The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการการระบายน้ำ ครั้งที่ 14/2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chaiwut Jangjarust, 2023-11-28 22:14:10

เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการการระบายน้ำ ครั้งที่ 14/2566

เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการการระบายน้ำ ครั้งที่ 14/2566

เอกสารประกอบการประชุม ในระเบียบวาระที่ 2 และระเบียบวาระที่ 3 คณะกรรมการการระบายน้ำ ครั้งที่ 14/2566 วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน 2566 ณ ห้องประชุม 8 อาคารไอราวัตพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ดินแดง


ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการการระบายน้ำ ครั้งที่ 14/2566 วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน 2566 ณ ห้องประชุม 8 อาคารไอราวัตพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ดินแดง _______________________ ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 13/2566 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2566 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา - ความคืบหน้าในการดำเนินงานตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2567 ของสำนักการระบายน้ำ ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่น ๆ _______________________


รายงานการประชุม คณะกรรมการการระบายน้ำ ครั้งที่ 13/2566 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน 2566 ณ ห้องประชุม 8 อาคารไอราวัตพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ดินแดง ผู้มาประชุม 1. นายสัณห์สิทธิ์ เนาถาวร ประธานกรรมการ 2. นายพีรพล กนกวลัย รองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง 3. นายอภิวัฒน์ ด่านศรีชาญชัย รองประธานกรรมการ คนที่สอง 4. นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ กรรมการ 5. นายฉัตรชัย หมอดี กรรมการ 6. นายณรงค์ศักดิ์ ม่วงศิริ กรรมการ 7. นายเนติภูมิ มิ่งรุจิราลัย กรรมการ 8. นายประพฤทธ์ หาญกิจจะกุล กรรมการ 9. นายสมชาย เต็มไพบูลย์กุล กรรมการ 10. นายสุรจิตต์ พงษ์สิงห์วิทยา กรรมการ 11. นางสาวอังคณา หงษ์คณานุเคราะห์ เลขานุการ 12. นายชัยวุฒิ แจ้งจรัส ผู้ช่วยเลขานุการ 13. นางสาวจุฑามาศ พลสุงเนิน ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ไม่มาประชุม 1. นายสุชัย พงษ์เพียรชอบ กรรมการ (ลา) 2. นายธนวัฒน์ เชิดชูกิจกุล กรรมการ (ลา) ผู้เข้าร่วมประชุม 1. นางสาวรัชนีกร ธรรมเกตุ เลขานุการสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร 2. นายณทศพล จันทร์ลอย ผู้อำนวยการส่วนระบบควบคุมน้ำ พระนคร 3. นางปาจรีย์ องค์โชติยะกุล หัวหน้ากลุ่มงานระบบโทรมาตร กองสารสนเทศระบายน้ำ 4. นางสาวศิริประภัสร์ มินทมอน นักจัดการงานทั่วไป เริ่มประชุมเวลา 10.00 น. เมื่ออนุกรรมการมาครบองค์ประชุมแล้ว ประธานกล่าวเปิด ประชุมและดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุม ดังนี้


- 2 - ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานจะแจ้งให้ที่ประชุมทราบ - ไม่มี - ระเบียบวาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 11/2566 เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2566 และ ครั้งที่ 12/2566 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2566 มติที่ประชุม รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 11/2566 และครั้งที่ 12/2566 โดยไม่มีการแก้ไข ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา 3.1 เลือกประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และตั้งเลขานุการ ในคณะกรรมการการระบายน้ำ 3.2 การควบคุมประตูระบายน้ำด้วยเครือข่ายในระบบ SCADA เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม ของกรุงเทพมหานคร 3.1 เลือกประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และตั้งเลขานุการ ในคณะกรรมการการระบายน้ำ สืบเนื่องจากคณะกรรมการการระบายน้ำ มีการหมุนเวียนการดำรง ตำแหน่งประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และเลขานุการ วาระละ 1 ปี โดยนายอภิวัฒน์ ด่านศรีชาญชัย ประธานกรรมการ นายพีรพลกนกวลัย รองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง นายสุชัย พงษ์เพียรชอบ รองประธานกรรมการ คนที่สอง และนางสาวรัชนีกร ธรรมเกตุ เลขานุการ ได้ดำรงตำแหน่งครบ 1 ปี ตามวาระแล้ว จึงขอให้ที่ประชุมลงมติเลือก ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และตั้งเลขานุการ ในคณะกรรมการการระบายน้ำ นายอภิวัฒน์ ด่านศรีชาญชัย เสนอให้ นายสัณสิทธิ์ เนาถาวร เป็นประธานกรรมการ มติที่ประชุม เห็นชอบให้นายสัณสิทธิ์ เนาถาวร ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ท่านใดจะเสนอรายชื่อรองประธานกรรมการ นายฉัตรชัย หมอดี เสนอให้ นายพีรพล กนกวลัย เป็นรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง และ นายอภิวัฒน์ ด่านศรีชาญชัย เป็นรองประธานกรรมการ คนที่สอง มติที่ประชุม เห็นชอบให้นายพีรพล กนกวลัย ดำรงตำแหน่งรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง และนายอภิวัฒน์ ด่านศรีชาญชัย ตำรงตำแหน่งรองประธานกรรมการ คนที่สอง


- 3 - ประธานกรรมการ เสนอตั้ง นางสาวอังคณา หงษ์คณานุเคราะห์เป็นเลขานุการ มติที่ประชุม เห็นชอบให้นางสาวอังคณา หงษ์คณานุเคราะห์ดำรงตำแหน่งเลขานุการ 3.2 การควบคุมประตูระบายน้ำด้วยเครือข่ายในระบบ SCADA เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม ของกรุงเทพมหานคร ประธานกรรมการ การประชุมในวันนี้เพื่อรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมประตูระบายน้ำ ด้วยเครือข่ายระบบ SCADA เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมของ กรุงเทพมหานคร นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ จากปัญหาในช่วงฤดูฝนที่ผ่านมา โดยเฉพาะเขตทุ่งครุที่มีพื้นที่ติดกับจังหวัด กรรมการ สมุทรปราการ เข้าใจว่าระบบ SCADA เป็น Software ที่จะส่งสัญญาณเตือนแจ้งระดับน้ำ แต่ก็ยังต้องให้เจ้าหน้าที่เปิด-ปิดสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำอยู่ สำนักการระบายน้ำ มีวิธีการบริหารจัดการอย่างไร เบื้องต้นขอให้ผู้แทนสำนักการระบายน้ำให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานของ สถานีเครือข่ายระบบ SCADA สถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำหลัก นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล ภาพรวมของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วม ประกอบด้วย ระบบติดตาม หัวหน้ากล่มงานระบบ และตรวจสอบระดับน้ำสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำ 75 แห่ง ระบบติดตามและตรวจสอบ โทรมาตร ระดับน้ำในคลองสายหลัก 255 แห่ง ระบบติดตามและตรวจสอบระดับน้ำท่วมบนถนนและ กองสารสนเทศ ในอุโมงค์ 108 แห่ง ระบบติดตามและตรวจสอบปริมาณน้ำและอัตราการไหลของน้ำ ระบายน้ำ ในแม่น้ำเจ้าพระยาและคลองสายหลัก 30 แห่ง โดยเรดาร์ตรวจอากาศจะส่งข้อมูล มาที่ Server และจะแสดงผลที่ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วม นายพีรพล กนกวลัย ระบบ SCADA เป็น Software ใช่หรือไม่ รองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล ระบบ SCADA เป็นระบบควบคุมและแสดงผลข้อมูลระยะไกล หัวหน้ากล่มงานระบบ โทรมาตร กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ในฐานะผู้แทนประชาชนมีหน้าที่ผลักดันงบประมาณ ซึ่งสภากรุงเทพกรรมการ มหานครได้อนุมัติงบประมาณในเรื่องของ Hardware Software ในแต่ละปีเป็นจำนวนมาก ขอทราบว่าระบบ SCADA ทำงานอย่างไร และใช้ข้อมูลใดในการตัดสินใจเปิด-ปิดสถานี สูบน้ำและประตูระบายน้ำ


- 4 - นายณทศพล จันทร์ลอย วัตถุประสงค์ของระบบ SCADA หลักๆ ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ผู้อำนวยการส่วนระบบ เพื่อการติดตาม และ 2. เพื่อการควบคุม ส่วนที่สำนักการระบายน้ำมีส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูล ควบคุมน้ำ พระนคร เพื่อการติดตาม นั่นก็คือค่าระดับน้ำในคลองต่างๆ เพื่อที่จะนำข้อมูลค่าระดับน้ำไปสู่การ ตัดสินใจเปิด-ปิด สถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำ ขอเรียนว่าการตัดสินใจส่วนใหญ่เป็นการ ตัดสินใจโดยตัวบุคคล การคำนวณด้วยเครื่องฯ จะพบปัญหา เช่น บางแห่งมีเรือสัญจรหรือ มีในเรื่องของขยะ การที่จะใช้ระบบ SCADA อัตโนมัติ100 เปอร์เซ็นต์เพื่อการเปิด-ปิดสถานี สูบน้ำและประตูระบายน้ำ อาจจะทำให้การอ่านค่าเกิดความคลาดเคลื่อนได้ เช่น ค่าระดับน้ำ ที่อ่านได้เป็นค่าที่เกิดจากการที่มีขยะติดที่ด้านหน้า ทำให้ระดับน้ำสูงขึ้น เพราะฉะนั้นระบบ SCADA ที่สำนักการระบายน้ำใช้อยู่ ส่วนใหญ่จะเป็นระบบเพื่อการติดตาม และใน ปีงบประมาณที่ พ.ศ. 2567 ได้รับงบประมาณในการพัฒนาระบบ โดยจะทำการติดตั้ง อุปกรณ์เพื่อให้สามารถควบคุมการทำงานของเครื่องสูบน้ำหรือประตูระบายน้ำในระยะไกล เพิ่มขึ้น นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ส่วนกลางเพียงรับรู้ระดับน้ำ ส่วนอำนาจในการตัดสินใจเปิด-ปิดสถานี กรรมการ สูบน้ำและประตูระบายน้ำจะอยู่ที่หน้างานใช่หรือไม่ นายณทศพล จันทร์ลอย แผนการควบคุมระดับน้ำ แบ่งเป็น แผน ก แผน ข และแผน ค ในช่วงฤดูฝน ผู้อำนวยการส่วนระบบ จะใช้แผน ก ควบคุมระดับน้ำให้อยู่ระดับต่ำ เพื่อรองรับน้ำฝน เป็นมาตรฐานที่เจ้าหน้าที่ ควบคุมน้ำ พระนคร ประจำสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำรับทราบ ส่วนในช่วงของฤดูแล้งจะใช้แผน ค ยกเว้นกรณีที่เป็นการควบคุมระดับน้ำที่ผิดไปจากแผนหรือเป็นกรณีพิเศษ ซึ่งจะเป็นการ ตัดสินใจหรือสั่งการจากส่วนกลาง นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ระบบ SCADA ทำอะไรได้บ้าง และเป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมาเองหรือสั่งซื้อ กรรมการ มาจากต่างประเทศ นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล ระบบ SCADA เป็นระบบวัดระดับน้ำในคลอง ซึ่งจะมีเครื่องมือเป็นลักษณะ หัวหน้ากล่มงานระบบ เหมือนการยิงสัญญาณเรดาร์ลงไปในน้ำ แล้วสัญญาณก็จะถูกส่งกลับมาที่ตู้อุปกรณ์และส่ง โทรมาตร ข้อมูลระดับน้ำที่วัดได้กลับมาที่ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วม กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ตามที่ชี้แจงเมื่อสักครู่ว่าระบบจะแจ้งไปที่ส่วนกลาง แต่สุดท้ายเจ้าหน้าที่ กรรมการ ประจำสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำก็จะเป็นผู้ตัดสินใจใช่หรือไม่ นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล ข้อมูลทั้งหมดจะถูกส่งมารวบรวมไว้ที่ส่วนกลาง ข้อมูลที่ได้จากระบบ หัวหน้ากล่มงานระบบ SCADA หรือระบบโทรมาตรเช่น ระบบวัดระดับน้ำ ระบบวัดปริมาณน้ำฝน เป็นต้น โทรมาตร กองสารสนเทศ ระบายน้ำ


- 5 - นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ Software นี้เป็น Software สำหรับรวบรวมข้อมูลของสถานีสูบน้ำและ กรรมการ ประตูระบายน้ำตามจุดต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร แสดงว่าระบบ SCADA เป็นเพียงระบบ รวบรวมข้อมูลและแสดงผล นายพีรพล กนกวลัย จากข้อมูล สุดท้ายเจ้าหน้าที่ประจำสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำจะเป็น รองประธานกรรมการ ผู้เปิด-ปิด ดังนั้นระบบ SCADA ก็ไม่มีประโยชน์ ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ คนที่หนึ่ง นายอภิวัฒน์ ด่านศรีชาญชัย ทุกประตูระบายน้ำมีระบบเปิด-ปิดหรือไม่ หรือบางประตูยังเป็นระบบ รองประธานกรรมการ manual อยู่ ประตูระบายน้ำในกรุงเทพมหานครมีกี่ประตู คนที่สอง นายณทศพล จันทร์ลอย ประตูระบายน้ำมีประมาณ 240 ประตูส่วนใหญ่เป็นแบบ manual ผู้อำนวยการส่วนระบบ เกือบทั้งหมด สำนักการระบายน้ำพยายามที่จะพัฒนาโดยนำระบบเทคโนโลยีมาใช้ เต่ติด ควบคุมน้ำ พระนคร ปัญหาในเรื่องของขยะ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญ และสถานีสูบน้ำก็มีทรัพย์สิน เช่น เครื่องจักร ก็จะมีความกังวลในเรื่องของความปลอดภัย ปัจจุบันมีประตูระบายน้ำที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ประจำ จะควบคุมโดยใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาช่วย และที่ผ่านมาจะใช้วิธีให้เจ้าหน้าที่ประจำ สถานีสูบน้ำหรือประตูระบายน้ำที่อยู่ใกล้ๆ เข้าไปเปิด-ปิด แต่ก็อาจจะพบปัญหา ความล่าข้าอยู่บ้าง ในเรื่องของการจราจรติดขัด กองสารสนเทศฯ จึงพัฒนาระบบ SCADA เข้ามาช่วย ซึ่งได้รับงบประมาณแล้ว อยู่ระหว่างการติดตั้ง โดยจะพิจารณาว่าจุดใดบ้าง ที่สามารถทำได้ เป็นการสั่งการจากสถานีที่ควบคุมประตูระบายน้ำในโซนนั้นตั้งอยู่ จะยังไม่ใช่เป็นการสั่งการจากส่วนกลางหรือที่ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วม เพราะศูนย์ฯ อาจจะไม่เห็นพื้นที่ทั้งหมด แต่ถ้าถามว่าระบบ SCADA มีประโยชน์หรือไม่ มีประโยชน์เพราะ เจ้าหน้าที่สามารถเข้าไปดูข้อมูลระบบตรวจวัดโทรมาตรได้ที่ website ของสำนักการระบายน้ำ เพื่อที่จะควบคุมระดับน้ำได้ตามแผนฯ นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล ปัจจุบันระบบ SCADA เป็นระบบเพื่อการติดตามสถานะ ในปีงบประมาณ หัวหน้ากล่มงานระบบ พ.ศ. 2567 สำนักการระบายน้ำ ได้รับงบประมาณรายการค่าใช้จ่ายในการจัดหาพร้อม โทรมาตร ติดตั้งสถานีเครือข่ายระบบ SCADA สถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำหลัก เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี กองสารสนเทศ ในการสนับสนุนการปฏิบัติการระบบควบคุมและบริหารสั่งการของศูนย์ควบคุมระบบ ระบายน้ำ ป้องกันน้ำท่วม และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้ติดตั้งระบบ SCADA ที่บ่อสูบน้ำไฟฟ้า และเครื่องสูบน้ำดีเซลนำร่องไปแล้วจำนวนหนึ่ง นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ จากทั้งหมด 100 เปอร์เซ็นต์ในกรุงเทพมหานคร ใช้ระบบนี้มอนิเตอร์ กรรมการ ได้แล้วกี่จุด


