The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

powerpoint นำเสนอ ประเมินครั้งที่ 2 ครูผู้ช่วย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tle14122528, 2022-06-01 11:28:36

นำเสนอประเมินครูผู้ช่วย ครั้งที่ 2

powerpoint นำเสนอ ประเมินครั้งที่ 2 ครูผู้ช่วย

โรงเรียนบ้านสอยดาว
ยนิ ดตี ้อนรับคณะกรรมการการประเมิน
การเตรียมความพร้ อมและพัฒนาอย่ างเข้ ม

ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย ครัง้ ท่ี 2

ยินดตี อ้ นรับคณะกรรมการการประเมนิ

การเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย

นางวนั ทนา ศรีชมภู นางสาวศศิรัศมิ์ พงศ์ลวดกระโทก นางสาวนุสรา สิงหพ์ ยคั เดช

ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านสอยดาว ตาแหนง่ ครชู านาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านสอยดาว ตาแหนง่ ครชู านาญการ โรงเรียนบ้านหนองกะทมุ่

การประเมิน
การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้

ตาแหนง่ ครูผูช้ ่วย ครั้งท่ี 2

นางสาวพรนภา ใกล้สนั เทยี ะ โรงเรียนบ้านสอยดาว
ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย
สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 4
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

ขอ้ มลู ทั่วไป ช่อื ผรู้ บั การประเมนิ นางสาวพรนภา ใกลส้ นั เทยี ะ อายุ 36 ปี

คณุ วฒุ ิ บริหารธรุ กจิ บณั ฑติ (บธ.บ) สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ

ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย
ตาแหนง่ เลขท่ี 1364

รับเงินเดอื น 15,050 บาท
สถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นสอยดาว
อาเภอ ปากชอ่ ง จังหวัด นครราชสมี า
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 4
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

ประถมศึกษา ประวัติการศึกษา

โรงเรยี นบา้ นเมอื งเก่า นางสาวพรนภา ใกล้สันเทียะ
ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย
มธั ยมศึกษาตอนตน้

โรงเรยี นพระทองคาวิทยา

ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ

วิทยาลัยเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการ
นครราชสมี า

ปริญญาตรี

บริหารธรุ กิจบณั ฑิต(คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ)

มหาวิทยาลยั วงษช์ วลิตกลุ

ประวตั ิการทางาน ตาแหนง่ ธรุ การโรงเรยี น

นางสาวพรนภา ใกล้สนั เทียะ โรงเรียนบา้ นโพนไพล อาเภอพระทองคา จังหวัดนครราชสีมา
ตาแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

ตาแหนง่ ครผู ู้สอน ระดับช้นั ประถมศกึ ษา

โรงเรยี นบ้านโพนไพล อาเภอพระทองคา จงั หวัดนครราชสีมา
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

ปจั จบุ ัน บรรจุเขา้ รบั ราชการครู ตาแหนง่ ครูผู้ช่วย

โรงเรียนบา้ นสอยดาว อาเภอปากชอ่ ง จังหวัดนครราชสีมา
สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

งานที่ได้รับมอบหมาย ครูผู้สอน ระดบั ประถมศึกษา
- สอนวิชา สงั คมศกึ ษาฯ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6
นางสาวพรนภา ใกล้สนั เทียะ - สอนวิชา ประวัตศิ าสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 – 6
ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย - สอนวิชา หนา้ ที่พลเมือง ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 – 6

- กิจกรรมแนะแนว ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3
- กจิ กรรมชมุ นมุ S.D.CUT ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
- กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3
- กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3

งานในหน้าทีพ่ เิ ศษ
- ครปู ระจาช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3
- ครูเวรเจ้าหน้าที่ขายของสหกรณโ์ รงเรยี นประจาวันศุกร์
- เวรยามรกั ษาความปลอดภยั อาคารสถานทีแ่ ละทรพั ยส์ ินของทาง
ราชการ



ข้อที่ 1 วนิ ัยและการรักษาวนิ ยั

ตัวบง่ ช้ี 1.1 การแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ทา่ ทาง และการสื่อสารได้เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผูเ้ รียน

ข้าพเจ้าปฏิบัติตนต่อนักเรียนด้วยความอ่อนโยน พูดจาไพเราะ ยิ้มแย้มแจ่มใส ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี
สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้อย่างเหมาะสมกับความเป็นครู เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองเกิดความไว้วางใจ
ในตวั ขา้ พเจ้าจนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมของช้ันเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ

ขอ้ ท่ี 1 วนิ ัยและการรักษาวนิ ยั

ตัวบง่ ชี้ 1.2 การแสดงออกทางอารมณ์ กรยิ า ทา่ ทาง และการสื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะต่อผู้บงั คับ
บญั ชาเพ่อื นร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลอน่ื

ขา้ พเจ้าปฏบิ ัตติ นในการแสดงออกทางอารมณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ โดยคานึงถงึ กาลเทศะกับบุคคลผู้ร่วม
สนทนาและวางตัวในการใช้ถ้อยคาที่สุภาพในการสื่อสารด้วยความนุ่มนวลเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวกกับนักเรียน ผู้ปกครอง
และบุคคลอื่น

ขอ้ ที่ 1 วนิ ัยและการรกั ษาวนิ ยั

ตัวบ่งช้ี 1.2 การแสดงออกทางอารมณ์ กรยิ า ท่าทาง และการส่ือสารไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะตอ่ ผู้บังคบั
บญั ชาเพ่อื นร่วมงาน ผูป้ กครอง และบุคคลอ่ืน

ข้าพเจ้าปฏิบัติตนในการแสดงกริยาท่าทางท่ีสุภาพ และพูดสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับกาละเทศะต่อผู้บังคับบัญชา
และเพ่ือนครอู ย่างเปน็ กัลยาณมติ ร

