุ
และสง่ ผลงานนวัตกรรมเขา้ ประกวด
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑๒
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๔.รางวัลชนะเลศิ การประกวดถอดบทเรียน Best practice ครู ตามหลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา
๕.รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประกวดนวัตกรรมตามหลกั สูตรต้านทุจรติ ศึกษา
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑๓
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๘. เง่ือนไขความสำเร็จ
๑. กอ่ นการจดั การเรียนรู้ ครูควรอธบิ ายขนั้ ตอนการเรียนรู้ และชแี้ จง แนะนำขอ้ ตกลง ข้อปฏบิ ตั ิ
และเกณฑต์ ่าง ๆ ในการเรยี นรู้ให้นกั เรยี นเขา้ ใจก่อนจัดการเรยี นรู้ เพราะถ้านกั เรียนไม่เข้าใจ อาจสง่ ผลต่อ
เวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั กจิ กรรมได้
๒. ครคู วรเตรียมเน้อื หา ส่อื อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ให้พร้อมเพ่ือสะดวกและงา่ ยต่อการหยิบใช้ ใหค้ รบ
ตามจำนวนนกั เรยี น และ ควรเสนอแนะแหล่งเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย เพอ่ื ฝึกใหน้ ักเรยี นได้แสวงหาความรู้ ได้
ศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างพอเพียง เชน่ ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ท่ีสามารถสบื ค้นข้อมลู ทางระบบอนิ เทอรเ์ น็ต
ห้องสมดุ หนงั สอื เรยี น เป็นต้น
๓. ครคู วรจดั กจิ กรรมใหน้ ักเรียนได้ลงมือปฏบิ ตั จิ ริงด้วยตนเอง ให้นกั เรียนมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมให้
มากทีส่ ดุ และทว่ั ถึงทุกคน โดยใหน้ กั เรียนได้ใช้ทักษะกระบวนการต่าง ๆ ในการศึกษาค้นควา้ หาความรู้
เพ่อื ให้สามารถค้นพบความรู้ สร้างองคค์ วามรูไ้ ดด้ ว้ ยตัวเอง
๔. ครูควรกระตุ้นให้เด็กกล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นออกมา แมว้ ่าจะเปน็ ความคิดเหน็ ที่
แตกต่างกนั หรือไมถ่ ูกต้อง เพื่อนำไปส่กู ารอภิปรายและการสรุปที่ถูกต้อง
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑๔
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
ภาคผนวก ก. แผนการจัดการเรยี นรู้
แผนการจดั การเรยี นรหู้ ลกั สูตรต้านทจุ ริตศึกษา โดยใชร้ ปู แบบ PIES Model
รายวิชา ส ๑๕๒๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ฯ
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ จำนวน ๒ ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
เร่ือง ผลประโยชน์ทับซ้อน วันท่.ี .........................................
