เรือ่ งท่ี 3 ทักษะการเขาถงึ สารสนเทศของห้องสมดุ ประชาชน
ปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ช่วยลดขั้นตอนการหาข้อมูลของห้องสมุดประชาชน ผู้เรียน
สามารถค้นหาได้จากอินเทอร์เน็ตว่ามีห้องสมุดประชาชนท่ีใดบ้าง สถานที่ตั้ง เวลาเปิด - ปิด หมายเลข
โทรศัพท์ กจิ กรรมทใ่ี หบ้ ริการ ชว่ ยใหผ้ ู้ใช้สะดวกและสามารถเขา้ ถงึ หอ้ งสมดุ ไดง้ า่ ย
ห้องสมุดทุกประเภททุกชนิดจะมีการจัดระบบหมวดหมู่ของสารสนเทศ โดยมีวัตถุประสงค์สาคัญ
เพ่อื ให้ประชาชนเขา้ ถึงสิ่งทต่ี อ้ งการสนใจไดง้ า่ ย สะดวกรวดเร็ว และสะดวกในการบรหิ ารจัดการห้องสมุด เพ่ือ
การบรกิ ารกลุ่มเปา้ หมายในระยะยาว
ระบบหมวดหม่ทู ่หี ้องสมุดนามาใช้จะเป็นระบบสากลท่ีทั่วโลกใช้ และเหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย เข้าถึง
ไดง้ ่าย ระบบทีน่ ิยมใชใ้ นประเทศไทยเป็นสว่ นใหญ่ มี 2 ระบบ ได้แก่ ระบบทศนยิ ม ของดวิ อ้ี ซ่ึงใช้ตัวเลข
อารบิกเป็นสัญลักษณ์ แทนหมวดหมู่สารสนเทศ นิยมใช้ในห้องสมุดประชาชน กับอีกระบบหน่ึง ได้แก่ ระบบ
รัฐสภาอเมริกัน ใช้อกั ษรโรมนั (A - Z) เปน็ สัญลักษณ์ นยิ มใช้ในหอ้ งสมุดมหาวทิ ยาลัย
ระบบทศนิยมของ ดิวอี้ แบ่งความรู้ในโลกออกเป็นหมวดหมู่จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดย่อย จาก
หมวดยอ่ ยแบ่งเป็นหมยู่ ่อย และหมู่ย่อยๆ โดยใชเ้ ลขอารบิก 0 - 9 เปน็ สญั ลกั ษณ์ ดงั น้ี
000 สารวิทยาความรู้เบด็ เตลด็ ท่ัวไป
100 ปรัชญาและวิชาที่เกี่ยวขอ้ ง
200 ศาสนา
300 สงั คมศาสตร์
400 ภาษาศาสตร์
500 วิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์บริสทุ ธ์ิ)
600 เทคโนโลยี (วทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ต์)
700 ศลิ ปกรรมและการบนั เทงิ
800 วรรณคดี
900 ภูมศิ าสตรแ์ ละประวัติศาสตร์
ระบบรัฐสภาอเมริกา (Library of Congress Classification)
ห้องสมดุ มหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทยสว่ นใหญใ่ ช้ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ซึ่งปรับปรุง และ
พัฒนาโดย เฮอร์เบริ ด์ (Herbirt Putnum) เมือ่ ปี พ.ศ. 2445
ระบบหอสมดุ รัฐสภาอเมรกิ ันแบ่งหมวดหมู่วิชาออกเป็น 20 หมวด ใชอ้ กั ษรโรมนั ตัวใหญ่ A - Z
ยกเว้นตัวอกั ษร I, O, W, X, Y เพ่อื สาหรบั การขยายหมวดหมวู่ ชิ าการใหม่ ๆ ในอนาคต
ตารางการแบ่งหมวดหมหู่ นงั สอื ระบบหอสมดุ อเมรกิ นั แบง่ หมวดหมวู่ ิชาการเป็น 20 หมวดใหญ่ ดงั นี้
1. หมวด A : ความรทู้ ั่วไป
2. หมวด B : ปรชั ญา ศาสนา
3. หมวด C : ประวัติศาสตร์
4. หมวด D : ประวตั ศิ าสตร์สากล