- 6 - นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล มีสถานีสูบน้ำที่สามารถติดตามสถานะได้ 48 สถานี ปีที่ผ่านมานำร่อง หัวหน้ากล่มงานระบบ ในเรื่องของระบบสั่งการบ่อสูบน้ำไฟฟ้า 30 แห่ง โทรมาตร กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ตั้งงบประมาณดำเนินการเพิ่มอีกกี่จุด กรรมการ นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ติดตั้งที่บ่อสูบน้ำไฟฟ้า 30 แห่ง เช่น หัวหน้ากล่มงานระบบ บ่อสูบน้ำพงษ์เพชร และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จะติดตั้งที่สถานีสูบน้ำและประตู โทรมาตร ระบายน้ำหลัก 32 แห่ง ให้สามารถติดตามสถานะและสั่งการได้ กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ตามที่ได้ตรวจเยี่ยมการทำงานของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมจะ กรรมการ เห็นทั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มองเห็นระดับน้ำและกล้อง CCTV บริเวณประตู ระบายน้ำเป็นกล้องตัวเดียวกันหรือไม่ นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมได้บูรณาการข้อมูลร่วมกับสำนักการจราจร หัวหน้ากล่มงานระบบ และขนส่ง โดยการเชื่อมโยงข้อมูลจากกล้อง CCTV ของสำนักการจราจรและขนส่งที่ใช้ โทรมาตร ดูสภาพการจราจร เพื่อที่สำนักการระบายน้ำจะได้เห็นสภาพน้ำท่วมในช่วงฤดูฝน และ กองสารสนเทศ ใน website ของสำนักการระบายน้ำจะเห็นกล้อง CCTV ที่สำนักการจราจรและขนส่ง ระบายน้ำ ติดตั้งไว้ที่ประตูระบายน้ำทำให้มองเห็นแผงวัดระดับน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ระบบ SCADA เป็น Software สำเร็จรูปที่ซื้อมาจากต่างประเทศหรือ กรรมการ พัฒนาขึ้นมาเอง นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล ใช้วิธีจ้างเหมาเพื่อพัฒนาระบบให้สามารถบันทึกข้อมูลและสั่งการได้เพื่อ หัวหน้ากล่มงานระบบ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน โทรมาตร กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ระบบ SCADA พัฒนาเมื่อปีพ.ศ. 2538 และอีก 10 ปี จึงมีการพัฒนา กรรมการ อีกครั้ง โดยใช้งบประมาณ จำนวน 200,000,000 บาท และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้พัฒนาระบบ SCADA โดยเพิ่มระบบสั่งการนำร่องที่บ่อสูบน้ำ หากในอนาคตเจ้าหน้าที่ประจำ บ่อสูบน้ำลดลง


- 7 - นายพีรพล กนกวลัย ผู้รับจ้างเป็นรายเดิมที่ดำเนินการตั้งแต่เริ่มแรกใช่หรือไม่ รองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล ผู้รับจ้างรายเดิม หัวหน้ากลุ่มงานระบบ โทรมาตร กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ หมายความว่าบริษัทนี้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 กรรมการ นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล เริ่มแรกดำเนินการโดยองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น หัวหน้ากลุ่มงานระบบ (JICA) และมีบริษัท เอเอ็มอาร์เอเชีย จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ประมูลงานเพิ่มประสิทธิภาพ โทรมาตร และบำรุงรักษาระบบได้ กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายพีรพล กนกวลัย เหตุผลที่บริษัทอื่นประมูลงานไม่ได้เพราะต้องเริ่มต้นใหม่ใช่หรือไม่ รองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล เนื่องจากไม่ได้มีการพัฒนาระบบมาระยะหนึ่งแล้ว ปีที่ผ่านมาจึงได้ดำเนินการ หัวหน้ากลุ่มงานระบบ พัฒนาระบบอีกครั้ง และบริษัทที่ประมูลงานบำรุงรักษาได้เป็นรายเดิม ส่วนระบบติดตาม โทรมาตร เครื่องสูบน้ำดีเซล บริษัทที่ประมูลงานได้จะเป็นอีกรายหนึ่ง กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายพีรพล กนกวลัย ขอเอกสารรายละเอียดบริษัท เอเอ็มอาร์เอเชีย จำกัด (มหาชน) ที่เป็น รองประธานกรรมการ บำรุงรักษาระบบ SCADA (โดยละเอียด) คนที่หนึ่ง ขอข้อมูลจำนวนและสถานที่ติดตั้งระบบ SCADA โดยละเอียด นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล วัตถุประสงค์ในการพัฒนาระบบ SCADA เดิมพัฒนาเพื่อการรวบรวมข้อมูล หัวหน้ากลุ่มงานระบบ และติดตามสถานะ ไม่ได้มีในเรื่องของการสั่งการ เพิ่งจะเริ่มพัฒนาในเรื่องของการสั่งการ โทรมาตร เมื่อปีที่ผ่านมา กองสารสนเทศ ระบายน้ำ


- 8 - นายฉัตรชัย หมอดี ระบบ SCADA เป็น Open Source หรือไม่ กรรมการ นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล เป็น Open Source หัวหน้ากลุ่มงานระบบ โทรมาตร กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ เหตุผลที่เชิญมาประชุมวันนี้ เพราะในช่วง 1-2 เดือนที่ผ่านมา มีน้ำท่วมใน กรรมการ หลายพื้นที่ ยกตัวอย่าง เขตทุ่งครุติดกับเขตราษฏร์บูรณะมักจะถูกเปรียบเทียบเสมอว่า ฝั่งนั้นน้ำไม่ท่วม ฝั่งนี้น้ำท่วม จึงเกิดความสงสัยว่าระบบ SCADA ทำอะไรได้บ้าง เพราะ งบประมาณที่สภาฯ อนุมัติไปจำนวนไม่น้อย ที่สำคัญระบบ SCADA ที่กำลังจะพัฒนาให้สามารถสั่งการได้ มีในเรื่องของ ระบบความปลอดภัย และเคยมีองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organizationfor Standardization : ISO) มาตรวจสอบระบบหรือไม่ ยกตัวอย่าง หากเกิด เหตุฉุกเฉินมีผู้มาเปิดประตูระบายน้ำจะสามารถควบคุมได้หรือไม่ นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล บริษัทก็ต้องมีความมั่นใจในระดับหนึ่ง และก็ยังมี Firewall ของสำนัก หัวหน้ากลุ่มงานระบบ ยุทธศาสตร์และประเมินผล (สยป.) ส่วนที่กำลังจะพัฒนาในเรื่องของการสั่งการ โทรมาตร เป็นเพราะส่วนหนึ่งไม่มีเจ้าหน้าที่ประจำที่หน้างาน จึงมีแนวคิดในเรื่องของการสั่งการ กองสารสนเทศ อัตโนมัติเข้ามาช่วย ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ แสดงว่า Infrastructure ทั้งหมด ฝากไว้ที่สำนักยุทธศาสตร์และประมินผล กรรมการ (สยป.) นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล Server ส่วนหนึ่งตั้งอยู่ที่สำนักการระบายน้ำ แต่ก็ต้องใช้Firewall และระบบ หัวหน้ากลุ่มงานระบบ Security ของสำนักยุทธศาสตร์และประมินผล (สยป.) ในการที่จะเข้ามาดูแล ส่วน Server โทรมาตร ที่ติดตั้งที่สำนักการระบายน้ำจะเป็น Server จัดเก็บข้อมูล กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ สรุปว่า Software จะฝากไว้ที่สำนักยุทธศาสตร์และประมินผล (สยป.) กรรมการ และอยู่ระหว่างการพัฒนาระบบให้สามารถสั่งการได้ที่สำนักการระบายน้ำ สอบถามเกี่ยวกับระบบ Security


- 9 - นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล ยังไม่มีระบบ Security หัวหน้ากลุ่มงานระบบ โทรมาตร กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ในฐานะสมาชิกสภากรุงเทพมหานครไม่สามารถดูข้อมูลในเรื่องของการ กรรมการ บริหารจัดการน้ำ เพื่อที่จะตอบคำถามของพี่น้องประชาชนได้เพราะปัญหาเรื่องน้ำท่วม โดยเฉพาะในพื้นที่เขตทุ่งครุเป็นปัญหาที่ได้รับร้องเรียนจากประชาชนมากที่สุด นายพีรพล กนกวลัย กรุงเทพมหานครใช้งบประมาณในเรื่องของการระบายน้ำเป็นจำนวนมาก รองประธานกรรมการ แต่ไม่มีข้อมูลที่จะตอบประชาชนได้เลยว่าสาเหตุของน้ำท่วมคืออะไร และก็ไม่ทราบว่าระบบ คนที่หนึ่ง SCADA ที่จะพัฒนาขึ้นมาทำงานอย่างไร นายฉัตรชัย หมอดี หากสำนักการระบายน้ำต้องการที่จะติดตั้งกล้อง CCTV จะต้องให้สำนัก กรรมการ การจราจรและขนส่งมาติดตั้งให้หรือสำนักการระบายน้ำสามารถติดตั้งได้เอง นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล จากที่เคยได้เข้าประชุมบอร์ดดิจิทัล มีบางหน่วยงานให้ความเห็นในเรื่อง หัวหน้ากลุ่มงานระบบ ของการติดตั้งกล้อง CCTV ว่าควรจะเป็นภารกิจของสำนักการจราจรและขนส่ง โทรมาตร กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ในฐานะสภากรุงเทพมหานครมีหน้าที่ตรวจสอบและผลักดันงบประมาณ กรรมการ แต่ไม่มีข้อมูลที่จะนำมาประกอบการตัดสินใจในระยะยาว ยกตัวอย่าง วันนี้เจ้าหน้าที่ลดลง 10 คน แต่ Software ตัวนี้ราคา 10 ล้านบาท ส่วนตัวเห็นว่าสภาฯ คงอยากได้เจ้าหน้าที่ มากกว่า Software ที่จะต้องใช้งบประมาณจุดละ 10 ล้านบาท เมื่อสักครู่พบว่ามีปัญหา ในเรื่องของโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ไม่ว่าจะเป็นสำนักการจราจรและขนส่งหรือ สำนักการระบายน้ำ ไม่ได้มีการเชื่อมโยงข้อมูลกัน เสนอว่าคณะกรรมการฯ ควรเชิญหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องมาหารือในเรื่องนี้ร่วมกัน นายเนติภูมิ มิ่งรุจิราลัย รายการนี้อยู่ในขั้นตอนใด ยังไม่ได้ตัวผู้รับจ้างใช่หรือไม่ ขอเอกสาร กรรมการ ข้อกำหนดขอบเขตงาน (TOR) รายการนี้วัตถุประสงค์ชัดเจน ต้องการเพิ่มประสิทธิภาพใน การทำงานของประตูระบายน้ำในแต่ละจุด กรุงเทพมหานครได้ประโยชน์อะไรจากรายการนี้ รวมไปถึงระบบสัญญาณเป็นอย่างไร กรณีที่ระบบล่มการทำงานเป็นอย่างไรบ้าง ระบบ SCADA ทำอะไรได้บ้าง และสมาชิกสภากรุงเทพมหานครสามารถเรียกดูข้อมูลได้หรือไม่ เสนอแนะว่าควรพัฒนาระบบแอปพลิเคชั่นควบคู่กับการพัฒนาเครือข่าย ระบบ SCADA เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าไปดูข้อมูลแบบ Real Time


- 10 - นายกิตติพงศ์ รวยฟูพันธ์ ควรพัฒนาระบบแอปพลิเคชั่นควบคู่กับการพัฒนาเครือข่ายในระบบ SCADA กรรมการ หรือทำในรูปแบบ Web Page ซ้อนเข้าไปในแอปพลิเคชั่น Traffy Fondue อาจจะไม่ต้อง พัฒนาแอปพลิเคชั่นใหม่ทั้งหมด โดยให้แสดงผลให้ประชาชนสามารถรับรู้ข้อมูลแบบ Real Time นายอภิวัฒน์ ด่านศรีชาญชัย รายการนี้อยู่ในขั้นตอนใด รองประธานกรรมการ คนที่สอง นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล กำลังจะเผยแพร่ร่างข้อกำหนดขอบเขตงาน (TOR) หัวหน้ากลุ่มงานระบบ โทรมาตร กองสารสนเทศ ระบายน้ำ นายพีรพล กนกวลัย จากที่ได้รับฟังข้อมูล ระบบ SCADA สามารถทำได้เพียงดูข้อมูลระดับน้ำ รองประธานกรรมการ เท่านั้น แต่การเปิด-ปิดสถานีสูบน้ำแลประตูระบายน้ำก็ยังใช้แบบ Manual ซึ่งเห็นว่าเป็น คนที่หนึ่ง การใช้งบประมาณที่ไม่คุ้มค่า และในสถานการณ์ปัจจุบันประชาชนต้องการรับรู้ข่าวสารมากขึ้น นายเนติภูมิ มิ่งรุจิราลัย ข้อมูลอยู่ในฐานข้อมูลดิจิทัลพื้นที่จุดเสี่ยงความปลอดภัย (BKK Risk Map) กรรมการ แล้วหรือไม่ นางปาจรีย์องค์โชติยะกุล สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลชื่อมโยงข้อมูลทั้งหมดไปแล้ว หัวหน้ากลุ่มงานระบบ โทรมาตร กองสารสนเทศ ระบายน้ำ มติที่ประชุม รับทราบข้อมูลการควบคุมประตูระบายน้ำด้วยเครือข่ายในระบบ SCADA เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมของกรุงเทพมหานคร โดยคณะกรรมการฯ มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ สำนักการระบายน้ำควรพัฒนา ระบบแอปพลิเคชั่น เพื่อดูสถานการณ์น้ำ ระดับน้ำ ในแม่น้ำเจ้าพระยาและคลองหลักสาย สำคัญ ควบคู่กับการพัฒนาเครือข่ายในระบบ SCADA เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถเข้าไปดูได้อย่างสะดวกแบบ Real Time หรือทำในรูปแบบ Web Page ซ้อนเข้าไป ในแอปพลิเคชั่น Traffy Fondue เพื่อสามารถใช้ดูสถานการณ์น้ำในปัจจุบันได้อย่างสะดวก รวดเร็ว


- 11 - ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่น ๆ ประธานกรรมการ กรรมการท่านใดมีข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการ การระบายน้ำหรือไม่ นายอภิวัตน์ ด่านศรีชาญชัย ควรเชิญสำนักการระบายน้ำเข้าร่วมประชุมเพื่อติดตามความคืบหน้าการ รองประธานกรรมการ ดำเนินงานตามโครงการ/รายการที่ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. คนที่สอง 2567 พร้อมทั้งข้อกำหนดขอบงาน TOR นายประพฤทธิ์ หาญกิจกุล นอกจากติดตามงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กรรมการ แล้ว ควรให้สำนักการระบายน้ำนำข้อมูลโครงการ/รายการที่จะเสนอของบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติมปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 และ โครงการ/รายการที่จะเสอของบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 มานำเสนอที่ประชุมคณะกรรมการฯ นายพีรพล กนกวลัย ควรเชิญสำนักการระบายน้ำมาให้ข้อมูลครั้งละเรื่อง เพื่อที่คณะกรรมการฯ รองประธานกรรมการ จะได้รับทราบข้อมูลที่ชัดเจนและครบถ้วน คนที่หนึ่ง ประธานกรรมการ การประชุมครั้งต่อไปในวันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน 2566 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุม 8 อาคารไอราวัตพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ดินแดง โดยขอให้สำนักการระบายน้ำนำข้อมูลความคืบหน้าการดำเนินงานตามโครงการ/รายการ ที่ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 มารายงานที่ประชุม (แยกตาม ส่วนราชการในสังกัดสำนักการระบายน้ำ และเรียงลำดับตามจำนวนงบประมาณที่ได้รับสูงที่สุด ไว้ด้านบน ที่ประชุม รับทราบ เลิกประชุมเวลา 11.30 น. (นางสาวจุฑามาศ พลสูงเนิน) ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้จดรายงานการประชุม


งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กองเครื่องจักรกล ส านักการระบายน า กรุงเทพมหานคร


รายการงบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ค่าครุภัณฑ์ 4 รายการ