*******************************************************************************
๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรูค้ วามเข้าใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม
๑.๒ ตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของการต่อตา้ นและป้องกนั การทุจรติ
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ นักเรยี นสามารถอธิบายความหมายของผลประโยชน์ทับซ้อนได้
๒.๒ นักเรยี นสามารถบอกสาเหตกุ ารเกิดของผลประโยชน์ทบั ซ้อนในโรงเรยี นได้
๒.๓ นกั เรยี นสามารถบอกแนวทางการป้องกันผลประโยชนท์ ับซ้อนในโรงเรยี นได
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
ผลประโยชนท์ บั ซ้อน คือ ผลประโยชน์ส่วนตวั ของเจ้าหนา้ ท่ีรัฐไปขัดแย้งกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมแล้ว
ต้องเลอื กเอาอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งซ่งึ ทำใหต้ ัดสินใจไดย้ ากในอันท่ีจะปฏบิ ัติหน้าท่ีใหเ้ กิดความเปน็ ธรรมและ
ปราศจากอคติการท่เี จ้าหน้าที่ของรฐั กระทำการใดๆตามอำนาจหนา้ ทเ่ี พื่อประโยชนส์ ่วนรวม แต่กลับเข้าไปมี
ส่วนไดเ้ สยี กบั กจิ กรรมหรือการดำเนนิ การทเ่ี ออ้ื ผลประโยชนใ์ ห้กับตนเองหรอื พวกพอ้ ง ทำใหก้ ารใช้อำนาจ
หนา้ ทีเ่ ป็นไปโดยไมส่ จุ ริต กอ่ ให้เกิดผลเสยี ต่อภาครัฐสาเหตุการเกดิ ผลประโยชน์ทบั ซ้อนเกดิ จากเจ้าหนา้ ที่
ของรัฐมีบทบาทที่ขัดแย้งกนั ๒ บทบาท ได้แก่
บทบาทที่ ๑ คือบทบาททตี่ ดั สินใจตามหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบ
บทบาทท่ี ๒ คือบทบาทท่ีตัดสนิ ใจตามผลประโยชน์สว่ นตวั ซ่งึ อาจจะไม่ผิดกฎหมาย
แตเ่ มอื่ ตัดสนิ ใจไปแล้วจะมีผลกระทบตอ่ การตัดสินใจตามหน้าท่ที ำให้เกดิ ปญั หาหรือความผดิ ได้
รูปแบบผลประโยชน์ทบั ซ้อน
รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ น แบง่ ออกเปน็ ๗ รปู แบบ ได้แก่
๑. การรบั ผลประโยชนต์ ่างๆ คือ การรับสนิ บนหรือผลประโยชนใ์ นรูปแบบอืน่ ๆ
ทไ่ี มเ่ หมาะสม
๒. การทำธรุ กิจกบั ตวั เองหรือเป็นคู่สัญญา
๓. การทำงานหลังจากออกจากตำแหน่งสาธารณะหรือหลังเกษยี ณ
๔. การทำงานพิเศษ เชน่ เจา้ หนา้ ที่ของรฐั ต้ังบรษิ ทั ดำเนนิ ธุรกิจทเ่ี ป็นการแข่งขันกับ
หน่วยงานหรอื องค์กรสาธารณะท่ตี นสงั กดั
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑๕
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๕. การรบั รูข้ ้อมลู ภายใน คือ สถานการณ์ทผ่ี ้ดู ำรงตำแหน่งสาธารณะใชป้ ระโยชน์จาก
การรูข้ ้อมูลภายในเพ่ือประโยชน์ของธรุ กิจสว่ นตัว
๖. การใชท้ รัพยส์ ินของหนว่ ยงานเพ่ือประโยชน์ของธุรกจิ ส่วนตัว
๗. การนำโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้งเพ่อื ประโยชนข์ องธรุ กิจสว่ นตัว
๓.๒ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓.๓ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์
๑. ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต
๒. มจี ติ สาธารณะ
๔. กิจกรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขั้นตอนการเรยี นรู้
ชว่ั โมงที่ ๑
๑. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น
