The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่องที่ 2 แหล่งเรียนรู้ประเภทห้องสมุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by porneura532193, 2022-07-10 10:41:43

เรื่องที่ 2 แหล่งเรียนรู้ประเภทห้องสมุด

เรื่องที่ 2 แหล่งเรียนรู้ประเภทห้องสมุด

เร่อื งที่ 2 : แหลง่ เรียนรู้ประเภทหอ้ งสมดุ

ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญประเภทหน่ึง ท่ีจัดหา รวบรวมสรรพวิชาการต่าง ๆ ที่เกิด ข้ึน จาก
ท่วั โลกมาจัดระบบ และให้บรกิ ารแก่กลุ่มเป้าหมายศึกษาค้นคว้าอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ปัจจุบันมีคาอ่ืน ๆ ท่ี
หน่วยงานต่าง ๆ ใช้ในความหมายของคาว่า ห้องสมุด เช่น ห้องสมุด และศูนย์ สารสนเทศ สานักบรรณาสาร
การพัฒนา สานักบรรณสารสนเทศ สานักบรรณสารกับหอสมุด การบริการ เป็นต้น ห้องสมุดโดยทั่วไปแบ่ง
ออกเป็น 5 ประเภท ดงั นี้
1. หอสมุดแหง่ ชาติ

นับเป็นห้องสมุดท่ีใหญ่ที่สุดในประเทศ ดาเนินการโดยรัฐบาล ทาหน้าที่หลักคือ รวบรวมหนังสือ
ส่ิงพิมพ์ และส่ือความรู้ ทุกอย่างท่ีผลิตข้ึนในประเทศ และ ทุกอย่างท่ีเกี่ยวกับประเทศ ไม่ว่าจะจัดพิมพ์ใน
ประเทศใด ภาษาใด ทง้ั นเ้ี ป็นการอนรุ กั ษาสอื่ ความรู้ ซ่ึงเป็นทรัพย์สินทางปัญญาของชาติมิให้สูญไป และให้ มี
ไวใช้ในอนาคต นอกจากรวบรวมสิ่งพิมพ์ในประเทศแล้ว ก็มีหน้าท่ีรวบรวมหนังสือท่ีมีคุณค่า ซึ่งพิมพ์ใน
ประเทศอ่ืนไว้เพ่ือการค้นคว้าอ้างอิง ตลอดจนทา หน้าที่ เป็นศูนย์รวบรวมบรรณานุกรมต่าง ๆ และจัดทา
บรรณานุกรมแห่งชาติออกเผยแพร่ให้ทราบท่ัวกันว่ามีหนังสืออะไรบ้างท่ีผลิตขึ้นในประเทศ หอสมุดแห่งชาติ
จึงเป็นแหล่งให้บริการทางความรู้แก่คนทั้งประเทศ ช่วยเหลือการค้นคว้าวิจัยตอบคาถาม และให้คาแนะนา
ปรึกษาเก่ยี วกับหนงั สอื
2. ห้องสมุดประชาชน

ห้องสมุดประชาชนดาเนินการโดยรัฐ อาจจะ เป็นรัฐบาลกลาง รัฐบาลท้องถ่ิน หรือเทศบาล แล้วแต่
ระบบ การปกครอง ตามความหมายเดิม ห้องสมุดประชาชนเป็น ห้องสมุดที่ประชาชนต้องการให้มี ในชุมชน
หรือเมืองท่ีเขาอาศัยอยู่ ประชาชนจะสนับสนุนโดยยินยอมให้รัฐบาลจ่ายเงิน รายได้จากภาษีต่าง ๆ ในการ
จัดตั้งและดาเนินการห้องสมดุ ประเภทน้ีให้เปน็ บรกิ ารของรัฐ จงึ มิได้เรียกค่าตอบแทน เช่น ค่าบารุง ห้องสมุด
หรือค่าเช่าหนังสือ ท้ังน้ีเพราะถือว่าประชาชนได้บารุงแล้ว โดยการเสียภาษีรายได้ให้แก่ประเทศ หน้าที่ของ
ห้องสมุด ประชาชนก็คือ ให้บริการหนังสือและส่ืออ่ืน ๆ เพ่ือการศึกษาตลอดชีวิต บริการข่าวและ เหตุการณ์
ต่าง ๆ ที่ประชาชนควรทราบ ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ให้ข่าวสาร
ขอ้ มูลทจี่ าเปน็ ต้องใช้ในการปฏิบัติงานและการพัฒนาด้านตา่ ง ๆ
3. หอ้ งสมุดของมหาวทิ ยาลัยและวทิ ยาลัย