กองเครือ่งจกัรกล ล ำดับ รำยกำร งบประมำณ ก่อหนี้ สถำนะกำรด ำเนินกำร 1 2 3 4 เครื่องสูบน ้ำไฟฟ้ำชนิดจุ่ม SUBMERSIBLE PROPERLLER ขนำด ควำมสำมำรถสูบน ้ำได้ไม่น้อยกว่ำ 30 ลบ.ม./นำที ที่ระยะสูบส่ง (HEAD) ไม่น้อยกว่ำ 4 เมตร พร้อมอุปกรณ์ 19 เครื่อง เครื่องสูบน ้ำเครื่องยนต์ดีเซลชนิดล่อน ้ำด้วยตัวเอง (Self Priming) แบบเทรลเลอร์ลำกจูง ขนำดท่อส่งน ้ำไม่น้อยกว่ำ 10 นิ ว อัตรำสูบ ไม่น้อยกว่ำ 12,000 ลิตร/นำที ระยะสูบส่ง (HEAD) ไม่น้อยกว่ำ 13.5 เมตร พร้อมอุปกรณ์ 20 เครื่อง เครื่องสูบน ้ำเครื่องยนต์ดีเซลชนิดล่อน ้ำด้วยตัวเอง (Self Priming) แบบเทรลเลอร์ลำกจูง ขนำดท่อส่งน ้ำไม่น้อยกว่ำ 8 นิ ว อัตรำสูบ ไม่น้อยกว่ำ 8,000 ลิตร/นำที ระยะสูบส่ง (HEAD) ไม่น้อยกว่ำ 13.5 เมตร พร้อมอุปกรณ์ 20 เครื่อง รถบรรทุก (ดีเซล) ขนำด 1 ตัน ปริมำตรกระบอกสูบไม่ต่้ำกว่ำ 2,400 ซีซี หรือก้ำลังเครื่องยนต์สูงสุดไม่ต่้ำกว่ำ 110 กิโลวัตต์ ขับเคลื่อน 2 ล้อ แบบดับเบิ ลแค็บ 1 คัน 43,700,000 39,000,000 29,800,000 850,000 อยู่ระหว่ำงรำยงำนเห็นชอบ e-bidding ตำมหนังสือ กท 1008/748 ลว. 22 พ.ย. 66 อยู่ระหว่ำงสืบรำคำกลำง 27 ต.ค. 66 อยู่ระหว่ำงประกำศเชิญชวน e-bidding ระหว่ำงวันที่ 27 พ.ย. - 19 ธ.ค. 66 เสนอรำคำ 20 ธ.ค. 66 เวลำ 13.00 – 16.00 น. อยู่ระหว่ำงส้ำนักงบประมำณ อนุมัติงวด ตำมหนังสือ กท 1008/4330 ลว.14 พ.ย. 66 บจ.สยำมนิสสัน บีเคเค 849,000.-


ความคืบหน้าการด าเนินการ ตามงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กองระบบท่อระบายน ้า ส านักการระบายน ้า


เหตุผลความจ าเป็น 1. บริเวณแยก ณ ระนอง และถนนสุนทรโกษาเป็นจุดเฝ้าระวังน้ำท่วม เมื่อฝนตกหนักจะทำให้ น้ำท่วมขังเป็นประจำ โดยอาศัยคลองหัวลำโพงในการระบายน้ำออกจากพื้นที่ ซึ่งปัจจุบันถนน สุนทรโกษามีระดับต่ำ จึงมีความจำเป็นต้องก่อสร้างบ่อสูบน้ำเพื่อเร่งระบายน้ำลงคลองหัว ลำโพงโดยเร็ว 2. สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (ระยะที่ 3 พ.ศ.2566 - 2570) 3. สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2567 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้าง เมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.3 ปลอดภัยพิบัติ กลยุทธ์ที่ 1.3.1 การสร้างศักยภาพและความสามารถในการจัดการสาธารณภัยและลดความเสี่ยงอุทกภัย 4. อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของสำนักการระบายน้ำ (หน้าที่ 62) ปริมาณงาน 1. ก่อสร้างท่อระบายน้ำ ค.ส.ล. ขนาด Ø 1.20 เมตร ยาวประมาณ 230 เมตร 2. ก่อสร้างบ่อสูบน้ำ ค.ส.ล. จำนวน 1 บ่อ 3. ก่อสร้างบ่อพักพร้อมประตูปิดกั้นน้ำ จำนวน 2 บ่อ 4. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 1 ลบ.ม./วินาที จำนวน 2 เครื่อง 5. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 0.50 ลบ.ม./วินาที จำนวน 1 เครื่อง 6. จัดหามิเตอร์ไฟฟ้า ขนาด 400 แอมป์ จำนวน 1 เครื่อง ระยะเวลาด าเนินการ 210 วัน งบประมาณ 20,100,000.- บาท ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างจัดทำราคากลาง 1. ก่อสร้างท่อระบายน า ค.ส.ล. ขนาด Ø 1.20 ม. ยาว 230 ม. 2. ก่อสร้างบ่อสูบน า ค.ส.ล. จ านวน 1 บ่อ (ก าลังสูบ 2.50 ลบ.ม./วินาที) 3. ก่อสร้างบ่อพักพร้อม ประตูปิดกั นน า จ านวน 2 บ่อ P 0 P ก่อสร้างบ่อสูบน า ก่อสร้างท่อระบายน า ก่อสร้างบ่อพักประตูปิดกั นน า 1. ก่อสร้างระบบระบายน าถนนสุนทรโกษาและถนนเกษมราษฎร์ ตอนลงคลองหัวล าโพง


เหตุผลความจ าเป็น 1. บริเวณสองฝั่งของถนนสายไหมเป็นหมู่บ้านที่ก่อสร้างมานาน เมื่อมีการปรับปรุงถนนสายไหม ทำให้พื้นที่ ทั้งสองฝั่งของถนนสายไหมต่ำ เมื่อฝนตกทำให้เกิดน้ำท่วมขังเป็นเวลานาน หากหมู่บ้านสูบน้ำออกจะทำให้น้ำ ท่วมถนนในซอย จึงมีความจำเป็นต้องก่อสร้างบ่อสูบน้ำถนนสายไหม เพื่อเร่งระบายน้ำลงคลองลำหม้อแตก 2. สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (ระยะที่ 3 พ.ศ.2566 - 2570) 3. สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2567 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเมืองปลอดภัย และหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.3 ปลอดภัยพิบัติ กลยุทธ์ที่ 1.3.1 การสร้างศักยภาพและ ความสามารถในการจัดการสาธารณภัยและลดความเสี่ยงอุทกภัย 4. อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของสำนักการระบายน้ำ (หน้าที่ 62) ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างจัดทำราคากลาง ปริมาณงาน 1. ก่อสร้างท่อลอดเหล็กเหนียว ขนาด Ø 1,000 มม. ยาวประมาณ 30 เมตร 2. ก่อสร้างบ่อพักท่อลอด จำนวน 2 บ่อ 3. ก่อสร้างบ่อสูบน้ำ ค.ส.ล. จำนวน 2 บ่อ 4. ก่อสร้างบ่อพักพร้อมประตูปิดกั้นน้ำ จำนวน 2 บ่อ 5. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 1 ลบ.ม./วินาที จำนวน 4 เครื่อง 6. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 0.50 ลบ.ม./วินาที จำนวน 2 เครื่อง 7. จัดหามิเตอร์ไฟฟ้า ขนาด 400 แอมป์ จำนวน 2 เครื่อง ระยะเวลาด าเนินการ 210 วัน งบประมาณ 26,000,000.- บาท P คลองหมอนสี่สิบ คลองหกวา 3. ก่อสร้างบ่อสูบน า ค.ส.ล. จ านวน 2 บ่อ (ก าลังสูบรวม 5 ลบ.ม./วินาที) 1. ก่อสร้างท่อลอดเหล็กเหนียว ขนาด Ø 1,000 มม. ยาวประมาณ 30 ม. (เข้าบ่อสูบ) 2. ก่อสร้างบ่อพักท่อลอด จ านวน 2 บ่อ P ถนนสายไหม ก่อสร้างบ่อสูบน า ทิศทางน าออก ทิศทางน าเข้า P ก่อสร้างท่อลอด ก่อสร้างบ่อพักประตูปิดกั นน า 4. ก่อสร้างบ่อพักพร้อมประตูปิดกั นน า จ านวน 2 บ่อ 2. ก่อสร้างบ่อสูบน าถนนสายไหม ตอนลงคลองล าหม้อแตก


เหตุผลความจ าเป็น 1. ถนนศรีนครินทร์บริเวณสถานีรถไฟฟ้าหัวหมากและบริเวณแยกกรุงเทพ-กรีฑา เป็นพื้นที่ต่ำ เมื่อฝน ตกหนักจะเกิดปัญหาน้ำท่วมขังเป็นประจำและบ่อสูบน้ำเดิมคลองกะจะมีสภาพเก่า อุปกรณ์ชำรุด และพื้นบ่อสูบน้ำมีระดับตื้น ไม่สามารถลดระดับน้ำได้ถึงระดับก้นท่อระบายน้ำ ทำให้มีน้ำค้างในท่อ จึงทำให้ไม่สามารถลดระดับน้ำในพื้นที่ได้ทันท่วงที จึงเห็นควรมีการปรับปรุงบ่อสูบน้ำ เพื่อให้พื้นบ่อมี ระดับที่ลึกลงอีก เพื่อลดระดับน้ำในเส้นท่อให้ถึงระดับก้นท่อ 2. สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (ระยะที่ 3 พ.ศ.2566 - 2570) 3. สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ปี พ .ศ.2567 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.3 ปลอดภัยพิบัติ กลยุทธ์ที่ 1.3.1 การสร้างศักยภาพและความสามารถในการจัดการสาธารณภัยและลดความเสี่ยงอุทกภัย 4. อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของสำนักการระบายน้ำ (หน้าที่ 62) ปริมาณงาน 1. ปรับปรุงบ่อสูบน้ำ จำนวน 1 บ่อ 2. ก่อสร้างรางระบายน้ำ ยาวประมาณ 750 เมตร 3. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 2 ลบ.ม./วินาที จำนวน 2 เครื่อง 4. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 1 ลบ.ม./วินาที จำนวน 2 เครื่อง 5. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 0.50 ลบ.ม./วินาที จำนวน 1 เครื่อง 6. จัดหามิเตอร์ไฟฟ้าแรงสูง ขนาด 750 KVA จำนวน 1 เครื่อง ระยะเวลาด าเนินการ 240 วัน งบประมาณ 49,500,000.- บาท ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างจัดทำราคากลาง 1. ปรับปรุงบ่อสูบน า จ านวน 1 บ่อ (ก าลังสูบรวม 6.50 ลบ.ม./วินาที) 2. ก่อสร้างรางระบายน า ยาวประมาณ 750 ม. ถนนหัวหมาก ปรับปรุงบ่อสูบน า ก่อสร้างรางระบายน า P P ทิศทางน าออก 3. ปรับปรุงบ่อสูบน าคลองกะจะ ตอนถนนศรีนครินทร์


เหตุผลความจ าเป็น 1. สำนักงานโครงการหลวงกรุงเทพมหานคร ได้มีหนังสือที่ 43/2561 ลงวันที่ 14 สิงหาคม 2561 และ หนังสือด่วนที่สุด ที่ สคก.อ.72/63ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2563 ขอความเห็นชอบในหลักการขอสนับสนุน งานก่อสร้างและปรับปรุงที่พระตำหนักธนาซิตี้ และพระที่นั่งบรมพิมานพื้นที่พระบรมมหาราชวังและ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครอนุมัติในหลักการ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2561 และเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2563 สำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร จึงได้ดำเนินการสำรวจและออกแบบงานก่อสร้างระบบ ระบายน้ำเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ระหว่างถนนมหาราช ถนนสนามไชย และถนนหน้าพระลาน พื้นที่เขตพระนคร 2. สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (ระยะที่ 3 พ.ศ.2566 - 2570) 3. สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2567 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเมือง ปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.3 ปลอดภัยพิบัติ กลยุทธ์ที่ 1.3.1 การสร้าง ศักยภาพและความสามารถในการจัดการสาธารณภัยและลดความเสี่ยงอุทกภัย 4. อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของสำนักการระบายน้ำ (หน้าที่ 64) ปริมาณงาน 1. ก่อสร้างบ่อสูบน้ำ ค.ส.ล. จำนวน 1 แห่ง 2. ก่อสร้างท่อระบายน้ำ ค.ส.ล. ขนาด Ø 0.80 เมตร ยาวประมาณ 596 เมตร ระยะเวลาด าเนินการ 150 วัน งบประมาณ 36,740,000.- บาท ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างจัดทำราคากลาง P 1. ก่อสร้างบ่อสูบน า ค.ส.ล. ขนาด 0.50 ลบ.ม./วินาที จ านวน 1 แห่ง 2. ก่อสร้างท่อระบายน า ค.ส.ล. ขนาด Ø 0.80 ม. ยาวประมาณ 596 ม. P ทิศทางน าออก ทิศทางน าเข้า P ก่อสร้างบ่อสูบน า ก่อสร้างท่อระบายน า P 4. ก่อสร้างระบบระบายน าถนนหน้าพระลานและถนนสนามไชย พื นที่เขตพระนคร


เหตุผลความจ าเป็น 1. สํานักพระราชวัง พระบรมมหาราชวัง ได้มีหนังสือที่ พว 0012/19011 ลงวันที่ 9 กรกฎาคม 2561 เรียนผู้อํานวยการสํานักงานโครงการหลวงกรุงเทพมหานคร ขอความอนุเคราะห์ เพื่อดําเนินการสํารวจ และออกแบบระบบระบายน้ำและป้องกันน้ำท่วมเพื่อให้การบริหารจัดการน้ำภายในเขตพื้นที่ระหว่าง ถนนศรีอยุธยาและถนนราชวิถีมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น สํานักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร จึงได้ ดําเนินการสํารวจและออกแบบงานก่อสร้างระบบระบายน้ำเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ระหว่างถนน ศรีอยุธยาและถนนสวรรคโลก พื้นที่เขตดุสิต 2. สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (ระยะที่ 3 พ.ศ.2566 - 2570) 3. สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2567 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเมือง ปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.3 ปลอดภัยพิบัติ กลยุทธ์ที่ 1.3.1 การสร้าง ศักยภาพและความสามารถในการจัดการสาธารณภัยและลดความเสี่ยงอุทกภัย 4. อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของสำนักการระบายน้ำ (หน้าที่ 65) ปริมาณงาน 1. ก่อสร้างบ่อสูบน้ำ ค.ส.ล. จำนวน 2 แห่ง ระยะเวลาด าเนินการ 200 วัน งบประมาณ 95,000,000.- บาท ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างจัดทำแบบรูปรายการ ทิศทางน าออก ทิศทางน าเข้า P ก่อสร้างบ่อสูบน า 1. ก่อสร้างบ่อสูบน า ค.ส.ล. จ านวน 1 แห่ง P 1. ก่อสร้างบ่อสูบน า ค.ส.ล. จ านวน 1 แห่ง P 5. ก่อสร้างระบบระบายน าถนนศรีอยุธยาและถนนสวรรคโลก พื นที่เขตดุสิต


เหตุผลความจ าเป็น 1. ถนนพหลโยธินช่วงถนนรัชดาภิเษกถึงห้าแยกลาดพร้าวเป็นถนนที่ก่อสร้างมานานระบบระบายน้ำเดิมมีการ ชำรุดทรุดโทรม และไม่มีท่อลอดทำให้ต้องอาศัยคลองด่วนและคูน้ำวิภาวดีรังสิต ในการระบายน้ำโดยปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาพื้นที่ทำให้คูน้ำเป็นท่อระบายน้ำการระบายไม่ดีเหมือนเดิมเมื่อเกิดฝนตกทำให้ถนนพหลโยธิน ช่วงดังกล่าวเกิดน้ำท่วมเป็นประจำโดยเฉพาะบริเวณห้าแยกลาดพร้าว สำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการก่อสร้างท่อระบายน้ำและบ่อสูบน้ำเพื่อแร่งระบายลงคูน้ำวิภาวดีรังสิต 2. สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (ระยะที่ 3 พ.ศ.2566 - 2570) 3. สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2567 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเมืองปลอดภัย และหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.3 ปลอดภัยพิบัติ กลยุทธ์ที่ 1.3.1 การสร้างศักยภาพและ ความสามารถในการจัดการสาธารณภัยและลดความเสี่ยงอุทกภัย 4. อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของสำนักการระบายน้ำ (หน้าที่ 65) ปริมาณงาน 1. ก่อสร้างบ่อสูบน้ำ ค.ส.ล. จำนวน 1 แห่ง 2. ก่อสร้างท่อระบายน้ำ ค.ส.ล. ขนาด Ø 1.00 เมตร ยาวประมาณ 320 เมตร 3. ก่อสร้างท่อระบายน้ำ ค.ส.ล. ขนาด Ø 1.20 เมตร ยาวประมาณ 510 เมตร 4. ก่อสร้างบ่อควบคุมน้ำ จำนวน 1 บ่อ 5. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 1 ลบ.ม./วินาทีจำนวน 4 เครื่อง 6. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 0.50 ลบ.ม./วินาที จำนวน 1 เครื่อง 7. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 0.30 ลบ.ม./วินาที จำนวน 1 เครื่อง 8. จัดหามิเตอร์ไฟฟ้าขนาด 400 แอมป์ จำนวน 2 เครื่อง ระยะเวลาด าเนินการ 210 วัน งบประมาณ 54,140,000.- บาท ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างจัดทำราคากลาง 4. ก่อสร้างบ่อควบคุมน า จ านวน 1 บ่อ 2. ก่อสร้างท่อระบายน า ค.ส.ล. ขนาด Ø 1.00 ม. ยาวประมาณ 320 ม. 1. ก่อสร้างบ่อสูบน า ค.ส.ล. จ านวน 1 แห่ง P 3. ก่อสร้างท่อระบายน า ค.ส.ล. ขนาด Ø 1.20 ม. ยาวประมาณ 510 ม. ทิศทางน าออก ทิศทางน าเข้า P ก่อสร้างบ่อสูบน า ก่อสร้างท่อระบายน า 6. ก่อสร้างระบบระบายน าบริเวณห้าแยกลาดพร้าวและถนนหอวัง