๒. ใหน้ ักเรยี นดูคลปิ สั้น เรอื่ ง ผลประโยชนท์ ับซอ้ น ซงึ่ เป็นเร่ืองราวของครูโรงเรยี นแห่งหนง่ึ
ที่ใหเ้ ฉลยข้อสอบกบั นกั เรยี นท่เี รยี นพิเศษกับตนเอง ทำให้นกั เรยี นคนนน้ั ไดค้ ะแนนสงู
๓. ให้นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเรอื่ งที่เกิดขึน้ จากการดูคลปิ วดิ ีโอตามประเดน็ ต่อไปนี้ แล้วให้
นักเรยี นบนั ทกึ ลงในช่อง P
๓.๑ เกิดเหตุการณ์อะไรข้ึน
(นกั เรียนคนหน่งึ ไดค้ ะแนนสูงจนน่าตกใจ เพราะเรยี นพเิ ศษกบั ครู)
๓.๒ คุณครูสาวทำอย่างไร ถึงทำให้นักเรยี นได้คะแนนสูง
(ให้เฉลยขอ้ สอบกับเดก็ ตอนทีเ่ รียนพิเศษ)
๓.๓ นกั เรยี นคดิ ว่าการกระทำของคณุ ครูถูกหรือผิด
(ผิด เพราะถอื เป็นการกระทำท่ไี มเ่ หมาะสมกับการเปน็ ครู)
๓.๔ นกั เรียนคดิ วา่ ในคลปิ วดิ ีโอน้ี มเี หตุการณ์ใดที่เปน็ การทุจริตบา้ ง
(ครชู ารจ์ แบตโทรศัพท,์ ครเู อาขอ้ สอบให้นกั เรยี นท่เี รยี นพิเศษ)
๓.๕ ผลสรุปการกระทำของคุณครูเปน็ อย่างไร
(คณุ ครถู ูกผู้อำนวยการโรงเรียนเรียกไปตักเตือนเพ่ือไมให้ทำอีก)
๔. ครใู หน้ ักเรียนไดต้ ั้งคำถามถงึ สิ่งท่ีอยากรู้เกีย่ วกับ ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น แล้วบนั ทึกลงใน
ช่อง I
๕. ครูให้นักเรียนศกึ ษาใบความร้เู ร่ือง ผลประโยชนท์ บั ซ้อน
๖. ครูอธิบายความหมายเพิ่มเติมเกย่ี วกับผลประโยชนท์ บั ซ้อน สาเหตุ และรปู แบบการเกิด
ผลประโยชนท์ บั ซ้อน แลว้ ใหน้ ักเรยี นบันทึกความรูท้ ี่ได้ ลงในชอ่ ง E
๕. ครูมอบหมายให้นักเรยี นเขียนผงั มโนทัศนเ์ รอื่ ง ผลประโยชน์ทับซอ้ น (S)
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑๖
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
ช่วั โมงที่ ๒
๑. ครยู กตวั อยา่ งรูปแบบผลประโยชนท์ บั ซอ้ นภายในโรงเรียน เชน่ ครูสง่ั ให้นกั เรียนไปซื้อ
ของสำหรบั ทำงานประดิษฐใ์ นวชิ าของตนเองโดยของช้นิ นน้ั หาซอื้ ไดท้ ่ีร้านคา้ ของตนเองเท่าน้นั
บทบาทท่ี ๑ คือ สั่งงานตามหนา้ ท่ขี องครู
บทบาทท่ี ๒ คือ ตอ้ งการหารายได้เขา้ กจิ การของตวั เอง
ผลประโยชน์ทบั ซ้อน คือครูไดร้ บั ผลประโยชนจ์ ากการสั่งให้นักเรยี นซอื้ ของที่รา้ นค้า
ของตนเอง
๒. ครใู หน้ ักเรียนช่วยกนั หารปู แบบผลประโยชน์ทับซอ้ นภายในโรงเรียน พรอ้ มกบั การหา
แนวทางป้องกนั แล้วเขียนเหตกุ ารณ์น้ันลงในใบงาน เร่ือง บทบาทที่ขดั แย้ง
๔.๒ สือ่ การเรยี นรู/้ แหล่งการเรียนรู้
๑) คลปิ สนั้ เรือ่ ง ผลประโยชนท์ บั ซ้อน
https://www.youtube.com/watch?v=gkbhP๒๐kZII&t=๒๗s
๒) ใบความร้เู ร่อื ง ผลประโยชน์ทบั ซ้อน
๓) ใบงาน เรื่อง บทบาทที่ขัดแยง้
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ
๑) ตรวจผลงานการทำผังมโนทศั น์เรือ่ ง ผลประโยชน์ทบั ซ้อน
๒) ตรวจผลงานการทำใบงาน เร่ือง บทบาทท่ีขัดแย้ง
๕.๒ เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน
๑) แบบประเมินผงั มโนทศั นเ์ รื่อง ผลประโยชนท์ บั ซ้อน
๒) ใบงาน เรอ่ื ง บทบาทท่ีขดั แย้ง
๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สิน
๑) นกั เรยี นผา่ นการประเมิน รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป
๖. บันทึกหลงั สอน
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................ ..................................................