เป็นห้องสมุดที่ต้ังอยู่ในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ท าหน้าที่ส่งเสริมการเรียนการสอนตาม
หลักสูตร โดยการจัดรวบรวมหนังสือและส่ือความรู้อ่ืน ๆ ในหมวดวิชาต่าง ๆ ตามหลักสูตรช่วยเหลือใน การ
ค้นคว้าวิจัยของอาจารย์และนักศึกษา ส่งเสริมพัฒนาการทางวิชาการของอาจารย์ และนักศึกษา และช่วยจัด
ทา บรรณานุกรมและดรรชนีสาหรับค้นหาเรื่องราวที่ต้องการแนะนา นักศึกษาในการใช้หนังสืออ้างอิง
บัตรรายการและคู่มอื สาหรับการคน้ เรือ่ ง

4. หอ้ งสมดุ โรงเรยี น
เป็นห้องสมุดที่ตั้งอยู่ในโรงเรียนมัธยมและโรงเรียนประถมศึกษา มีหน้าที่ส่งเสริมการเรียน การสอน

ตามหลักสูตร โดยการรวบรวมหนังสือและส่ือความรู้อ่ืน ๆ ตามรายวิชา แนะนา สอนการใช้ ห้องสมุดแก่
นักเรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน แนะนาให้รู้จักหนังสือท่ีควรอ่าน ให้รู้จักวิธีศึกษา ค้นคว้าหา
ความรู้ด้วยตนเอง ให้รู้จักรักและถนอมหนังสือ และเคารพสิทธิของผู้อ่ืนในการใช้ห้องสมุดและ ยืมหนังสือซึ่ง
เป็นสมบตั ขิ องทุกคน รว่ มกนั รว่ มมอื กับครอู าจารย์ในการจัดชั่วโมงใช้หอ้ งสมุด จัดหนังสือ และสื่อการสอนอื่น
ๆ ตามรายวิชาให้แก่ครูอาจารย์
5. หอ้ งสมุดเฉพาะ

เป็นห้องสมดุ ซง้ึ รวบรวมหนังสือในสาขาวิชาบางสาขาโดยเฉพาะ มักเป็นส่วนหนึ่งของ หน่วยราชการ
องค์การ บริษัทเอกชน หรือธนาคาร ทาหน้าที่จดหาหนังสือและให้บริการความรู้ ข้อมูล และ ข่าวสารเฉพาะ
เร่ืองที่เก่ียวข้องกับการดาเนินงานของหน่วยงานน้ัน ๆ ห้องสมุดเฉพาะจะเน้น การรวบรวม รายงานการ
คน้ ควา้ วิจัยวารสารทางวิชาการ และเอกสารเฉพาะเรือ่ งท่ีผลติ เพือ่ การใช้ในกล่มุ นักวิชาการ
บรกิ ารของหอ้ งสมดุ เฉพาะ จัดพมิ พ์ขา่ วสารเก่ยี วกับสิง่ พิมพเ์ ฉพาะเรอ่ื งส่งใหถ้ ึงผ้ใู ช้ จดั สง่ เอกสารและเร่ือง ย่อ
ของเอกสารเฉพาะเรือ่ งให้ถึงผู้ใชต้ ามความสนใจเป็นรายบุคคล