2. ก่อสร้างบ่อสูบน า ค.ส.ล. จ านวน 1 แห่ง คลองลาดพร้าว ท่อขนาด Ø 1.20 ม. P 1. ก่อสร้างท่อระบายน า ค.ส.ล. ขนาด Ø 1.20 ม. ยาวประมาณ 1,600 ม. 5. ก่อสร้างรางระบายน า ค.ส.ล. ยาวประมาณ 1,600 ม. 3. ก่อสร้างบ่อดันท่อ จ านวน 4 บ่อ 4. ก่อสร้างบ่อรับท่อ จ านวน 3 บ่อ เหตุผลความจ าเป็น 1. ถนนรัชดาภิเษกเป็นถนนที่สำคัญมีแนวรถไฟฟ้าใต้ดิน (MRT) และมีสถานที่ราชการที่สำคัญหลายแห่งได้แก่ ศาลแพ่ง ศาลอาญา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันเกษม กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ แต่บริเวณช่วงหน้าธนาคารกรุงเทพเป็นพื้นที่ จุดเสี่ยงน้ำท่วมขังเนื่องจากผิวจราจรมีระดับต่ำเป็นแอ่งกระทะ และมีน้ำที่มาจากเชิงลาดสะพานข้ามแยกรัชดา-ลาดพร้าว ไหลบ่าลงมา ท่อระบายน้ำเดิมขนาด Ø 1.20 ม. น้ำจะระบายผ่านคลองด่วน (ท่อ 2 - 2.50 x 2.5 ม.) ซึ่งขนานกับถนน รัชดาภิเษกลงคลองบางซื่อ และอีกส่วนหนึ่งระบายไปทางถนนอาภาภิรมย์ลงคลองลาดพร้าวซึ่งมีระยะทางไกล เมื่อฝนตก หนักจึงเกิดปัญหาน้ำท่วมขัง 2. สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (ระยะที่ 3 พ.ศ.2566 - 2570) 3. สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2567 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อ วิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.3 ปลอดภัยพิบัติ กลยุทธ์ที่ 1.3.1 การสร้างศักยภาพและความสามารถในการจัดการสา ธารณภัยและลดความเสี่ยงอุทกภัย 4. อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของสำนักการระบายน้ำ (หน้าที่ 64) ปริมาณงาน 1. ก่อสร้างท่อระบายน้ำ ค.ส.ล. ขนาด Ø 1.20 เมตร (ด้วยวิธีดัน) ยาวประมาณ 1,600 เมตร 2. ก่อสร้างบ่อสูบน้ำ ค.ส.ล. จำนวน 1 แห่ง 3. ก่อสร้างบ่อดันท่อ จำนวน 4 บ่อ 4. ก่อสร้างบ่อรับท่อ จำนวน 3 บ่อ 5. ก่อสร้างรางระบายน้ำ ค.ส.ล. ยาวประมาณ 1,600 เมตร 6. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้าขนาด 0.50 ลบ.ม./วินาที จำนวน 1 เครื่อง 7. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้าขนาด 1 ลบ.ม./วินาที จำนวน 1 เครื่อง 8. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้าขนาด 2 ลบ.ม./วินาที จำนวน 1 เครื่อง ระยะเวลาด าเนินการ 360 วัน งบประมาณ ปี 67 = 20,000,000.- บาท ปี 68 = 79,000,000.- บาท รวม = 99,000,000.- บาท ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างจัดทำแบบรูปรายการ ทิศทางน าออก ทิศทางน าเข้า P ก่อสร้างบ่อสูบน า ก่อสร้างบ่อรับ-บ่อดันท่อ โครงการก่อสร้างระบบระบายน าถนนรัชดาภิเษก ช่วงบริเวณหน้าธนาคารกรุงเทพ ถึงหน้าศาลอาญารัชดา


เหตุผลความจ าเป็น 1.ถนนรัชดาภิเษกเป็นถนนที่สำคัญมีแนวรถไฟฟ้าใต้ดิน และมีสถานที่ราชการที่สำคัญหลายแห่ง ได้แก่ ศาลแพ่ง ศาลอาญา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันเกษม กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ แต่บริเวณช่วงหน้าธนาคารกรุงเทพเป็นพื้นที่จุดเสี่ยงน้ำ ท่วมเนื่องจากผิวจราจรมีระดับต่ำเป็นแอ่งกระทะ และมีน้ำที่มาจากเชิงลาดสะพานข้ามแยกรัชดา-ลาดพร้าวไหลบ่าลงมา เมื่อฝนตกหนักจึงเกิดปัญหาน้ำท่วมขัง สำนักการระบายน้ำได้จัดทำทำนบไม้และติดตั้งเครื่องสูบน้ำชั่วคราวที่ท้ายซอย รัชดาภิเษก 32 เพื่อช่วยระบายน้ำท่วมขังในถนนรัชดาภิเษกบริเวณหน้าธนาคารกรุงเทพและหน้าศาลอาญาลงสู่คลอง ลาดพร้าว ปัจจุบันมีโครงการก่อสร้างเขื่อนริมคลองลาดพร้าวจำเป็นต้องรื้อบ่อสูบน้ำเดิมออกเนื่องจากอยู่ในแนวก่อสร้าง เขื่อนสำนักการระบายน้ำจึงจำเป็นต้องก่อสร้างบ่อสูบน้ำซอยรัชดาภิเษก 32 (อาภาภิรมย์) ตอนลงคลองลาดพร้าวเพื่อ ก่อสร้างทดแทนบ่อสูบน้ำเดิมที่ถูกรื้อย้าย และก่อสร้างท่อระบายน้ำบริเวณซอยรัชดาภิเษก 32 เพื่อช่วยดึงน้ำจากถนน รัชดาภิเษกมาลงคลองลาดพร้าว ซึ่งจะสามารถแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังรอการระบายบริเวณจุดเสี่ยงน้ำท่วมถนนรัชดาภิเษก หน้าธนาคารกรุงเทพและบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงได้ 2. สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (ระยะที่ 3 พ.ศ.2566 - 2570) 3. อยู่ในแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2567 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อ วิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.3 ปลอดภัยพิบัติ กลยุทธ์ที่ 1.3.1 การสร้างศักยภาพและความสามารถในการจัดการสา ธารณภัยและลดความเสี่ยงอุทกภัย (รหัสนโยบาย 113047) 4. อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของสำนักการระบายน้ำ (หน้าที่ 34) ปริมาณงาน 1. ก่อสร้างบ่อสูบน้ำ ค.ส.ล. จำนวน 2 บ่อ 2. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 1 ลบ.ม./วินาที จำนวน 4 เครื่อง 3. จัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดไฟฟ้า ขนาด 0.50 ลบ.ม./วินาที จำนวน 2 เครื่อง 4. จัดหามิเตอร์ไฟฟ้า ขนาด 400 แอมป์ จำนวน 2 เครื่อง ระยะเวลาด าเนินการ 240 วัน งบประมาณ 49,000,000.- บาท ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างจัดทำราคากลาง ทิศทางน าออก ทิศทางน าเข้า P ก่อสร้างบ่อสูบน า P P 1. ก่อสร้างบ่อสูบน า ค.ส.ล. จ านวน 2 บ่อ (ก าลังสูบรวม 5.00 ลบ.ม./วินาที) คลองลาดพร้าว ท่อขนาด Ø 1.20 ม. โครงการก่อสร้างบ่อสูบน าซอยรัชดาภิเษก 32 (อาภาภิรมย์) ตอนลงคลองลาดพร้าว


กองระบบคลอง ส ำนักกำรระบำยน ้ำ งบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปี งบประมำณ พ.ศ.2567


ส้ำนักกำรระบำยน ้ำ กรุงเทพมหำนคร Drainage and Sewerage Department BMA. สรุปควำมคืบหน้ำโครงกำรก่อสร้ำงเขื่อนคลองเปรมประชำกร ช่วงที่ 4 จำกถนนแจ้งวัฒนะ ถึงถนนเทศบำลสงเครำะห์ ผลงานความก้าวหน้า 28.20% การส่งมอบพื้นที่เพิ่มเติม • อยู่ระหว่างรื้อย้ายบ้านรุกล้้าที่ชุมชนมิตร ประชา คาดว่าจะได้พื้นที่อีก 300 เมตร ภายในเดือนพฤศจิกายน 2566 พื้นที่ก่อสร้างเขื่อน • ความยาวเขื่อนที่ต้องก่อสร้าง 10,700 เมตร • ส่งมอบแล้ว 3,970 เมตร คิดเป็น 37.10 % • แล้วเสร็จ 3,200 เมตร • พื้นที่อยู่ระหว่างด าเนินการ 570 เมตร • มีชุดที่อยู่ระหว่างท างาน จ านวน 2 ชุด เริ่มต้นสัญญำ วันที่ 4 ธันวำคม 2563 สิ นสุดสัญญำ วันที่ 5 มิถุนำยน 2566 (ระยะเวลำ 914 วัน) วงเงินค่ำก่อสร้ำง 1,234,398,522.00 บำท ผู้รับจ้ำง : บริษัท พี.วำย.เอส. คอนสตรั๊คชั่น จ้ำกัด (ข้อมูล ณ วันที่ 20 พ.ย. 2566)


ส้ำนักกำรระบำยน ้ำ กรุงเทพมหำนคร Drainage and Sewerage Department BMA. สรุปควำมคืบหน้ำโครงกำรก่อสร้ำงเขื่อนคลองเปรมประชำกร ช่วงที่ 3 จำกถนนสรงประภำ ถึงถนนแจ้งวัฒนะ ผลงานความก้าวหน้า 13.55% พื นที่ก่อสร้ำงเขื่อน • ความยาวเขื่อนที่ต้องก่อสร้าง 10,000 เมตร • ส่งมอบพื้นที่แล้ว 2,650 เมตร จากทั้งหมด 10,000 เมตร • ส่งมอบพื้นที่ได้ คิดเป็น 26.50 % • ก่อสร้างเขื่อนแล้ว ความประมาณ 1,650 เมตร • ปัจจุบันมีชุดที่ก าลังท างานก่อสร้าง จ านวน 2 ชุด • อยู่ระหว่างเตรียมงานก่อสร้าง จ านวน 1 ชุด • และมีแผนเข้าท างานอีก 1 ชุด ในช่วงต้น พ.ย. 66 เลขที่สัญญำ กรบ.สนน.9/2565 เริ่มต้นสัญญำ วันที่ 5 มีนำคม 2565 สิ นสุดสัญญำ วันที่ 22 กุมภำพันธ์ 2567 (ระยะเวลำ 720 วัน) วงเงินค่ำก่อสร้ำง 1,063,439,000.00 บำท ผู้รับจ้ำง : บริษัท อิตำเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จ้ำกัด (มหำชน) (ข้อมูล ณ วันที่ 20 พ.ย. 66 ) หมำยเหตุ • ชุมชนเปรมประชาพัฒนา พื้นที่เขตหลักสี่ ความ ยาวประมาณ 350 เมตร ปัจจุบันติดปัญหา อุปสรรค การขนย้ายเครื่องจักรและเสาเข็มเข้า พื้นที่ก่อสร้าง เนื่องจากติดบ้านรุกล้ าทั้งสองฝั่ง คลอง (ชุมชนท านบร่วมใจ) รวมทั้งคลองมีสภาพ แคบและตื้นเขิน • ทั้งนี้ ชุมชนท านบร่วมใจ อยู่ระหว่างการขอเช่าที่ กับกรมธนารักษ์และมีแผนรื้อย้ายในช่วงต้นเดือน ธันวาคม 2566 ซึ่งหากมีการรื้อย้ายจะท าให้ สามารถเข้าท างานที่ชุมชนเปรมประชาพัฒนา บริเวณดังกล่าวได้ รวมถึงสามารถส่งมอบพื้นที่ เพิ่มเติมที่ชุมชนท านบร่วมใจได้ด้วย


ปริมำณงำน - ก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. (ดาดท้องคลอง) ตามแบบเลขที่ AB.120004-01 ชนิดที่ 1 ความยาวประมาณ 500 เมตร - ก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. (ดาดท้องคลอง) ตามแบบเลขที่ AB.120004-01 ชนิดที่ 2 ความยาวประมาณ 1,200 เมตร - ก่อสร้างก าแพงกันดิน steel sheet pile. ความยาวประมาณ 100 เมตร - ก่อสร้างพื้นดาดใต้สะพาน ค.ส.ล. จ านวน 1 แห่ง - ติดตั้งราวเหล็กกันตก ตามแบบเลขที่ R.15/1 ความยาวประมาณ 1,700 เมตร - ติดตั้งบันไดเหล็กหน้าเขื่อน ตามแบบเลขที่ S.3 จ านวน 36 แห่ง - งานรื้อถอนคานทับหลังเขื่อนเดิม ค.ส.ล. ความยาวประมาณ 1,700 เมตร - งานก่อสร้างสะพานคนเดินข้าม ตามแบบเลขที่ D. 2009 จ านวน 4 แห่ง - งานติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง (เหมาจ่ายตามราคาประเมินของการไฟฟ้านครหลวง) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อก่อสร้างเขื่อนใหม่ทดแทนเขื่อนเดิมที่เสียหาย 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ าและป้องกันน้ าท่วมและให้ประชาชนทั่วไปใช้เป็นเส้นทางสัญจร เป็นการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นประโยชน์เต็มศักยภาพ โครงกำรก่อสร้ำงเขื่อน ค.ส.ล. (ดำดท้องคลอง) คลองวัดทองเพลง จำกบริเวณถนนเจริญนครถึงบริเวณวัดทองเพลง ประโยชน์ที่ได้รับ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ าจากเดิมที่ไม่สามารถขุดลอกได้ ป้องกันน้ า เสีย และเป็นทางระบายน้ าในช่วงที่ฝนตก ป้องกันตลิ่ง และรักษาสภาพแนวเขตคลองสาธารณะ ประชาชนทั่วไปใช้เป็นเส้นทางสัญจร ได้สะดวกและปลอดภัย ระยะเวลำด้ำเนินกำร 300 วัน (ปี 2566-2567) งบประมำณ 98,100,000.- บาท ก่อหนี้ 84,100,000 บาท ผู้รับจ้ำง บจ.สุรีรัตน์คอนสตรัคชั่น กรบ.สนน.2/2566 ลว.18 เม.ย. 66 สิ้นสุด 12 ก.พ. 67 ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างด าเนินการตามสัญญา แผนงาน 93% ผลงาน 35% ปัญหำอุปสรรค ติดแนวสาธารณูปโภค ไฟฟ้า และแนวท่อประปา ปีงบประมำณ กรุงเทพมหำนคร (บำท) เบิกจ่ำย (บำท) คงเหลือ (บำท) 2566 1,000,000 - 1,000,000 2567 83,100,000 - 83,100,000 รวม 84,100,000 - 84,100,000 ข้อมูล ณ วันที่ 20 พ.ย. 66


โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล.คลองบ้านใหม่ จากคลองเปรมประชากร ถึงบริเวณซอยเทิดราชัน 17 หลักการและเหตุผล คลองบ้านใหม่เป็นคลองระบายน้้าสายหลักอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดนนทบุรี เริ่มต้นจากคลองเปรมประชากร พื้นที่เขตดอนเมือง ลอดใต้คลองประปา ผ่านทางพิเศษอุดรรัถยา ผ่านถนนติวา นนท์ และระบายน้้าไปลงแม่น้้าเจ้าพระยา มีความกว้างประมาณ 10–30 เมตร มีความยาวรวมตั้งแต่คลองเปรม ประชากร ถึงแม่น้้าเจ้าพระยา ประมาณ 8,200เมตร ซึ่งมีความส้าคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้้าท่วมพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และคลองบ้านใหม่ยังสามารถรับน้้าจากคลองเปรมประชากรระบายน้้าผ่านพื้นที่ของจังหวัด ปทุมธานีและนนทบุรีไปลงสู่แม่น้้าเจ้าพระยาได้ ปัจจุบันคลองบ้านใหม่มีสภาพตื้นเขินและมีสิ่งกีดขวางทางน้้า หลายจุด ซึ่งเป็นปัญหาอุปสรรคการระบายน้้า ส้านักการระบายน้้าจึงได้วางแผนด้าเนินการก่อสร้างเขื่อนคลอง บ้านใหม่ จากคลองเปรมประชากร ถึงบริเวณซอยเทิดราชัน 17 (ความยาวคลองประมาณ 2,320 เมตร) เพื่อ รองรับการระบายน้้าในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้้าท่วมพื้นที่เขตดอนเมืองและพื้นที่ใกล้เคียงออกสู่แม่น้้า เจ้าพระยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนาทางเดินริมคลองให้ประชาชนในบริเวณดังกล่าวใช้เป็นทางเดิน สัญจรและทางจักรยานได้ ปริมาณงาน ก. ก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. ความยาวประมาณ 4,640 เมตร ข. ติดตั้งบันไดเหล็กหน้าเขื่อน ตามแบบเลขที่ S.4 จ้านวน 94 แห่ง ค. ติดตั้งราวกันตกตามแบบเลขที่ R.15/1 ความยาวประมาณ 4,640 เมตร ง. ก่อสร้างสะพานเหล็กคนเดินข้าม จ้านวน 3 แห่ง งบประมาณ 345,000,000.- บาท ระยะเวลาก่อสร้าง 660 วัน ผลการด าเนินงาน อยู่ระหว่างก้าหนดราคากลาง 15 พ.ย. 66 - ปัจจุบัน (เขตดอนเมือง) ปีงบประมำณ งบประมำณ (บำท) 2567 069,000,000 2568 138,000,000 2569 138,000,000 รวม 345,000,000 ภาพถ่ายก่อนด าเนินการ ภำพเสมือนจริงหลังด้ำเนินกำร


โครงกำรก่อสร้ำงเขื่อน ค.ส.ล. คลองบำงตลำด จำกบริเวณคลองประปำ ถึงสถำนีสูบน ้ำคลองบำงตลำด หลักกำรและเหตุผล คลองบางตลาด เป็นคลองหลักในพื้นที่เขตหลักสี่ เชื่อมจากคลองประปาถึงคลองเปรมประชากร ท า หน้าที่รับน้ าจากถนนแจ้งวัฒนะ ปัจจุบันคลองบางตลาดมีสภาพตื้นเขิน ท าให้เป็นปัญหาอุปสรรคในการ ระบายน้ า และการบ ารุงรักษา ไม่สามารถขุดลอกคลองให้ลึกได้ รวมทั้งไม่สามารถลดระดับน้ าในคลอง ตามแผนได้ เนื่องจากจะท าให้ตลิ่งและสิ่งก่อสร้างริมคลองช ารุดเสียหายได้ และเมื่อมีปริมาณฝนตกหนัก ในพื้นที่จะเกิดปัญหาน้ าท่วมขังในพื้นที่ประกอบกับบริเวณถนนแจ้งวัฒนะเป็นจุดอ่อนน้ ารอการระบาย ประกอบกับมีประชาชนในพื้นที่ได้รับผลกระทบร้องเรียนอยู่บ่อยครั้ง ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหา ดังกล่าว เห็นควรด าเนินการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. คลองบางตลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระบาย น้ า และป้องกันน้ าท่วมขังในพื้นที่ดังกล่าวตลอดจนป้องกันการบุกรุกคลองสาธารณะ ปริมำณงำน ก. ก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. คลองบางตลาด ความยาวคลองประมาณ 1,720 เมตร ข. ปรับปรุงเขื่อน ค.ส.ล.เดิม เป็นดาดท้องคลอง ความยาวคลองประมาณ 800 เมตร ค. จัดหาสถานีโทรมาตรวัดระดับน้ า ง. ติดตั้งบันไดเหล็กหน้าเขื่อน ตามแบบเลขที่ S.4 จ านวน 102 แห่ง จ. ติดตั้งผนังกั้นน้ า พร้อมราวเหล็กกันตก ความยาวประมาณ 5,040 เมตร ฉ. ปรับปรุงประตูระบายน้ าเดิม จ านวน 1 แห่ง งบประมำณทั งโครงกำร 280,000,000.- บาท ระยะเวลำก่อสร้ำง 420 วัน ผลการด าเนินงาน เห็นชอบ TOR 7 พ.ย. 66 อยู่ระหว่างก้าหนดราคากลาง 7 พ.ย. 66 - ปัจจุบัน (เขตหลักสี่) ภำพเสมือนจริงหลังด้ำเนินกำร ภำพถ่ำยก่อนด้ำเนินกำร ปีงบประมำณ งบประมำณ (บำท) 2567 056,000,000 2568 224,000,000 รวม 280,000,000


โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. คลองหัวหมาก จากคลองพระโขนง ถึงคลองลาว หลักการและเหตุผล คลองหัวหมาก เป็นคลองระบายน้้าที่มีความส้าคัญในการระบายน้้าในพื้นที่เขตสวนหลวง และเชื่อมกับคลองต่างๆ เพื่อระบายน้้าไปสู่คลองพระโขนง มีความกว้างคลองประมาณ 6–20 เมตร ซึ่งเป็นคลองสายหลักที่ช่วยในการ ระบายน้้าในพื้นที่ ซึ่งปัจจุบันคลองหัวหมากยังไม่ได้ก่อสร้างเขื่อน ท้าให้เป็นปัญหาอุปสรรคในการระบายน้้า และ การบ้ารุงรักษา เนื่องจากไม่สามารถขุดลอกคลองให้ลึกได้ รวมทั้งไม่สามารถลดระดับน้้าในคลองตามแผนได้ เนื่องจากจะท้าให้ตลิ่งและสิ่งก่อสร้างริมคลองช้ารุดเสียหายได้ และมีพื้นที่ที่มีปัญหาน้้าท่วมขังหลายจุด ดังนั้น การด้าเนินโครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. คลองหัวหมากจากคลองพระโขนง ถึงคลองลาว จะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการระบายน้้าในคลองหัวหมากบริเวณดังกล่าว และจะท้าให้สามารถล้าเลียงน้้าออกจากพื้นที่ไปลง คลองพระโขนงออกสู่แม่น้้าเจ้าพระยาได้โดยตรง รวมถึงสามารถแก้ไขปัญหาน้้าท่วมในบริเวณดังกล่าวได้อย่างมี ประสิทธิภาพต่อไป ปริมาณงาน ก. ก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. คลองหัวหมาก ความยาวคลองประมาณ 2,050 เมตร ข. ติดตั้งบันไดเหล็กหน้าเขื่อน จ้านวน 84 แห่ง ค. ติดตั้งราวเหล็กกันตก ความยาวประมาณ 4,100 เมตร ง. จัดหาสถานีโทรมาตรวัดระดับน้้า จ้านวน 1 แห่ง จ. ก่อสร้างสะพานเหล็กคนเดินข้าม จ้านวน 6 แห่ง งบประมาณทั้งโครงการ 265,000,000.- บาท ระยะเวลาก่อสร้าง 360 วัน ผลการด าเนินงาน อยู่ระหว่างจัดท้า TOR 17 ต.ค. 66 - ปัจจุบัน (เขตสวนหลวง) ปีงบประมำณ งบประมำณ (บำท) 2567 053,000,000 2568 212,000,000 รวม 265,000,000 ภาพถ่ายก่อนด าเนินการ ภำพเสมือนจริงหลังด้ำเนินกำร


ส้ำนักกำรระบำยน ้ำ กรุงเทพมหำนคร Drainage and Sewerage Department BMA. สรุปควำมคืบหน้ำโครงกำรก่อสร้ำงเขื่อนคลองเปรมประชำกร ช่วงที่ 2 จำกสุดเขตกรุงเทพมหำนครถึงคลองบ้ำนใหม่ และจำกหมู่บ้ำนแกรนด์คำแนลถึงถนนสรงประภำ พื นที่ก่อสร้ำงเขื่อน • ความยาวเขื่อนที่ต้องก่อสร้าง 5,000 เมตร • ส่งมอบพื้นที่ได้ความยาว 900 เมตร คิดเป็น 18.00 % • ตอกเสาเข็มได้ความยาวประมาณ 600 เมตร • มีพื้นที่อยู่ระหว่างด าเนินการ ความยาวประมาณ 300 เมตร เริ่มต้นสัญญำ วันที่ 21 พฤษภำคม 2565 สิ นสุดสัญญำ วันที่ 11 พฤศจิกำยน 2566 (ระยะเวลำ 540 วัน) วงเงินค่ำก่อสร้ำง 569,700,000.00 บำท ผลงำนควำมก้ำวหน้ำ 10.20% ผู้รับจ้ำง : บริษัท กรุงไทยสถำปัตย์ จ้ำกัด (ข้อมูล ณ วันที่ 20 พ.ย.2566) กำรส่งมอบพื นที่เพิ่มเติม • อยู่ระหว่างการเจรจาสร้างความ เข้าใจ


ถนนพุทธมณฑล สำย 3 จุดสิ นสุดโครงกำร จุดเริ่มต้นโครงกำร ถนนบรมรำชชนนี สถำนีสูบน ้ำ 12 ลบ.ม./วินำที โครงกำรก่อสร้ำงเขื่อน ค.ส.ล.และสถำนีสูบน ้ำคลองมหำศรจำกบริเวณคลองบำงไผ่ถึงบริเวณคลองภำษีเจริญ ปีงบประมำณ กรุงเทพมหำนคร (บำท) ได้รับ เบิกจ่าย คงเหลือ 2562-2565 489,023,765 489,023,765 - 2566 160,866,235 43,132,704.68 117,733,530.32 2567 40,000,000 - 40,000,000 รวม 689,890,000 532,156,469.68 157,733,560.32 เขตหนองแขม (โครงการผูกพันต่อเนื่องเก่า) ปริมำณงำน ก.ก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. (สมอยึดด้านหลัง) ความยาวประมาณ 11,780 เมตร ข.ก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. พร้อมดาดท้องคลอง ความยาวประมาณ 1,020 เมตร ค.ก่อสร้างสะพานเหล็กคนเดินข้ามคลอง จ านวน 20 แห่ง ง.ติดตั้งราวเหล็กกันตกริมเขื่อน ความยาวประมาณ 12,800 เมตร จ.ติดตั้งบันไดเหล็กหน้าเขื่อน จ านวน 256 แห่ง ฉ.ก่อสร้างสถานีสูบน้ าขนาดอัตราการสูบ 12 ลบ.ม./วินาที จ านวน 1 แห่ง ช.ก่อสร้างดาดท้องคลอง ค.ส.ล. ใต้สะพาน จ านวน 10 แห่ง วัตถุประสงค์ 1.เพื่อก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. และสถานีสูบน้ า คลองมหาศรให้เป็นทางระบายน้ าหลาก รวมถึงเป็นทางระบายน้ าฝนใน พื้นที่ 2. เพื่อรองรับมวลน้ าและระบายน้ าในพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพเพียงพอในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ าท่วม ประโยชน์ที่ได้รับ สามารถควบคุมระดับน้ าในคลองมหาศรและคลองที่ต่อเชื่อม พื้นที่ใกล้เคียงให้เป็นทางระบายน้ าในช่วงที่ฝนตก ป้องกันตลิ่ง และรักษาสภาพแนวเขตคลองสาธารณะ ช่วยการระบายน้ าออกจากพื้นที่ได้ดีขึ้น ระยะเวลำด้ำเนินกำร 1,200 วัน งบประมำณ 689,890,000.- บำท งบประมาณประจ าปี ปี พ.ศ. 2567 จ านวน 40,000,000.- บาท ด้ำเนินกำรโดย ผู้รับจ้าง : บจ. กรุงไทย สถาปัตย์สัญญาเลขที่ กรบ.สนน. 2/2563 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 และบันทึกต่อท้ายสัญญา(ครั้งที่1) ลว.วันที่ 2 พ.ค. 66 เริ่มต้นสัญญา 16 พ.ย. 62 สิ้นสุดสัญญา 4 ส.ค. 66 (อยู่ระหว่างแก้ไขรูปแบบเนื่องจากติดปัญหาอุปสรรค) ผลกำรด้ำเนินงำน แผนงาน 100% ผลงาน 91%


โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. คลองสองต้นนุ่น จากบริเวณล ารางคลองสองต้นนุ่น ถึงคลองล าบึงขวาง หลักการและเหตุผล คลองสองต้นนุ่น เป็นคลองระบายน้้าที่มีความส้าคัญในการระบายน้้าในพื้นที่เขตมีนบุรี และเขตลาดกระบัง เชื่อมระหว่างคลองแสนแสบกับคลองประเวศบุรีรมย์ อีกทั้งยังเชื่อมต่อกับคลองสามวา ซึ่งเป็นคลองสายหลักที่ ช่วยในการระบายน้้าในพื้นที่เขตตะวันออก ซึ่งปัจจุบันคลองสองต้นนุ่นส่วนใหญ่ยังไม่ได้ก่อสร้างเขื่อน ท้าให้เป็น ปัญหาอุปสรรคในการระบายน้้า และการบ้ารุงรักษา เนื่องจากไม่สามารถขุดลอกคลองให้ลึกได้ รวมทั้งไม่ สามารถลดระดับน้้าในคลองตามแผนได้เนื่องจากจะท้าให้ตลิ่งและสิ่งก่อสร้างริมคลองช้ารุดเสียหายได้ และมี พื้นที่ที่มีปัญหาน้้าท่วมขังหลายจุด การด้าเนินโครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. คลองสองต้นนุ่น จากบริเวณล้าราง คลองสองต้นนุ่นถึงคลองล้าบึงขวาง จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้้าในคลองสองต้นนุ่นบริเวณดังกล่าว และจะท้าให้สามารถล้าเลียงน้้าออกจากพื้นที่ไปลงคลองแสนแสบ รวมถึงสามารถแก้ไขปัญหาน้้าท่วมในบริเวณ ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ปริมาณงาน ก. ก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. ความยาวประมาณ 2,000 เมตร ข. ติดตั้งราวเหล็กกันตก ความยาวประมาณ 2,000 เมตร ค. ติดตั้งบันไดเหล็กหน้าเขื่อน จ้านวน 40 แห่ง ง. ก่อสร้างสะพานเหล็กคนเดินข้าม จ้านวน 4 แห่ง งบประมาณทั้งโครงการ 159,000,000.- บาท ระยะเวลาก่อสร้าง 360 วัน ผลการด าเนินงาน อยู่ระหว่างรายงานขอเห็นชอบด้าเนินการด้วยวิธี e-bidding (เขตมีนบุรี) ปีงบประมำณ งบประมำณ (บำท) 2567 31,800,000 2568 127,200,000 รวม 159,000,000 ภาพถ่ายก่อนด าเนินการ ภำพเสมือนจริงหลังด้ำเนินกำร


โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. คลองล าบึงขวาง จากบริเวณถนนร่มเกล้า ถึงคลองสามประเวศ หลักการและเหตุผล คลองล้าบึงขวาง เป็นคลองระบายน้้าสายหลักทีมีความส้าคัญในการระบายน้้าในพื้นที่เขตมีนบุรี และเชื่อมกับ คลองต่างๆ เพื่อระบายน้้าไปสู่คลองแสนแสบ และไหลผ่านพื้นที่ที่มีความส้าคัญ ปัจจุบันคลองล้าบึงขวางส่วน ใหญ่ยังไม่ได้ก่อสร้างเขื่อน โดยคลองล้าบึงขวาง ช่วงจากคลองตะโหนดถึงคลองสามประเวศมีการก่อสร้างเขื่อน แล้ว (ฝั่งเดียว) ท้าให้เป็นปัญหาอุปสรรคในการระบายน้้า และการบ้ารุงรักษา เนื่องจากไม่สามารถขุดลอก คลองให้ลึกได้ รวมทั้งไม่สามารถลดระดับน้้าในคลองตามแผนได้ เนื่องจากจะท้าให้ตลิ่งและสิ่งก่อสร้างริมคลอง ช้ารุดเสียหายได้ และมีพื้นที่ที่มีปัญหาน้้าท่วมขังหลายจุด การด้าเนินงานโครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. คลอง ล้าบึงขวาง จากคลองสองต้นนุ่น ถึงคลองสามประเวศดังกล่าว จะท้าให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้้า ในคลองล้าบึงขวาง จะท้าให้สามารถล้าเลียงน้้าออกจากพื้นที่ รวมถึงสามารถแก้ไขปัญหาน้้าท่วมในบริเวณ ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ปริมาณงาน ก. ก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. ความยาวประมาณ 1,300 เมตร ข. ติดตั้งราวเหล็กกันตก ความยาวประมาณ 1,300 เมตร ค. ติดตั้งบันไดเหล็กหน้าเขื่อน จ้านวน 28 แห่ง ง. ก่อสร้างสะพานเหล็กคนเดินข้าม จ้านวน 3 แห่ง งบประมาณทั้งโครงการ 99,500,000.- บาท ระยะเวลาก่อสร้าง 360 วัน ผลการด าเนินงาน อยู่ระหว่างจัดท้า TOR 17 ต.ค. 66 - ปัจจุบัน (เขตมีนบุรี) ปีงบประมำณ งบประมำณ (บำท) 2567 20,000,000 2568 79,500,000 รวม 99,500,000 ภาพถ่ายก่อนด าเนินการ ภำพเสมือนจริงหลังด้ำเนินกำร


โครงกำรก่อสร้ำงเขื่อนและปรับปรุงเขื่อนค.ส.ล.คลองแสนแสบจำกบริเวณทำงด่วนเฉลิมมหำนคร ถึง บริเวณประตูระบำยน ้ำคลองตัน ปี งบประมาณ งบกทม.(บาท) รวม(บาท) 2567 8,000,000 8,000,000 2568 95,000,000 95,000,000 2569 101,600,000 101,600,000 รวม 204,600,000 204,600,000 1. เหตุผลควำมจ ำเป็น คลองแสนแสบ เป็นคลองระบายน้ าหลักที่ส าคัญในพื้นที่ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร สามารถช่วยระบายน้ าฝนและน้ าหลากจากทางตอนบนของกรุงเทพมหานครออกทางคลอง พระองค์เจ้าไชยยานุชิต เพื่อระบายน้ าออกทะเล และบางส่วนไหลลงแม่น้ า บางปะกง จังหวัด ฉะเชิงเทรา ซึ่ง ครม.เห็นชอบแผนหลักการพัฒนาฟื้นฟูสภาพแวดล้อมคลองแสนแสบ ระยะเวลา 11 ปี (พ.ศ. 2564-2575) ซึ่งเป็นการพัฒนาฟื้นฟูให้คลองแสนแสบกลับมามีระบบนิเวศอยู่ใน เกณฑ์ดี ซึ่งโครงการนี้อยู่ในเป้าประสงค์ข้อที่5เป็นการบริหารจัดการทรัพยากรน้ าในคลองแสน แสบเพื่อเร่งระบายออกจากพื้นที่ โดยมีพื้นที่ได้รับการป้องกันน้ าท่วม 130 ตร.กม เป็นโครงการ น าร่องในการพัฒนาคูคลองให้ยั่งยืนสวยงาม รวมทั้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ าและ ป้องกันน้ าท่วมและให้ประชาชนทั่วไปใช้เป็นเส้นทางสัญจร พักผ่อน ออกก าลังกาย เป็นการ พัฒนาพื้นที่ให้เป็นประโยชน์เต็มศักยภาพ 2. พิกัดที่ตั ง เขตราชเทวี เขตวัฒนา เขตห้วยขวาง 3. รำยละเอียดโครงกำร 1. ก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. ตามแบบเลขที่ RB.151605-B ความยาวประมาณ 500 เมตร 2. ก่อสร้างสะพานทางเดินค.ส.ล. ตรงบริเวณเขื่อนค้ าหน้า ตามแบบเลขที่ WC.2010 ความยาวประมาณ 510 เมตร 3.ปรับปรุงขยายสะพานทางเดินเสาเดี่ยว ตามแบบเลขที่ IWC.2010 ความยาวประมาณ 1250 เมตร 4. สร้างสะพานทางเดินเหล็กใต้สะพาน ตามแบบเลขที่ SW.2500 ความยาวประมาณ 60 เมตร 5. ปรับปรุงขยายเขื่อน ตามแบบเลขที่ IRB.2400 ความยาวประมาณ 1,955 เมตร 6. ก่อสร้างเขื่อนเข็มพืดเหล็ก ตามแบบเลขที่ SP.12002 ความยาวประมาณ 160 เมตร 7. ก่อสร้างสะพานเหล็กคนเดินข้ามคลอง ตามแบบเลขที่ SB.3/2 จ านวน 7 แห่ง 8. ติดตั้งบันไดเหล็กหน้าเขื่อน ตามแบบเลขที่ S.3 จ านวน 74 แห่ง 9. งานติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง จ านวน 450 ต้น 10. ปรับปรุงขยายสะพานทางเดิน ตามแบบเลขที่ IWC.2400 ความยาวประมาณ 600 เมตร 11. ปรับปรุงบันไดขึ้น-ลง จ านวน 3 แห่ง 12. ขุดลอกคลอง ความยาว 9,500 เมตร 4. ระยะเวลำด้ำเนินงำน ปี พ.ศ.2567 – พ.ศ.2569 - ระยะเวลาก่อสร้าง 720 วัน (24 เดือน) 5. งบประมำณโครงกำร 204,600,000.00- บาท 6. ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างจัดท า TOR 16 ต.ค. 66 - ปัจจุบัน เขตห้วยขวาง, วัฒนา, ราชเทวี (โครงการผูกพัน ใหม่)


งำนปรับปรุงขยำยเขื่อน ค.ส.ล. คลองแสนแสบ จำกบริเวณถนนพระรำมที่6 ถึง บริเวณสะพำนเฉลิมหล้ำ56 ควำมยำว 1,100 เมตร 1. เหตุผลควำมจำ เป็น คลองแสนแสบ จากสะพานเจริญผลถนนบรรทัดทอง ถึง สะพานเฉลิมหล้า56(หัว ช้าง)ถนนพญาไท บริเวณนี้เป็นที่ตั้งของชุมชนบ้านครัว ซึ่งเป็นชุมชนดั้งเดิมคนใน ชุมชนมีอาชีพในการทอผ้าลวดลายโบราณและมีพิพิธภัณฑ์บ้านจิมทอมสันเป็นที่เก็บ สะสมผ้าไหมมีความส าคัญในแง่ของการเป็นพื้นที่ท่องเที่ยวชุมชน ปัจจุบันคลองแสน แสบบริเวณดังกล่าวบางช่วงเป็นเขื่อนป้องกันตลิ่งของเอกชนที่ไม่มีทางเดินหลังเขื่อน ท าให้ไม่สามารถเดินเชื่อมต่อกันได้ บางช่วงเป็นเขื่อนป้องกันตลิ่งพร้อมทางเดินที่ทาง ส านักการระบายน้ าได้ด าเนินการไว้นานแล้ว ซึ่งมีสภาพช ารุดทรุดโทรม ทางเดินหลัง เขื่อนค่อนข้างแคบ ไฟฟ้าแสงสว่างไม่เพียงพอ ท าให้การสัญจร ไป-มาของคนใน ชุมชนรวมถึงนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวในพื้นที่ เกิดความไม่สะดวก ดังนั้น เพื่อให้ ปัญหาดังกล่าวได้รับการแก้ไข ท าให้เกิดประโยชน์ต่อคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว ส่งผลต่อเศรษฐกิจชุมชน รวมถึงสามารถเพิ่มประสิทธิภาพด้านการระบายน้ าในพื้นที่ จึงเห็นควรขอจัดสรรงบประมาณเพื่อมาด าเนินการก่อสร้างและปรับปรุงเขื่อนค.ส.ล. ช่วงดังกล่าว ต่อไป 2. พิกัดที่ตั้ง เขตราชเทวี 3. รำยละเอียดโครงกำร 1. ปรับปรุงขยายเขื่อน ความยาวประมาณ 1,100 เมตร 2. ติดตั้งบันไดเหล็กหน้าเขื่อน จ านวน 22 แห่ง 3. งานซ่อมแซมแผงกันดิน ประมาณ 75 ช่อง 4. ก่อสร้างหลังคาทางเดินหลังเขื่อน ความายวประมาณ 1,100 เมตร 4. ระยะเวลำด ำเนินงำน ปี พ.ศ.2567 -ระยะเวลาก่อสร้าง270 วัน (9 เดือน) 5. งบประมำณโครงกำร 24,430,000.00- บาท 6. ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างก าหนดราคากลาง 20 พ.ย. 66 - ปัจจุบัน จุดเริ่มต้น โครงกำร จุดสิ นสุด โครงกำร สภาพปัจจุบันเขื่อนเดิมสภาพช ารุดทรุดโทรม ทางเดินแคบ ไฟฟ้าส่องสว่างไม่ เพียงพอ


งำนขุดลอกคลองพระโขนง จำกทำงพิเศษฉลองรัช ถึงคลองหนองบอน 1. ความจ าเป็นเร่งด่วน (แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนประชาชนโดยตรง) - คลองพระโขนง เป็นคลองที่ส้าคัญในการเก็บกักน้้าและการระบายน้้า โดยรับน้้าโดยตรงจาก พื้นที่เขตลาดกระบัง เขตประเวศ เขตสวนหลวง เขตพระโขนง และคลองแสนแสบบางส่วน จากหน้า ฝนที่ผ่านมาประสิทธิภาพการระบายน้้าของคลองพระโขนง ท้าได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ เนื่องจากน้้า กัดเซาะตลิ่งและการสะสมของขยะที่หลงเหลือจากการจัดเก็บของเจ้าหน้าที่ท้าให้สภาพคลองตื้นเขิน เห็นควรเร่งรัดให้มีการขุดลอกคลองพระโขนงให้ได้ระดับขุดลอกท้องคลองตามที่ก้าหนด เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการระบายน้้าและรองรับปริมาณน้้าฝน แก้ไขปัญหาน้้าท่วมและยังสามารถท้าให้น้้า คลองพระโขนงมีสภาพดีขึ้นอีกด้วย 2. ประโยชน์/การแก้ไขปัญหากับประชาชนในพื้นที่ - สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชนผู้อยู่อาศัยในพื้นที่เขตวัฒนาและเขตสวน หลวง โดยมีความเดือดร้อนจากปัญหาน้้าหลากเข้าในพื้นที่ 3. ผลกระทบหากไม่ได้รับงบประมาณ - อาจเกิดปัญหาหากน้้าเข้าท่วมพื้นที่และอาจเกิดปัญหาการร้องเรียนกรณีไม่เร่งรัดแก้ไขปัญหา ตามที่ได้ร้องขอต่อ จนท้าให้กรุงเทพมหานครได้รับความเสียหาย 4. - อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของส้านักการระบายน้้า ปี 2566 ซึ่งสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ กรุงเทพมหานครปี 2566 เป้าหมายที่ 1.4.1 เป้าประสงค์ที่ 1.4.1.1 กรุงเทพมหานครมีความพร้อม ในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้้าฝน น้้าหนุน และน้้าหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถ ด้านบุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอุทกภัย 5. - ส้านักการระบายน้้ายังไม่เคยเสนอของบประมาณ (รายการใหม่) ประโยชน์ที่ได้รับ ท้าให้ประสิทธิภาพน้้าในคลองดีขึ้น สามารถเก็บกับน้้าและถ่ายเทน้้าในพื้นที่ได้อย่างมี ประสิทธิภาพขึ้น ลดปัญหาขยะตกค้างภายในล้าคลอง ลดปัญหาเรื่องน้้าที่ส่งกลิ่นเหม็น ท้าให้น้้าใน คลองมีสภาพดีขึ้น ปริมาณงาน - ความกว้างประมาณ 20 – 40 เมตร - ความยาวประมาณ 7,700 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิม ถึงระดับขุดลอกเฉลี่ย 1.00 เมตร - ปริมาณดินประมาณ 55,580 ลบ.ม. - ค่าระดับขุดลอก -4.50 เมตร (ร.ท.ก.) (ขุดลอกครั งสุดท้ำยเมื่อ : พ.ศ.2555) ระยะเวลาด าเนินการ 120 วัน งบประมาณ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 จ านวนเงิน 16,291,000.- บาท ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างรายงานขอเห็นชอบด้าเนินการด้วยวิธี e-bidding เขตวัฒนา,เขตสวนหลวง รูปคลองพระโขนง รูปคลองพระโขนง รูปคลองพระโขนง


ขดุลอกคลองสามเสน จากสถาน ี สูบน ้ า คลองสามเสน ถ ึ งสถาน ี สูบน ้ า บ ึ งมกักะสนั วัตถุประสงค์ คลองสามเสน เป็นคลองในพื้นที่เขตดุสิต เขตราชเทวีและเขตห้วย ขวาง รองรับน้ าจากคลองชวดใหญ่ บึงมักกะสัน คลองยายสุ่น คูน้ า และ บ้านเรือนของประชาชนโดยรอบ ปัจจุบันคลองสามเสน มีสภาพตื้นเขินไม่สามารถเก็บกักและถ่ายเท น้ าได้เต็มประสิทธิภาพเกิดปัญหาน้ าเน่าเสียมีขยะตกค้างในคลองจ านวนมาก เห็นควรมีการขุดลอกคลองสามเสน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระบายน้ า แก้ไขปัญหาน้ าท่วมและท าให้น้ าในคลองมีสภาพดีขึ้น ประโยชน์ที่ได้รับ การกักเก็บน้ า การถ่ายเทน้ า และการระบายน้ าที่รับมาจากน้ าจาก คลองชวดใหญ่ บึงมักกะสัน คลองยายสุ่น คูน้ า และบ้านเรือนของ ประชาชนโดยรอบ สะดวกมากขึ้น แก้ไขปัญหาน้ าท่วม และท าให้น้ าในคลอง มีสภาพดีขึ้น ปริมำณงำน - ขุดลอกคลองกว้างประมาณ 5 - 30 เมตร ยาวประมาณ 6,200 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิมถึงระดับขุดลอกคลอง ความลึกเฉลี่ย 0.74 เมตร - ปริมาณดินที่ขุดลอก ประมาณ 53,000 ลูกบาศก์เมตร - ค่าระดับขุดลอก -2.50,-3.00 เมตร (ร.ท.ก.) (ขุดลอกครั งสุดท้ำยเมื่อ : พ.ศ.2556) ระยะเวลำด้ำเนินกำร 120 วัน งบประมำณ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 จ านวนเงิน 15,563,000 บาท ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างรายงานขอเห็นชอบด าเนินการด้วยวิธี ebidding เขตดุสิต,ราชเทวี,พญาไท,ดินแดง