ลงชอ่ื ................................................ ครูผ้สู อน
(.................................................)
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑๗
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑๘
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๑๙
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๒๐
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๒๑
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
แผนการจดั การเรยี นรูห้ ลักสตู รต้านทจุ ริตศึกษา โดยใช้รูปแบบ PIES Model
รายวิชา ส ๑๓๒๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ฯ
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ จำนวน ๒ ชวั่ โมง
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม
เร่ือง การเคารพตอ่ สทิ ธิและหนา้ ทีข่ องตนเองและผู้อืน่ ในหม่บู า้ น วันท.่ี .........................................
*******************************************************************************
๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับพลเมืองและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคมปฏบิ ตั ติ ามหนา้ ท่ี
พลเมืองและมคี วามรับผิดชอบต่อสังคม
๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามหน้าท่พี ลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถบอกสิทธิหน้ำทต่ี ่อตนเองและผอู้ น่ื ในหมู่บ้ำนได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
การเคารพสิทธขิ องตนเองและผู้อื่นท่ีมตี ่อชุมชนและสังคม สมาชิกทุกคนมีสิทธเิ ท่าเทียมกนั
ในการดำเนินชวี ิตในสังคม โดยสทิ ธิดักลา่ วจะตอ้ งไมล่ ะเมิดสทิ ธิของสมาชิกคนอนื่ ในสงั คม เช่น เสรีภาพ ใน
เคหะสถาน เสรภี าพในการเดินทางและติดต่อสื่อสาร เสรีภาพในการนบั ถือศาสนา เสรภี าพทางวชิ าการ
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่เี กดิ )
๑) ความสามารถในการส่อื สาร
๒) ความสามารถในการคดิ
๓.๓ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์/ค่านยิ ม
มีวนิ ยั
๔. กจิ กรรมการเรียนรู้
๔.๑ ข้นั ตอนการเรยี นรู้
ชว่ั โมงที่ ๑
๑. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
๒. ครูสนทนากบั นกั เรยี นถึงสทิ ธิและหน้าท่ขี องแตล่ ะคนท่ีมตี ่อโรงเรียน ตอ่ หม่บู ้าน
ต่อชุมชน ตอ่ ประเทศชาติ ทุกคนตอ่ รจู้ กั รักษาสิทธิของตนเองและต้องรูจ้ ักหน้าที่ของตนเองว่าจะเปน็
สทิ ธริ ะดบั ใด หรือหน้าที่ในระดับไหน เราทุกคนต้องปฏบิ ตั ิอย่างเตม็ ท่ี
๓. นักเรียนรว่ มกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นว่า สิทธิทีเ่ ราไดร้ ับจากหมบู่ ้านมี
อะไรบ้าง ใหน้ ักเรยี นเขียนคำตอบลงในช่อง P
๔. ครูให้นกั เรียนสำรวจตนเองว่า มีสว่ นรว่ มในการตดั สินใจและปฏิบัติกิจกรรมการเคารพ
สทิ ธขิ องตนเองและผูอ้ น่ื ที่มีต่อหมู่บ้านเปน็ อย่างไรบ้าง และต้องการรู้อะไรเกีย่ วกับสิทธแิ ละหนา้ ทขี่ องตนเอง
บ้าง แล้วใหน้ ักเรียนบนั ทึกลงในชอ่ ง I
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๒๒
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๕. ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุม่ กลุ่มละ ๓-๔ คน จากนัน้ ให้นักเรยี นศกึ ษาใบความรู้ เรื่อง สิทธหิ น้าท่ี
ของตนเองและผ้อู ่ืนท่ีมีต่อหมู่บา้ น