ในปจั จุบนั นี้ เนอื่ งจากการผลิตหนงั สือและส่งิ พมิ พ์อ่ืน ๆ โดยเฉพาะวารสารทางวิชาการ รายงาน การ
วิจัย และรายงานการประชมุ ทางวชิ าการมปี ริมาณเพิ่มขึน้ มากมาย แต่ละสาขาวิชา แยกย่อยเป็น รายละเอียด
ลึกซึ้ง จึงยากท่ีห้องสมุดแห่งใดแห่งหน่ึงจะรวบรวมเอกสารเหล่าน้ีได้หมดทุกอย่าง และ ให้บริการได้ทุกอย่าง
ครบถ้วน จึงเกิดมีหน่วยงานดาเนินการเฉพาะเร่ือง เช่น รวบรวม หนังสือและส่ิงพิมพ์ อ่ืน ๆ เฉพาะสาขาวิชา
ย่อย วิเคราะห์เนื้อหา จัดทาเรื่องย่อ และดรรชนีค้นเร่ืองนั้น ๆ แล้วพิมพ์ออกเผยแพร่ ให้ถึงตัวผู้ต้องการ
เรื่องราวข่าวสารและข้อมูล ตลอดจนเอกสารในเร่ืองน้ัน หน่วยงานท่ีทาหน้าที่ประเภทนี้ จะมีช่ือเรียกว่า ศูนย์
เอกสาร ศูนย์สารสนเทศ ศูนย์ข่าวสาร หรือศูนย์สารนิเทศ เช่น ศูนย์เอกสารการวิจัยทาง วิทยาศาสตร์ ศูนย์
ข่าวสารการประมง เปน็ ต้น ศนู ย์เหลา่ นี้บางศนู ย์เป็นเอกเทศ บางศูนยก์ เ็ ป็นส่วนหน่งึ ของ หอ้ งสมดุ บางศูนย์ก็
เป็นสว่ นหน่งึ ของ หน่วยงานเช่นเดยี วกับหอ้ งสมุดเฉพาะ
ห้องสมุดประชาชน

ในทีน้ีจะกล่าวถึงห้องสมุดประชาชนเป็นหลัก เน่ืองจากเป็นห้องสมุดที่ให้บริการในทุกอาเภอ และใน
กทม.บางเขต หรอื ใหบ้ รกิ ารประชาชนท่ัวไป และอย่ใู นชุมชนใกลต้ ัวนักศกึ ษามากที่สุด

ห้องสมุดประชาชน หมายถึง สถานท่ีจัดหา รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ เพ่ือการอ่าน และ
การศึกษาค้นคว้าทุกชนิด ทุกประเภท มีการจัดระบบหมวดหมู่ตามหลักสากล เพ่ือการบริการ และจัดบริการ
อย่างกว้างขวางแก่ประชาชนในชุมชน สังคม โดยไม่จากัดเพศวัย ความรู้ เชื้อชาติ ศาสนา รวมทั้งการจัด
กิจกรรมส่งเสริมการอา่ น โดยมบี รรณารักษ์เป็นผอู้ านวยความสะดวก

ห้องสมุดประชาชนดาเนินการโดยหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ สานักงาน กศน. (ห้องสมุด ประชาชน ท่ัว
ประเทศ) กรงุ เทพมหานคร (หอ้ งสมุดประชาชนในเขต กทม.) เทศบาล (หอ้ งสมดุ ประชาชนเทศบาล) เปน็ ตน้

ประเภทของหอ้ งสมดุ ประชาชน (สังกัดสานกั งาน กศน.)
หอ้ งสมุดประชาชน แบง่ ตามขนาดได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังน้ี
1. ห้องสมุดประชาชนขนาดใหญ่ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนจังหวดั ส่วนใหญ่ต้องอยใู่ นเขตอาเภอเมือง

และหอสมุดรัชมังคลาภิเษกพระราชวังไกลกังวล หัวหิน ซ่ึงมีลักษณะอาคารส่วนใหญ่เป็น 2 ช้ัน ช้ันบน
จัดบริการหนังสือ เอกสาร และส่ือเก่ียวกับการศึกษาตามหลักสูตระดับต่าง ๆ โดยจัดเป็นห้องการศึกษานอก
โรงเรยี นและหอ้ งโสตทศั นศกึ ษา ห้องหรือมุมหนังสือมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยรามคาแหง
และห้องหรือมุมศูนย์ข้อมูลชุมชนท้องถิ่น เป็นต้น ส่วนช้ันล่างจัดเป็นช้ันหนังสือ และบริการหนังสือเอกสาร
ส่ือความรู้ทางวิชาการ สารคดีโดยท่ัวไป และจัดบริการหนังสือสาหรับเด็ก สื่อหรับเด็กเยาวชน มุมจัด
กจิ กรรมสาหรบั เดก็