ตอกเสำเข็มไม้กันดินพัง โครงกำรสวนป่ำชุ่มน ้ำบำงกอก 1. ความจ าเป็นเร่งด่วน (แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนประชาชนโดยตรง) - สวนป่าชุ่มน้้าบางกอก เป็นสวนสาธารณะที่มีประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันในด้าน ต่างๆ เช่น ออกก้าลังกาย พักผ่อน โดยสวนป่าชุ่มน้้าบางกอกมีต้นไม้ขนาดใหญ่จ้านวนมาก ปัจจุบันต้นไม้ขนาดใหญ่ล้มหลายต้น เนื่องจากดินรอบบึงพังทลาย ท้าให้ต้นไม้ลดลง เพื่อป้องกันการล้มของต้นไม้ จึงจ้าเป็นต้องท้าผนังกันดิน และเพื่อให้ทัศนียภาพของสวน ป่าชุ่มน้้าบางกอก ยังมีความสวยงามเป็นธรรมชาติ จึงใช้เสาเข็มไม้ในการท้าผนังกันดินพัง 2. ประโยชน์/การแก้ไขปัญหากับประชาชนในพื้นที่ - สามารถแก้ไขปัญหาหน้าดินพังทลายได้ ป้องกันการล้มของต้นไม้ขนาดใหญ่ เพิ่มความสวยงามและเป็นระเบียบเรียบร้อยในบริเวณพื้นที่ดังกล่าว 3. ผลกระทบหากไม่ได้รับงบประมาณ - อาจเกิดปัญหาต้นไม้ใหญ่ล้ม หน้าดินพังทลาย และอาจเกิดอันตรายต่อประชาชน ที่มาใช้ประโยชน์ในพื้นที่บริเวณดังกล่าวได้ - อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของส้านักการระบายน้้า ปี 2567 ซึ่งสอดคล้องกับ แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี 2567 เป้าหมายที่ 1.4.1 เป้าประสงค์ที่ 1.4.1.1 กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้้าฝน น้้าหนุน และน้้าหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอุทกภัย - ส้านักการระบายน้้ายังไม่เคยเสนอของบประมาณ (รายการใหม่) ประโยชน์ที่ได้รับ เสริมสร้างความมั่นคงให้กับต้นไม้ใหญ่ได้ ลดปัญหาต้นไม้ใหญ่ล้ม หน้าดินพังทลาย ลดปัญหาอุบัติเหตุที่อาจเกิดจากการล้มของต้นไม้ใหญ่ และเพิ่มทัศนียภาพที่สวยงามให้กับ บริเวณสวนป่าชุ่มน้้าบางกอก ปริมาณงาน - งานตอกเสาเข็มไม้กันดินพัง ความยาวประมาณ 2,697 เมตร ค่าวัสดุ เสาเข็มไม้สน จ้านวน 16,482 ต้น ค่าแรง จ้านวน 16,482 ต้น - งานถมดินหลังแนวตอกเสาเข็มไม้กันดินพัง ค่าขุดลอกด้วยเรือขุด 5,400 ลบ.ม. ระยะเวลาด าเนินการ 120 วัน งบประมาณ งบประมาณปี 2567 จ้านวนเงิน 15,206,000.- บาท ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างรายงานขอเห็นชอบด้าเนินการด้วยวิธี e-bidding (เขตบึงกุ่ม) รูปสวนป่ าชุ่มน ้าบางกอก รูปสวนป่ าชุ่มน ้าบางกอก รูปสวนป่ าชุ่มน ้าบางกอก สวนป่ าชุ่มน ้าบางกอก งานตอกเสาเข็มไม้กันดินพัง โครงการสวนป่าชุ่มน ้าบางกอก


ลอกดินเลนใต้สะพำนท่อลอดถนนพหลโยธิน ถนนรำมอินทรำ ถนนนวมินทร์ บริเวณคลองรำงอ้อรำงแก้ว ลำ รำงข ้ ำงโรงท ่ อซ ี ซ ี เอม ็ คลองกระเฉด คลองลำ ไผ ่ คลองตำเร ่ ง คลองลำ ชะล ่ ำจุดท ี่1และจุดท ี่2 เขตบางเขน, บึงก่มุ , คันนายาว ถนนพหลโยธิน ถนนรำมอินทรำ ถนนนวมินทร์ 1. ความจ าเป็นเร่งด่วน (แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนประชาชนโดยตรง) -พื้นที่เขตบางเขน เขตบึงกุ่ม เขตคันนายาว เป็นพื้นที่อยู่ในแผนปฏิบัติการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาน้้า ท่วมกรุงเทพมหานครแต่ในช่วงฤดูฝนที่ผ่านมา มีปริมาณฝนที่ตกในพื้นที่ เขตบางเขน เขตบึงกุ่ม เขตคันนายาว เป็นจ้านวนมาก ท้าให้เกิดปัญหาการระบายน้้าลงสู่คลองสายหลักโดยสถานีสูบน้้าเพื่อระบายน้้าลงสู่แม่น้้า เจ้าพระยาท้าได้ช้า เนื่องจากสะพานท่อลอดถนนพหลโยธิน ถนนนรามอินทรา ถนนนวมินทร์ มีสภาพตื้นเขิน เห็นควรลอกดินเลน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้้าในพื้นที่น้้ารอการระบายให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2. ประโยชน์/การแก้ไขปัญหากับประชาชนในพื้นที่ - สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชน ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่เขตคันนายาว โดยมีความ เดือดร้อนจากปัญหาน้้าหลากเข้าในพื้นที่ 3. ผลกระทบหากไม่ได้รับงบประมาณ - อาจเกิดปัญหาหากน้้าเข้าท่วมพื้นที่และอาจเกิดปัญหาการร้องเรียนกรณีไม่เร่งรัดแก้ไขปัญหาตามที่ได้ ร้องขอต่อ จนท้าให้กรุงเทพมหานครได้รับความเสียหาย 4. - อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของส้านักการระบายน้้า ปี 2566 ซึ่งสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ กรุงเทพมหานครปี 2566 เป้าหมายที่ 1.4.1 เป้าประสงค์ที่ 1.4.1.1 กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการ รับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้้าฝน น้้าหนุน และน้้าหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและ เครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอุทกภัย 5. - ส้านักการระบายน้้ายังไม่เคยเสนอของบประมาณ (รายการใหม่) ประโยชน์ที่ได้รับ ท้าให้ประสิทธิภาพน้้าในคลองดีขึ้น สามารถเก็บกับน้้าและถ่ายเทน้้าในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น ลด ปัญหาขยะตกค้างภายในล้าคลอง ลดปัญหาเรื่องน้้าที่ส่งกลิ่นเหม็น ท้าให้น้้าในคลองมีประสิทธิภาพและมี สภาพดีขึ้น ปริมาณงาน - ความกว้างประมาณ 3 – 20 เมตร - ความยาวประมาณ 35 – 70 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิม ถึงระดับขุดลอกเฉลี่ย 0.75 เมตร - ระดับขุดลอก – 2.00 เมตร รทก. - ปริมาณดินที่ขุดลอก 2,250 ลบ.ม. ระยะเวลาด าเนินการ 90 วัน งบประมาณ งบประมาณประจ้าปี พ.ศ. 2567 จ้านวนเงิน 8,500,000.- บาท ผลการด าเนินการ อยู่ระหว่างประกาศร่างรับฟังค าวิจารณ์ 22 – 27 พ.ย. 66


ขุดลอกคลองเฉลิมชัยพัฒนำ จำกคลองสนำมชัยถึงคลองหัวกระบือ 1.ควำมจ้ำเป็นเร่งด่วน (แก้ไขปัญหำควำมเดือนร้อนประชำชนโดยตรง) คลองเฉลิมชัยพัฒนา จากคลองสนามชัยถึงคลองหัวกระบือ ปัจจุบันมีสภาพตื้นเขิน ไม่สามารถเก็บกัก น้ า และระบายน้ าได้สะดวก ท าให้ไม่สามารถถ่ายเทน้ า เกิดปัญหาน้ าเน่าเสีย ประชาชนร้องเรียนปัญหา คลองตื้นเขินบ่อยครั้ง ดังนั้นจึงเห็นควรเร่งด าเนินการขุดลอกคลองเฉลิมชัยพัฒนา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระบายน้ าและท าให้น้ าในคลองมีการไหลเวียน มีคุณภาพน้ าที่ดีขึ้น 2.ประโยชน์/กำรแก้ไขปัญหำกับประชำชนในพื นที่ คลองเฉลิมชัยพัฒนา เป็นคลองที่อยู่ในพื้นที่แก้มลิงคลองมหาชัย-คลองสนามชัย อันเนื่องมาจาก พระราชด าริ รับน้ าจากคลองสนามชัย เพื่อระบายออกสู่อ่าวไทย เป็นที่ประชาชนใช้สัญจรทางเรือ เพื่อ น าผลผลิตทางการเกษตรและสัตว์น้ ามาจ าหน่ายยังพื้นที่ชั้นใน 3.ผลกระทบหำกไม่ได้รับงบประมำณ มีสภาพ ตื้นเขิน ไม่สามารถเก็บกักน้ า และระบายน้ าได้สะดวก ท าให้ไม่สามารถถ่ายเทน้ า เกิดปัญหา น้ าเน่าเสีย ประชาชนร้องเรียนปัญหาคลองตื้นเขินและน้ ามีกลิ่นเหม็นบ่อยครั้ง 4. - เป็นไปตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ยุทธศาสตร์ มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.4 : ปลอดภัยพิบัติ เป้าหมายที่ 1.4.1 กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ - อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของส านักการระบายน้ า ปี 2566 ซึ่งสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ กรุงเทพมหานครปี 2565 เป้าหมายที่ 1.4.1 เป้าประสงค์ที่ 1.4.1.1 กรุงเทพมหานครมีความพร้อม ในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ าฝน น้ าหนุน และน้ าหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถ ด้านบุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอุทกภัย 5. - ส านักการระบายน้ ายังไม่เคยเสนอของบประมาณ (รายการใหม่) ประโยชน์ที่ได้รับ การเก็บกักและระบายน้ าได้สะดวก ถ่ายเทน้ าได้เต็มประสิทธิภาพ ลดปัญหาน้ าเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น น้ าในคลองมีสภาพดีขึ้น แก้ไขปัญหาน้ าท่วมขัง และแก้ไขปัญหาลดความเดือนร้อนของประชาชน ปริมำณงำน - ขุดลอกคลองกว้างประมาณ 30 - 50 เมตร ยาวประมาณ 2,150 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิมถึงระดับขุดลอกคลอง ความลึกเฉลี่ย 0.70 เมตร - ปริมาณดินที่ขุดลอก ประมาณ 28,000 ลูกบาศก์เมตร - ค่าระดับขุดลอก -2.50 เมตร (ร.ท.ก.) (ขุดลอกครั งสุดท้ำยเมื่อ : พ.ศ.2558) ระยะเวลำด้ำเนินกำร 90 วัน งบประมำณ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 จ านวนเงิน 8,419,000 บาท ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างจัดท า TOR 6 ต.ค. 66 - ปัจจุบัน เขตบางขุนเทียน


ขุดลอกคลองรอบกรุง(คลองบางล าพู) จากสถาน ี สูบน ้ า บางลา พูถ ึ งคลองมหานาค วัตถุประสงค์ คลองรอบกรุง(คลองบางล าพู) เป็นคลองระบายน้ าสายหลักที่ช่วยระบายน้ าใน พื้นที่เขตพระนคร เชื่อมกับแม่น้ าเจ้าพระยาบริเวณสถานีสูบน้ าบางล าพู รองรับน้ าจาก ถนนพระสุเมรุ ถนนซอยวัดปรินายก ซอยล าพู ถนนสามเสน ชุมชนและบริเวณโดยรอบ ย่านบางล าพู ปัจจุบันมีสภาพตื้นเขิน เป็นอุปสรรคในการเดินเรือ ไม่สามารถกักเก็บและ ถ่ายเทน้ าได้สะดวก เกิดปัญหาน้ าเน่าเสีย เห็นควรพิจารณาด าเนินการขุดลอกคลองรอบ กรุง(คลองบางล าพู) ให้มีระดับท้องคลองลึกกว่าเดิมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระบาย น้ าแก้ไขปัญหาน้ าท่วม ประโยชน์ที่ได้รับ สามารถเดินเรือได้สะดวกมากขึ้น การกักเก็บน้ า การถ่ายเทน้ า และการระบายน้ า ที่รับมาจาก ถนนพระสุเมรุ ถนนซอยวัดปรินายก ซอยล าพู ถนนสามเสน ชุมชนและ บริเวณโดยรอบย่านบางล าพูสะดวกมากขึ้น แก้ไขปัญหาน้ าท่วม และท าให้น้ าในคลอง รองกรุง(คลองลางล าพู)มีสภาพดีขึ้น ปริมำณงำน - ขุดลอกคลองกว้างประมาณ 20 - 22 เมตร ยาวประมาณ 1,520 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิมถึงระดับขุดลอกคลอง ความลึกเฉลี่ย 0.75 เมตร - ปริมาณดินที่ขุดลอก ประมาณ 21,270 ลูกบาศก์เมตร - ค่าระดับขุดลอก -2.50 เมตร (ร.ท.ก.) (ขุดลอกครั งสุดท้ำยเมื่อ : พ.ศ.2557) ระยะเวลำด้ำเนินกำร 120 วัน งบประมำณ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 จ านวนเงิน 7,829,000 บาท ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างประกาศร่างรับฟังค าวิจารณ์ 22 – 27 พ.ย. 66 จุดเริ่มต้นโครงการ พิกัด 13.764425 N 100.496034 E จุดเริ่มต้นโครงการ พิกัด 13.755379 N 100.505976 E (เขตพระนคร)


ขดุลอกคลองสาทรจากสถาน ี สูบน ้ า คลองสาทรถ ึ งถนนพระรามท ี่4 วัตถุประสงค์ คลองสาทร เป็นคลองระบายน้ าสายหลักที่ช่วยระบายน้ าในพื้นที่เขตสาทร เขต ยานนาวา เขตบางรักและเชื่อมกับแม่น้ าเจ้าพระยา รองรับน้ าจากถนนสาทรใต้ ถนน สาทรเหนือ ถนนเจริญกรุงและบริเวณใกล้เคียง ปัจจุบันมีสภาพตื้นเขิน ไม่สามารถกัก เก็บและถ่ายเทน้ าได้สะดวก เกิดปัญหาน้ าเน่าเสีย เห็นควรพิจารณาด าเนินการขุดลอก คลองสาทร ให้มีระดับท้องคลองลึกกว่าเดิมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระบายน้ า แก้ไขปัญหาน้ าท่วม ประโยชน์ที่ได้รับ การกักเก็บน้ า การถ่ายเทน้ า และการระบายน้ าที่รับมาจากถนนสาทรใต้ ถนน สาทรเหนือ ถนนเจริญกรุงและบริเวณใกล้เคียง สะดวกมากขึ้น แก้ไขปัญหาน้ าท่วม และท าให้น้ าในคลองสาทรมีสภาพดีขึ้น ปริมำณงำน - ขุดลอกคลองกว้างประมาณ 9 - 10 เมตร ยาวประมาณ 3,300 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิมถึงระดับขุดลอกคลอง ความลึกเฉลี่ย 0.70 เมตร - ปริมาณดินที่ขุดลอก ประมาณ 20,790 ลูกบาศก์เมตร - ค่าระดับขุดลอก -2.00 เมตร (ร.ท.ก.) (ขุดลอกครั งสุดท้ำยเมื่อ : พ.ศ.2560) ระยะเวลำด้ำเนินกำร 90 วัน งบประมำณ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 จ านวนเงิน 7,658,000 บาท ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างประกาศร่างรับฟังค าวิจารณ์ 22 – 27 พ.ย. 66 (เขตบำงรัก)


ขุดลอกคลองหัวกระบือ จำกคลองเฉลิมชัยพัฒนำถึงคลองนำ 1.ควำมจ้ำเป็นเร่งด่วน (แก้ไขปัญหำควำมเดือนร้อนประชำชนโดยตรง) คลองหัวกระบือ จากคลองเฉลิมชัยพัฒนาถึงคลองนา ปัจจุบันมีสภาพตื้นเขิน ไม่สามารถเก็บกักน้ า และ ระบายน้ าได้สะดวก ท าให้ไม่สามารถถ่ายเทน้ า เกิดปัญหาน้ าเน่าเสีย ประชาชนร้องเรียนปัญหาคลองตื้นเขิน บ่อยครั้ง ดังนั้นจึงเห็นควรเร่งด าเนินการขุดลอกคลองหัวกระบือ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระบายน้ าและท าให้น้ าในคลองมีการไหลเวียน มีคุณภาพน้ าที่ดีขึ้น 2.ประโยชน์/กำรแก้ไขปัญหำกับประชำชนในพื นที่ คลองหัวกระบือ เป็นคลองที่อยู่ในพื้นที่แก้มลิงคลองมหาชัย-คลองสนามชัย อันเนื่องมาจากพระราชด าริ รับน้ าจากคลองสนามชัย เพื่อระบายออกสู่อ่าวไทย เป็นที่ประชาชนใช้สัญจรทางเรือ เพื่อน าผลผลิตทางการ เกษตรและสัตว์น้ ามาจ าหน่ายยังพื้นที่ชั้นใน 3.ผลกระทบหำกไม่ได้รับงบประมำณ มีสภาพ ตื้นเขิน ไม่สามารถเก็บกักน้ า และระบายน้ าได้สะดวก ท าให้ไม่สามารถถ่ายเทน้ า เกิดปัญหาน้ า เน่าเสีย ประชาชนร้องเรียนปัญหาคลองตื้นเขินและน้ ามีกลิ่นเหม็นบ่อยครั้ง 4. - เป็นไปตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ยุทธศาสตร์ มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.4 : ปลอดภัยพิบัติ เป้าหมายที่ 1.4.1 กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ - อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของส านักการระบายน้ า ปี 2566 ซึ่งสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ กรุงเทพมหานครปี 2565 เป้าหมายที่ 1.4.1 เป้าประสงค์ที่ 1.4.1.1 กรุงเทพมหานครมีความพร้อมใน การรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ าฝน น้ าหนุน และน้ าหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้าน บุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอุทกภัย 5. - ส านักการระบายน้ ายังไม่เคยเสนอของบประมาณ (รายการใหม่) ประโยชน์ที่ได้รับ การเก็บกักและระบายน้ าได้สะดวก ถ่ายเทน้ าได้เต็มประสิทธิภาพ ลดปัญหาน้ าเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น น้ า ในคลองมีสภาพดีขึ้น แก้ไขปัญหาน้ าท่วมขัง และแก้ไขปัญหาลดความเดือนร้อนของประชาชน ปริมำณงำน - ขุดลอกคลองกว้างประมาณ 5 - 35 เมตร ยาวประมาณ 2,134 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิมถึงระดับขุดลอกคลอง ความลึกเฉลี่ย 0.70 เมตร - ปริมาณดินที่ขุดลอก ประมาณ 17,750 ลูกบาศก์เมตร - ค่าระดับขุดลอก -2.00 เมตร (ร.ท.ก.) (ขุดลอกครั งสุดท้ำยเมื่อ : พ.ศ.2555) ระยะเวลำด้ำเนินกำร 90 วัน งบประมำณ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 จ านวนเงิน 7,548,000 บาท ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างจัดท า TOR 6 ต.ค. 66 - ปัจจุบัน เขตบางขุนเทียน