๖. ครูแจกใบงาน และให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่ม เลน่ เกม บันไดงู รู้ถกู ผดิ
๗. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปความรเู้ ร่ืองการเคารพสทิ ธิหน้าทต่ี อ่ ตนเองและผู้อนื่ ที่มีต่อ
หม่บู ้านสังคม ใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ความรู้ทไ่ี ด้ในชอ่ ง E
๘. ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกันเขียนแผนผงั ความคดิ การปฏิบตั ิตนท่แี สดงถงึ การเคารพ
สิทธขิ องตนเองและผู้อื่นท่ีมตี ่อชมุ ชน สงั คม
ชัว่ โมงที่ ๒
๑.ครูและนกั เรียนร่วมกนั ทบทวนหนา้ ที่ต่อตนเองและผอู้ นื่ ที่มีต่อหมู่บ้าน
๒. ให้แต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานำเสนอผลงานทห่ี น้าชั้นเรยี น โดยครแู ละเพื่อนนกั เรยี น
รว่ มกันตรวจสอบความถูกต้องและแสดงความคดิ เห็นเพ่มิ เติม
๓. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปดังน้ี
สทิ ธิของตนเองที่มีตอ่ หมูบ่ ้าน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยจะมคี วามม่นั คงก้าวหน้าเพยี งไร ยอ่ มขึ้นอยู่กับการที่
ประชาชนในชาตริ จู้ ักสิทธิ เสรภี าพ กระทำหนา้ ท่ีตามความรบั ผิดชอบและมคี ณุ ธรรม ความสำคัญของ
สทิ ธิ เสรีภาพ หน้าที่ และคุณธรรมของพลเมอื ง มดี ังนี้คือ
๑. สิทธิ หมายถงึ อำนาจหรือผลประโยชนท์ ่ีไดร้ บั การคุ้มครองและรบั รองตาม
กฎหมาย
๒. สทิ ธิที่เป็นสิทธเิ ฉพาะบุคคล ได้แก่
๒.๑ สทิ ธิในชวี ติ และร่างกาย
๒.๒ สิทธิในเคหะสถาน
๒.๓ สิทธใิ นครอบครัว
๒.๔ สทิ ธิในการประกอบอาชพี
๒.๕ สทิ ธใิ นชอ่ื เสียงและเกยี รติยศ
๓. สิทธิเกย่ี วกบั ทรพั ยส์ นิ หมายถึงสทิ ธทิ ี่มเี จ้าของมีอยู่ในทรัพยส์ ินน้ันโดยการถือ
กรรมสทิ ธ์แิ ละสามารถใช้ประโยชน์ใดๆได้ ตามทเี่ จา้ ของทรัพย์สินตอ้ งการ เชน่ มสี ิทธใิ นการใหผ้ ้อู ่นื เช่าบ้าน
มสี ทิ ธิในการขายทด่ี ินของตน
๔. ทำแบบทดสอบหลังเรียน
๔.๒ ส่ือการเรยี นรู้/แหล่งการเรยี นรู้
๑. ใบงาน
๒. ใบความรู้
๓. สไี ม้
๔. เกมบันไดงู ร้ถู ูกผิด
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๒๓
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
๕.๑ วธิ กี ารประเมิน
- ตรวจชิน้ งำน
- ประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (มีวินัย)
๕.๒ เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมนิ
- แบบประเมินผลงาน
- ประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (มีวนิ ัย)
๕.๓ เกณฑ์การประเมนิ
- นกั เรยี นทำใบงานผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ๘๐
- นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับดีข้นึ ไป
๖. บันทึกหลังสอน
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงช่ือ ................................................ ครูผูส้ อน
(.................................................)
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๒๔
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๒๕
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
“ น วั ต ก ร ร ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค น ดี ” โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ธ ร ร ม ส พ ฐ . ๒๖
น า ง ส า ว อั ล ด า กุ ล า ส า ต ำ แ ห น่ ง ค รู ค ศ . ๑ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ป่ า แ ด ง
ภาคผนวก ข. ภาพถ่าย