2. หอ้ งสมุดประชาชนขนาดกลาง ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”ลักษณะอาคาร เป็น
2 ช้ัน มีรูปแบบอาคารเหมือนกันเกือบทุกแห่ง ชั้นบนจัดเป็นห้องศูนย์ข้อมูลท้องถ่ินบริการ เก่ียวกับข้อมูล
ชมุ ชน หอ้ งการศกึ ษานอกโรงเรยี นบริการส่ือความรู้หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน ทุกหลักสูตร ทุกประเภท
ตลอดจนห้องโสตทัศนศึกษาและห้องการศึกษาดาวเทียมไทยคม และห้องสาคัญที่สุดห้องหนึ่ง คือ ห้องเฉลิม
พระเกียรตฯิ จดั บริการข้อมลู เก่ยี วกบั พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจโครงการในพระราชดาริหนังสือพระ
ราชนิพนธ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และพระ ราชวงศ์ท่ีเกี่ยวข้อง เป็นต้น ‘ชั้น
ลา่ งจัดบริการมุมเดก็ ซึ่งประกอบดว้ ยสื่อความรู้สาหรับเดก็ เครอื่ งเลน่ พัฒนาความพร้อม สื่อความรู้ทุกประเภท
รวมทั้งเป็นท่ีจัดกิจกรรมสาหรับเด็ก และจัดส่ือ เอกสารหนังสือวิชาการ สารคดีความรู้ทั่วไปสาหรับผู้ใหญ่
ประชาชนทั่วไป ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เป็นห้องสมุดที่ได้พระราชทานพระราชานุญาติจาก
สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีในวโรกาสท่ีทรงมีพระชนมายุครบ 36 พรรษาและพระองค์
ทรงเสด็จเปิดห้องสมุดประชาชน เฉลมิ ราชกมุ ารี” ทกุ แหง่ ดว้ ยพระองคเ์ อง

3. ห้องสมุดประชาชนขนาดเล็กได้แก ห้องสมุดประชาชนอาเภอท่ัวไป จัดบริการหนังสือและ สื่อ
ความร้ปู ระเภทต่าง ๆ จดั มุมเดก็ และครอบครัว มมุ วารสารหนงั สือพิมพ์มุมการศึกษานอกโรงเรยี นและ หนังสือ
วิชาการ สารคดีท่ัวไปรวมท้งั หนังสอื อ้างอิง เป็นต้น
ความสาคญั ของหอ้ งสมุดประชาชน

ห้องสมุดประชาชนมีความสาคัญเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาคนในชุมชน และของประเทศ ในทุก
ดา้ น ดังนี้

1. เปน็ แหลง่ กลางในการจัดหารวบรวม และบริการข้อมูลข่าวสารสาคัญที่ทันเหตุการณ์ และ ความ
เคล่อื นไหวของโลกทีป่ รากฏในรูปลักษณ์ตา่ ง ๆ มาไว้บรกิ ารแกป่ ระชาชน

2. เป็นแหล่งเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัยท่ีให้พื้นฐานความคิดของประชาชนโดย ส่วนรวมและ เป็น
พืน้ ฐานความเติบโตทางสติปญั ญาและวฒั นธรรมอย่างต่อเนอื่ งตลอดชวี ิต

3 เปน็ ศูนยข์ อ้ มูลชุมชนในการส่งเสริมกจิ กรรมดา้ นการศกึ ษาและวฒั นธรรมของชมุ ชน
4. เป็นแหล่งกลางที่จะปลูกฝังให้ประชาชนมีนิสัยรักการอ่าน การศึกษาค้นคว้าหาความรู้การ
ศึกษาวจิ ัย

5. เป็นแหล่งท่ีประชาชนสามารถใช้หนังสือ สื่อความรู้ต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์อย่างเต็มที่ ตาม
ความตอ้ งการและสภาพแวดลอ้ มของประชาชน