ขุดลอกคลองบำงระแนะ จำกคลองภำษีเจริญถึงคลองสนำมชัย 1.ควำมจ้ำเป็นเร่งด่วน (แก้ไขปัญหำควำมเดือนร้อนประชำชนโดยตรง) นายสุทธิชัย วีรกุลสุนทร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เขตจอมทอง ได้แจ้งต่อผู้อ านวยการส านักการระบายน้ า ว่า ประชาชนในพื้นที่เขตจอมทอง ได้รับความเดือดร้อนจากสภาพคลองที่ตื้นเขิน จึงให้ส านักการระบายน้ าตรวจสอบสภาพคลองบางระแนะ ซึ่งส านักการ ระบายน้ าได้ตรวจสอบแล้ว พบว่าคลองมีสภาพตื้นเขินจึงเห็นควรขุดลอกเพื่อให้ประชาชนที่สัญจรโดยเรือในคลองดังกล่าวได้รับความสะดวกยิ่งขึ้น และเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ าและรองรับปริมาณน้ าในพื้นที่เขตจอมทองและเขตภาษีเจริญ 2.ประโยชน์/กำรแก้ไขปัญหำกับประชำชนในพื นที่ คลองบางระแนะ เป็นคลองที่ประชาชนใช้เป็นเส้นทางสัญจรในพื้นที่เขตจอมทองและเขตภาษีเจริญ เนื่องจากเป็น คลองที่เชื่อมกับคลองหลัก คือคลองภาษีเจริญกับคลองสนามชัย อีกทั้งยังรับน้ าในพื้นที่เพื่อระบายลงสู่คลองสนามชัยอีก ด้วย 3.ผลกระทบหำกไม่ได้รับงบประมำณ ประชาชนในพื้นที่ไม่สามารถใช้คลองเป็นเส้นทางสัญจรและการค้าขายทางเรือได้อย่างสะดวก เนื่องจากคลองมี สภาพตื้นเขิน อีกทั้งการระบายน้ าในพื้นที่ก็ไม่สามารถท าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งอาจท าให้เกิดปัญหาน้ าท่วมขังและ น้ าเน่าเสียในพื้นที่ได้ 4. - เป็นไปตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ยุทธศาสตร์ มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.4 : ปลอดภัยพิบัติ เป้าหมายที่ 1.4.1 กรุงเทพมหานครสามารถลด ความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ - อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของส านักการระบายน้ า ปี 2566 ซึ่งสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี 2565 เป้าหมายที่ 1.4.1 เป้าประสงค์ที่ 1.4.1.1 กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ าฝน น้ าหนุน และน้ าหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอุทกภัย 5. - ส านักการระบายน้ ายังไม่เคยเสนอของบประมาณ (รายการใหม่) ประโยชน์ที่ได้รับ ประชาชนในพื้นที่สามารถใช้คลองเป็นเส้นทางสัญจร และการค้าขายทางเรือได้อย่างสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพใน การรองรับปริมาณน้ าและการระบายน้ าในพื้นที่ ป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ าท่วมน้ าเน่าเสีย ปริมำณงำน - ขุดลอกคลองกว้างประมาณ 4 - 12 เมตร ยาวประมาณ 3,797 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิมถึงระดับขุดลอกคลอง ความลึกเฉลี่ย 0.80 เมตร - ปริมาณดินที่ขุดลอก ประมาณ 23,290 ลูกบาศก์เมตร - ค่าระดับขุดลอก -2.00 เมตร (ร.ท.ก.) (ขุดลอกครั งสุดท้ำยเมื่อ : พ.ศ.2558) ระยะเวลำด้ำเนินกำร 90 วัน งบประมำณ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 จ านวนเงิน 7,037,000 บาท ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างก าหนดราคากลาง 20 พ.ย. 66 - ปัจจุบัน เขตจอมทอง, ภาษีเจริญ


ขุดลอกคลองบำงหว้ำ จำกคลองด่ำนถึงคลองบำงจำก 1.ควำมจ้ำเป็นเร่งด่วน (แก้ไขปัญหำควำมเดือนร้อนประชำชนโดยตรง) นายสุทธิชัย วีรกุลสุนทร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เขตจอมทอง ได้แจ้งต่อผู้อ านวยการส านักการระบายน้ า ว่า ประชาชนในพื้นที่เขตจอมทอง ได้รับความเดือดร้อนจากสภาพคลองที่ตื้นเขิน จึงให้ส านักการระบายน้ าตรวจสอบสภาพคลองบางหว้า ซึ่งส านักการ ระบายน้ าได้ตรวจสอบแล้ว พบว่าคลองมีสภาพตื้นเขินจึงเห็นควรขุดลอกเพื่อให้ประชาชนที่สัญจรโดยเรือในคลองดังกล่าวได้รับความสะดวก ยิ่งขึ้น และเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ าและรองรับปริมาณน้ าในพื้นที่เขตจอมทองและเขตภาษีเจริญ 2.ประโยชน์/กำรแก้ไขปัญหำกับประชำชนในพื นที่ คลองบางหว้า เป็นคลองที่ประชาชนใช้เป็นเส้นทางสัญจรในพื้นที่เขตจอมทองและเขตภาษีเจริญ เนื่องจากเป็น คลองที่เชื่อมกับคลองหลัก คือคลองบางจาก คลองภาษีเจริญและคลองด่าน อีกทั้งยังรับน้ าในพื้นที่เพื่อระบายลงสู่คลองด่านและสนามชัยอีกด้วย 3.ผลกระทบหำกไม่ได้รับงบประมำณ ประชาชนในพื้นที่ไม่สามารถใช้คลองเป็นเส้นทางสัญจรและการค้าขายทางเรือได้อย่างสะดวก เนื่องจากคลองมี สภาพตื้นเขิน อีกทั้งการระบายน้ าในพื้นที่ก็ไม่สามารถท าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งอาจท าให้เกิดปัญหาน้ าท่วมขัง และน้ าเน่าเสียในพื้นที่ได้ 4. - เป็นไปตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ยุทธศาสตร์ มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.4 : ปลอดภัยพิบัติ เป้าหมายที่ 1.4.1 กรุงเทพมหานครสามารถลด ความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ - อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของส านักการระบายน้ า ปี 2566 ซึ่งสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี 2565 เป้าหมายที่ 1.4.1 เป้าประสงค์ที่ 1.4.1.1 กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจาก น้ าฝน น้ าหนุน และน้ าหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสา ธารณภัย โดยเฉพาะอุทกภัย 5. - ส านักการระบายน้ ายังไม่เคยเสนอของบประมาณ (รายการใหม่) ประโยชน์ที่ได้รับ ประชาชนในพื้นที่สามารถใช้คลองเป็นเส้นทางสัญจร และการค้าขายทางเรือได้อย่างสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพใน การรองรับปริมาณน้ าและการระบายน้ าในพื้นที่ ป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ าท่วมน้ าเน่าเสีย ปริมำณงำน - ขุดลอกคลองกว้างประมาณ 5 - 10 เมตร ยาวประมาณ 3,172 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิมถึงระดับขุดลอกคลอง ความลึกเฉลี่ย 1.00 เมตร - ปริมาณดินที่ขุดลอก ประมาณ 21,905 ลูกบาศก์เมตร - ค่าระดับขุดลอก -1.50 เมตร (ร.ท.ก.) (ขุดลอกครั งสุดท้ำยเมื่อ : พ.ศ.2555) ระยะเวลำด้ำเนินกำร 90 วัน งบประมำณ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 จ านวนเงิน 6,625,000 บาท ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างจัดท า TOR 3 พ.ย. 66 - ปัจจุบัน เขตจอมทอง, ภาษีเจริญ


ขุดลอกคลองบำงประทุน จำกคลองสนำมชัยถึงคลองบำงระแนะ 1.ควำมจ้ำเป็นเร่งด่วน (แก้ไขปัญหำควำมเดือนร้อนประชำชนโดยตรง) นายสุทธิชัย วีรกุลสุนทร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เขตจอมทอง ได้แจ้งต่อผู้อ านวยการส านักการระบายน้ า ว่า ประชาชนในพื้นที่เขตจอมทอง ได้รับความเดือดร้อนจากสภาพคลองที่ตื้นเขิน จึงให้ส านักการระบายน้ าตรวจสอบสภาพคลองบางประทุน ซึ่งส านักการ ระบายน้ าได้ตรวจสอบแล้ว พบว่าคลองมีสภาพตื้นเขินจึงเห็นควรขุดลอกเพื่อให้ประชาชนที่สัญจรโดยเรือในคลองดังกล่าวได้รับความสะดวกยิ่งขึ้น และเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ าและรองรับปริมาณน้ าในพื้นที่เขตจอมทองและเขตภาษีเจริญ 2.ประโยชน์/กำรแก้ไขปัญหำกับประชำชนในพื นที่ คลองบางประทุน เป็นคลองที่ประชาชนใช้เป็นเส้นทางสัญจรในพื้นที่เขตจอมทองและเขตภาษีเจริญ เนื่องจากเป็น คลองที่เชื่อมกับคลองหลัก คือคลอง บางระแนะกับคลองสนามชัย อีกทั้งยังรับน้ าในพื้นที่เพื่อระบายลงสู่คลองสนามชัยอีกด้วย 3.ผลกระทบหำกไม่ได้รับงบประมำณ ประชาชนในพื้นที่ไม่สามารถใช้คลองเป็นเส้นทางสัญจรและการค้าขายทางเรือได้อย่างสะดวก เนื่องจากคลองมี สภาพตื้นเขิน อีกทั้งการระบายน้ าในพื้นที่ก็ไม่สามารถท าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งอาจท าให้เกิดปัญหาน้ าท่วมขังและ น้ าเน่าเสียในพื้นที่ได้ 4. - เป็นไปตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ยุทธศาสตร์ มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.4 : ปลอดภัยพิบัติ เป้าหมายที่ 1.4.1 กรุงเทพมหานครสามารถลด ความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ - อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของส านักการระบายน้ า ปี 2566 ซึ่งสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี 2565 เป้าหมายที่ 1.4.1 เป้าประสงค์ที่ 1.4.1.1 กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ าฝน น้ าหนุน และน้ าหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอุทกภัย 5. - ส านักการระบายน้ ายังไม่เคยเสนอของบประมาณ (รายการใหม่) ประโยชน์ที่ได้รับ ประชาชนในพื้นที่สามารถใช้คลองเป็นเส้นทางสัญจร และการค้าขายทางเรือได้อย่างสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพใน การรองรับปริมาณน้ าและการระบายน้ าในพื้นที่ ป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ าท่วมน้ าเน่าเสีย ปริมำณงำน - ขุดลอกคลองกว้างประมาณ 5 - 15 เมตร ยาวประมาณ 3,623 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิมถึงระดับขุดลอกคลอง ความลึกเฉลี่ย 0.70 เมตร - ปริมาณดินที่ขุดลอก ประมาณ 20,145 ลูกบาศก์เมตร - ค่าระดับขุดลอก -2.00 เมตร (ร.ท.ก.) (ขุดลอกครั งสุดท้ำยเมื่อ : พ.ศ.2560) ระยะเวลำด้ำเนินกำร 90 วัน งบประมำณ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 จ านวนเงิน 6,092,000 บาท ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างก าหนดราคากลาง 20 พ.ย. 66 - ปัจจุบัน เขตจอมทอง, ภาษีเจริญ


ขุดลอกคลองทับยำว จำกคลองลัดทับยำว ถึงสุดเขตกรุงเทพมหำนคร 1.ควำมจ้ำเป็นเร่งด่วน (แก้ไขปัญหำควำมเดือนร้อนประชำชนโดยตรง) ปัจจุบัน คลองทับยาว เป็นคลองที่ส าคัญในการระบายน ้า โดยรับน ้าจากถนนทับยาว ถนนหลวงแพ่งและชุมชนที่อยู่ อาศัยในพื้นที่เขตลาดกระบังเป็นคลองที่เชื่อมต่อกับคลองลัดทับยาว คลองเจ๊ก คลองมอญ(ลาดกระบัง)และคลองบ้านม้าแล้ว ไหลลงคลองประเวศบุรีรมย์ ปัจจุบันมีสภาพตื้นเขินและมีการร้องเรียนให้ขุดลอกอยู่บ่อยครั้ง จึงเห็นควรด าเนินการขุดลอก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน ้าและแก้ไขปัญหาน ้าท่วมขังให้กับประชาชนในพื้นที่และท าให้น ้าในคลองมีสภาพดีขึ้น 2.ประโยชน์/กำรแก้ไขปัญหำกับประชำชนในพื นที่ คลองทับยาว เป็นคลองที่ส าคัญในการระบายน ้า โดยรับน ้าจากถนนทับยาว ถนนหลวงแพ่งและชุมชนที่อยู่อาศัยใน พื้นที่เขตลาดกระบังเป็นคลองที่เชื่อมต่อกับคลองลัดทับยาว คลองเจ๊ก คลองมอญ(ลาดกระบัง)และคลองบ้านม้าแล้วไหลลง คลองประเวศบุรีรมย์ 3.ผลกระทบหำกไม่ได้รับงบประมำณ มีสภาพตื้นเขินไม่สามารถเก็บกักน ้าและถ่ายเทน ้าได้เต็มประสิทธิภาพ เกิดปัญหาน ้าเน่าเสียมีขยะตกค้างในคลอง จ านวนมาก ประชาชนร้องเรียนปัญหาน ้าในคลองส่งกลิ่นเหม็น ผ่านทาง Traffy Fondueอยู่บ่อยครั้ง 4. - เป็นไปตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ยุทธศาสตร์ มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.4 : ปลอดภัยพิบัติเป้าหมายที่ 1.4.1 กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ - อยู่ในแผนปฏิบัติราชการของส้านักการระบายน้้า ปี 2566 ซึ่งสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี 2565 เป้าหมายที่ 1.4.1 เป้าประสงค์ที่ 1.4.1.1 กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้้าฝน น้้าหนุน และน้้า หลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอุทกภัย 5. - ส้านักการระบายน้้ายังไม่เคยเสนอของบประมาณ (รายการใหม่) ประโยชน์ที่ได้รับ การเก็บกักและถ่ายเทน้้าในพื้นที่เขตตะวันออกได้เต็มประสิทธิภาพ ลดปัญหาน้้าเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น น้้าในคลองมีสภาพดี ขึ้น แก้ไขปัญหาน้้าท่วมขัง และแก้ไขปัญหาลดความเดือนร้อนของประชาชน ปริมำณงำน - ขุดลอกคลองกว้างประมาณ 15-20 เมตร ยาวประมาณ 6,200 เมตร - ลึกจากระดับท้องคลองเดิม ถึงระดับขุดลอกคลอง (ความลึกเฉลี่ย 0.50 เมตร) - ปริมาณดินที่ขุดลอก ประมาณ 37,200 ลูกบาศก์เมตร - ค่าระดับขุดลอกคูน้ า -2.00 เมตร (ร.ท.ก.) (ขุดลอกครั งสุดท้ำยเมื่อ : พ.ศ.2555) ระยะเวลำด้ำเนินกำร 60 วัน งบประมำณ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.2567 จ านวนเงิน 4,280,000 บาท ผลกำรด้ำเนินงำน อยู่ระหว่างจัดท า TOR 6 ต.ค. 66 - ปัจจุบัน เขตลาดกระบัง


Click to View FlipBook Version