5. หมวด E-F : ประวัตศิ าสตรอ์ เมริกา
6. หมวด G : ภมู ศิ าสตร์ มานษุ ยวิทยา คติชนวิทยา
7. หมวด H : สังคมศาสตร์
8. หมวด J : รฐั ศาสตร์
9. หมวด K : กฎหมาย
10. หมวด L : การศึกษา
11. หมวด M : ดนตรี
12. หมวด N : ศิลปกรรม
13. หมวด P : ภาษาและวรรณคดี
14. หมวด Q : วิทยาศาสตร์
15. หมวด R : แพทยศาสตร์
16. หมวด S : เกษตรศาสตร์
17. หมวด T : เทคโนโลยี
18. หมวด U : วิชาการทหาร
19. หมวด V : นาวิกศาสตร์
20. หมวด Z : บรรณารักษศาสตร์
สาหรบั หอ้ งสมดุ ประชาชนซงึ่ ผู้ใช้บริการเปน็ ประชาชนท่ัวไป การจดั หมวดหมูห่ นังสอื นอกจาก ระบบ
ดังกล่าวแลว้ ยงั มีชื่อหมวดหนังสอื และสอ่ื เพอ่ื เพิ่มความสะดวกในการค้นหา เชน่ นวนยิ าย เร่ืองสั้น สารคดี
ประวตั ศิ าสตร์ วิทยาศาสตร์ กีฬา นันทนาการ เป็นต้น
การเขา้ ถงึ สารสนเทศห้องสมุดประชาชน
หอ้ งสมุดประชาชนมีหลากหลายสงั กัด เชน่ สงั กดั สานกั งาน กศน. สังกัดกรุงเทพมหานคร สงั กัด
เทศบาล การจัดระบบการสบื คน้ ห้องสมุดประชาชนได้อานวยความสะดวกในการสบื คนส้ าร สนเทศ ดังนี้
1. การใช้โปรแกรมเพ่อื การสืบคน้ ในยุคปจั จบุ ันสานักงาน กศน. ไดพ้ ฒั นาโปรแกรม เพื่อบริหาร
จัดการงานหอ้ งสมดุ ใหค้ รบวงจร เช่น ข้อมูลหนงั สอื สือ่ ขอ้ มลู สมาชกิ ขอ้ มูลอ่ืน ๆ ดังน้นั หากผูใ้ ช้บริการ
ต้องการรู้วา่ มหี นังสือหรือสือ่ ท่ีตอ้ งการในหอ้ งสมุดแห่งน้ันหรอื ไม่ ก็สามารถค้นหาไดด้ ว้ ย โปรแกรมดังกลา่ ว ซ่ึง
ห้องสมุดจะมคี อมพวิ เตอร์ให้สืบคน้ ได้ด้วยตนเอง โดยพมิ พค์ าที่เกี่ยวข้องกบั หนังสือ เช่น ประวัตศิ าสตร์ สตั ว์
เลย้ี งลูกดว้ ยนม การศกึ ษา โลกร้อน ฯลฯ ส่วนรายละเอยี ดวธิ กี ารใช้โปรแกรม สามารถศกึ ษาได้จากห้องสมดุ
ประชาชนแหง่ น้ัน
2. การสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศดว้ ยบัตรรายการ หอ้ งสมุดประชาชนบางแห่งอาจยงั จัดบรกิ ารสืบค้น
ดว้ ยบัตรรายการ ซง่ึ มลี ักษณะเปน็ บตั ร แข็ง เก็บไว้ในล้นิ ชกั รายการ
ตัวอย่างลักษณะของตวั รายการ
636.53 วรวทยิ ์วณิชาภิชาตวิ 2812 ไข่และการฟกั ไข่ วรวิทย์ วณชิ าภิชาติ พมิ พค์ รงั้ ที่ 3. กรุงเทพฯ ร้ัวเขียว
2531. 240 หนา้ ภาพประกอบ : 25 ซ.ม. “หนงั สอื นีไ้ ดร้ บั ทุนอุดหนุนการแต่งตารางและเอกสารการสอนของ
คณะทรพั ยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลา นครนิ ทร์” ISBN 974-605-041-9 1. ไข่
2. ช่อื เร่ือง เลขเรียกหนังสอื
จังหวัด/ เมอื งทพ่ี ิมพ์
จานวนหนา้ ของหนงั สือ
เร่ือง/หัวเรื่อง
ชื่อผู้แต่ง ช่อื หนังสือ
สานกั พิมพ์/ โรงพิมพ์
ปีท่ีพมิ พ์