The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่องที่ 4 การใช้แหล่งเรียนรู้สำคัญๆ ภายในประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by porneura532193, 2022-07-10 10:46:07

เรื่องที่ 4 การใช้แหล่งเรียนรู้สำคัญๆ ภายในประเทศ

เรื่องที่ 4 การใช้แหล่งเรียนรู้สำคัญๆ ภายในประเทศ

เรื่องท่ี 4 : การใช้แหลง่ เรยี นรสู้ ําคญั ๆ ภายในประเทศ

ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี”
ในโอกาสม่ิงมงคลสมัยที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ 36

พรรษา เมื่อปีพุทธศักราช 2534 กระทรวงศึกษาธิการได้รับพระราชทานพระราชานุญาติ ให้ดา เนิน โครงการ
จัดต้ังห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี เพ่ือเฉลิมพระเกียรติ และเพ่ือสนอง แนวทาง พระราชดําริในการ
สง่ เสริมการศึกษาสาํ หรบั ประชาชนทไ่ี ดท้ รงแสดงในโอกาสตา่ ง ๆ เชน่

ในโอกาสที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสด็จเป็นองค์ประธานในการประชุมสัมชชาสากล ว่าด้วย
การศกึ ษาผใู้ หญ่ เมื่อวนั ที่ 12 มกราคม 2533 ได้ทรงพระราชทานลายพระหตั ฤทัยชวนให้

“ร่วมกันทําใหช้ าวโลกอา่ นออกเขยี นได้”
และในบทพระราชนิพนธ์เร่อื ง “หอ้ งสมุดในทศันะของข้าพเจา้ ” ไดท้ รงกล่าวว่า
“...ความรู้ของมนุษย์เป็นมรดกท่ีตกทอดกันมาแต่โบราณ เม่ือมีการประดิษฐ์คิดค้นอักษรข้ึน ความรู้ก็
ได้บันทึกความรู้ของตน สิ่งท่ีตนค้นพบเป็นการจารึก หรือเป็นหนังสือทา ให้บุคคลอื่น กลุ่มเดียวกัน หรืออนุชน
รุ่นหลังได้มีโอกาสศึกษาทราบถึงเร่ืองน้ัน ๆ และได้ใช้ความรู้เก่า ๆ เป็นพ้ืนฐาน ท่ีจะหา ประสบการณ์คิดค้นสิ่ง
ใหม่ ๆ ทเ่ี ป็นความก้าวหนา้ เป็นความเจรญิ สบื ตอ่ ไป...
ห้องสมุดเป็นสถานท่ีเก็บเอกสารต่าง ๆ อันเป็นแหล่งความรู้ดังกล่าว แล้วจึงเรียกได้ว่า เป็นครู เป็นผู้
ช้ีนําให้เรามีปัญญาวิเคราะห์วิจารณ์ให้รู้ส่ิงควรรู้อันชอบด้วยเหตุผลได้ ข้าพเจ้าอยากให้เรามีห้องสมุดท่ีดี มี
หนังสือครบทุกประเภทสา หรับประชาชน...” ด้วยความจงรักภักดีและความมุ่งมั่นศรัทธาที่จะร่วมสนอง
แนวทางพระราชดําริในการส่งเสริม โอกาสทางการศึกษา ภายในปี 2533 และ 2534 ได้มีประชาชนในแต่ละ
พ้ืนท่ี หน่วยงาน ภาครัฐและ ภาคเอกชนให้ความสนับสนุนกระทรวงศึกษาธิการจัดต้ังห้องสมุดประชาชน
“เฉลิมราชกุมารี” จา นวน 59 แห่ง ในพ้ืนท่ี 47 จังหวัด เกินเป้าหมายท่ีกําหนดไว้เดิม 37 แห่ง และนับ
เน่ืองจากน้ัน ยังมีข้อเสนอจากจังหวัดต่างๆ ขอเข้าร่วมโครงการเพิ่มเติมจวบจนปัจจุบันมีห้องสมุดประชาชน
“เฉลิมราชกุมารี” จา นวน 82 แห่ง (ข้อมูลจากสถาบันพัฒนาวัตกรรมการเรียนรู้ สา นักงาน กศน.
พฤศจิกายน 2553)
บทบาทหนา้ ท่ี
1. ศูนย์ข่าวสารข้อมูลของชุมชน หมายถึง การจัดห้องสมุดให้เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ ค้นคว้า วิจัย
โดยมีการจัดบริการหนังสือ เอกสารส่ิงพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ ตลอดจนการจัดทําทําเนียบ และการแนะแนว แหล่ง
ความร้อู ่นื ๆ ที่ผู้ใช้บรกิ ารสามารถไปศึกษาเพ่ิมเตมิ
2. ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน หมายถึง การเป็นแหล่งส่งเสริม สนับสนุน และจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ท่ีหลากหลาย โดยห้องสมุดอาจดา เนินการเอง หรือประสานงานอํานวยความสะดวก ให้ ชุมชน หรือ
หน่วยงานภายนอกมาจัดดําเนินการ กิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดขึ้นจะให้ความสําคัญแก่การจัดกิจกรรมส่งเสริม
การอ่าน การแนะแนว การศึกษา และการพัฒนาอาชีพ การสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง การจัดการศึกษา
นอกโรงเรียน สายสามัญ การจัดกลุ่มสนใจและชั้นเรียนวิชาชีพ การส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยในรูปของ

นิทรรศการ การอภิปรายการเรียนรู้ระหว่างสมาชิกในครอบครัว การถ่ายทอดความรู้จากผู้รู้ในชุมชน และการ

แสดง ภาพยนตรแ์ ละสอื่ โสตทศั น์
3. ศูนย์กลางจัดกิจกรรมของชุมชน หมายถึง การให้บริการแก่ชุมชนในการจัดกิจกรรม การศึกษา

และศิลปวัฒนธรรม เช่น การประชุมขององค์กรท้องถ่ินและชมรมต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ การแสดง

ผลิตภัณฑ์ การจัดกิจกรรมวันสําคัญตามประเพณี การจัดสวนสุขภาพ สนามเด็กเล่น และ สวนสาธารณะ เป็น

ตน้
4. ศูนย์กลางสนับสนุนเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน หมายถึง การจัดให้เกิดกระบวนการท่ีจะเชื่อม

ประสานระหว่างห้องสมุดและแหล่งความรู้ในชุมชนอื่นๆ เช่นท่ีอ่านหนังสือประจําหมู่บ้าน สถานศึกษา แหล่ง
ประกอบการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้วยการผลิตและเผยแพร่เอกสารสิ่งพิมพ์ไปสนับสนุน เวียนหนังสือจัดทํา

ทําเนยี บผู้รใู้ นชมุ ชน จดั กจิ กรรมเพอ่ื ใหเ้ กิดการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ระหว่างชุมชน เปน็ ต้น
อาคารหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”

ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ที่จัดสร้างขึ้นในรุ่นแรกจะเป็นอาคาร 2 ช้ัน มีเนื้อที่ ใช้สอย
ประมาณ 320 ตารางเมตร และมีรูปทรงท่ีคล้ายคลึงกัน จะต่างกันเฉพาะบริเวณหลังคาและจ่ัว ทั้งนี้เป็นไป

ตามมติของคณะกรรมการอํานวยการโครงการท่ีกําหนดให้ห้องสมุด มีทั้งเอกลักษณะเฉพาะของ ห้องสมุด
ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” และในขณะเดียวกนั ให้มเี อกลกั ษณ์เฉพาะภาค


Click to View FlipBook Version