6. เปน็ แหล่งสนับสนนุ การเผยแพรค่ วามรูค้ วามคิด ทศั นคติประสบการณ์ในรูปแบบของสอ่ื ตา่ ง ๆ
7. เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงการศึกษานอกระบบ การศึกษาในระบบ และเช่ือมโยง แหล่ง
เรยี นรู้ต่าง ๆ
1. การบรกิ ารภายในห้องสมดุ
ห้องสมุดประชาชนทุกประเภทจะจัดบริการภายในห้องสมุดตามความเหมาะสมของแต่ละ ห้องสมุด และการ
สนองตอบความต้องการของผู้รับบริการ ดงั น้ี
1.1 บริการการอ่าน การศึกษาค้นคว้า จดั สื่อตา่ ง ๆ ในพน้ื ที่ท่ีถกู จัดเป็นสดั ส่วน และสิ่งอา นวย ความ
สะดวกตา่ ง ๆ
1.2 บริการสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์ เพ่ือการเข้าถึงสารสนเทศท่ีต้องการได้อย่างรวดเร็ว ด้วย
โปรแกรม PLS (Public Library Service) โดยจดั บรกิ ารเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพ่อื การสบื คน้ และ แนะนาการใช้
1.3 บรกิ ารสบื คน้ ดว้ ยตู้บัตรรายการ โดยสารสนเทศทกุ ประเภท ทุกชนิด จะถูกจัดทารายการค้น เป็น
บัตรรายการ จัดเรียงไว้ในตู้บัตรรายการ แยกประเภทเปน็ บัตรผู้แตง่ บัตรช่ือหนังสอื และบตั รเรื่อง รวมท้ังบัตร
ดรรชนีต่าง ๆ ไวบ้ ริการ
1.4 บริการยืม -คืน หนังสือ - สอ่ื ความร้ตู า่ ง ๆ ให้ผใู้ ช้บรกิ ารยมื อา่ นนอกหอ้ งสมุด โดยแต่ละ แห่งจะ
กาหนด กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ฯลฯ ตามความเหมาะสมของแต่ละห้องสมุด และมีการใช้ระบบ เทคโนโลยีใน
การบรกิ ารทร่ี วดเรว็
1.5 การบรกิ ารแนะแนวการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั แกน่ ักศึกษา และ ประชาชน
ผูส้ นใจทัว่ ไป
1.6 บริการสื่อเอกสารของสถาบันอุดมศึกษา ทั้งของมหาวิทยาลัยรามคาแหง
มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
1.7 บริการข้อมูลสารสนเทศและเอกสารงานวิจยั ต่าง ๆ รวมทัง้ หนังสอื อา้ งองิ
1.8 บริการการเรียนรกู้ ารใช้คอมพวิ เตอรโ์ ปรแกรมต่าง ๆ อนิ เทอร์เน็ต สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ตา่ ง ๆ
1.9 บริการสถานที่จัดกิจกรรมเสรมิ ความรู้ต่าง ๆ
1.10บริการแนะนา ให้ความรู้แก่นักเรียน นักศึกษา สถาบันต่าง ๆ รวมทั้งประชาชนในการรู้จักใช้
หอ้ งสมดุ ประชาชน
1.11บริการแนะนา ทางบรรณารักษศาสตร์แก่บุคลากรเครือข่ายในการจัดปรับปรุง พัฒนา แหล่ง
เรียนรหู้ อ้ งสมุดของทอ้ งถน่ิ
1.12บรกิ ารฝกึ ประสบการณ์การปฏบิ ัตงิ านห้องสมุดแก่นักเรียน นักศึกษา สถาบันตา่ ง ๆ

2. การบริการภายนอกหอ้ งสมดุ
2.1 บริการหอ้ งสมดุ เคล่ือนที่กบั หน่วยงานองค์กรทอ้ งถ่ิน
2.2 บริการหมุนเวียนส่ือในรูปแบบต่าง ๆ ไปยังศูนย์การเรียน แหล่งความรู้ ครอบครัว ฯลฯ ท่ีอยู่

หา่ งไกลห้องสมุด ในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ เป้ ย่าม หีบ กระเป๋า ฯลฯ
2.3 บรกิ ารความรทู้ างสถานีวิทยโุ ทรทศั น์หอกระจายข่าวเสยี งตามสายแผ่นพับ แผน่ ปลวิ ฯลฯ
2.4 บริการสอื่ ต่าง ๆ แกบ่ คุ ลากร กศน. ทง้ั ครูวิทยากร นักศึกษากลุ่มการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ


Click to View FlipBook Version