ขอ้ ท่ี 1 วินัยและการรกั ษาวนิ ยั

ตวั บง่ ช้ี 1.3 การมีเจตคติเชงิ บวกตอ่ ประเทศชาติ

ข้าพเจา้ ไดร้ ว่ มกิจกรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกับ สถาบันชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริย์อย่างตอ่ เนอื่ ง

ขอ้ ที่ 1 วนิ ยั และการรักษาวนิ ยั

ตัวบ่งชี้ 1.4 การปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บหลกั เกณฑท์ ่เี กยี่ วขอ้ งกับความเป็นขา้ ราชการ

ข้าพเจา้ ปฏิบตั ติ นแตง่ กายสุภาพ เรียบร้อย ถกู ตอ้ ง
ตามระเบียบราชการมุ่งมน่ั ปฏิบัตหิ น้าท่ีท้ังในและนอกเวลา
ราชการอยา่ งเตม็ ความสามารถ และไมป่ ระพฤตติ นกระทา
ความผดิ อนั ก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อทางราชการ

ข้อที่ 1 วนิ ัยและการรักษาวนิ ยั

ตัวบง่ ชี้ 1.5 การปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บหลักเกณฑ์ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับความเปน็ ขา้ ราชการครู

ขา้ พเจ้าปฏบิ ัตติ นตามกฎหมายและกระทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม โดยใช้เหตุผลและวิจารณญาณใน
การตัดสนิ ใจเลือกปฏบิ ัตหิ น้าทีท่ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย จนบรรลุเปา้ หมายหนา้ ท่ีของขา้ ราชการ

ขอ้ ที่ 1 วินัยและการรกั ษาวนิ ยั

ตัวบ่งช้ี 1.6 การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย

ข้าพเจา้ รักษาวินัยที่เปน็ ขอ้ ห้าม
และข้อปฏิบตั อิ ย่างเครง่ ครัด
อยเู่ สมอ โดยศึกษาพระราชบญั ญตั ิ
ระเบยี บข้าราชการครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ.2547
เพือ่ เตือนตนมิให้กระทาความผดิ

ทางวินัยราชการ

ขอ้ ที่ 2 คุณธรรม จรยิ ธรรม

ตวั บ่งช้ี 2.1 การปฏิบตั ิตนตามหลักศาสนาที่นบั ถอื อย่างเครง่ ครัด

ขา้ พเจ้าปฏิบตั ิตนตามหลกั ศาสนาท่นี บั ถือ เป็นผมู้ ี
คุณธรรม จริยธรรม เพื่อการเปน็ ครทู ่ีประกอบดว้ ยคณุ งามและ
ความดี ทาบญุ ตกั บาตรเปน็ ประจา ซงึ่ กระทาดว้ ยความสานกึ ใน
จติ ใจ เช่น มกี ารยึดหลักธรรมพรหมวหิ าร ๔ คอื
1. เมตตาตอ่ ศษิ ย์
2. มีความกรณุ าตอ่ ศิษย์ ช่วยเหลอื ใหค้ าแนะนา อบรมส่ังสอน
ใหศ้ ิษยป์ ระพฤตติ นอย่างเหมาะสม
3. มมี ทุ ติ าจติ คือมีความยนิ ดเี สมอเมอื่ ศิษย์ไดด้ ีพร้อมกับ
กล่าวยกย่องชมเชย
4. มีอุเบกขา คอื มีการพยายามวางเฉยตอ่ บางพฤติกรรม
กา้ วร้าวท่ศี ิษย์แสดงออกมาโดยไม่ตง้ั ใจ



ขอ้ ท่ี 2 คณุ ธรรม จริยธรรม

ตวั บง่ ช้ี 2.2 การเข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนศาสนกจิ ของศาสนาท่นี ับถอื อย่างสมา่ เสมอ

ข้าพเจ้าดารงตนตามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา และเข้าร่วมศาสนกจิ ของศาสนาพทุ ธ ปฏิบัติตามขนบธรรมเนียม
ประเพณี ตลอดจนค่านิยมของสังคม ทาให้ข้าพเจ้าสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข เช่น การปฏิบัติธรรม
ในวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา

ขอ้ ท่ี 2 คุณธรรม จรยิ ธรรม

ตวั บง่ ชี้ 2.3 การเห็นความสาคัญ เขา้ ร่วม สง่ เสริม สนับสนุน เคารพกจิ กรรมท่แี สดงถึง จารีตประเพณี
วฒั นธรรมท้องถน่ิ หรอื ชุมชน

ข้าพเจ้าเข้ารว่ มและใหค้ วามรว่ มมอื กบั ชุมชนและเข้ารว่ มกิจกรรมต่างๆ ทีช่ ุมชนจดั ขนึ้

ขอ้ ท่ี 2 คุณธรรม จริยธรรม

ตัวบ่งชี้ 2.4 การเหน็ ความสาคัญ เขา้ ร่วม สง่ เสรมิ สนับสนุน กจิ กรรมท่แี สดงถึง จารตี ประเพณี
วัฒนธรรมของชาติ

ข้าพเจา้ เคารพธงชาติและร่วมพธิ ีกรรมหนา้ เสาธง
ทกุ กิจกรรม จนเปน็ ทป่ี ระจกั ษ์แก่สายตานักเรียนและเพ่ือน
รว่ มงาน

ข้อท่ี 2 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

ตวั บง่ ช้ี 2.5 การมจี ติ บรกิ ารและจิตสาธารณะ

ขา้ พเจ้ามคี วามเต็มใจท่ีจะใหบ้ ริการแกผ่ ู้ปกครองนกั เรยี นทมี่ าตดิ ต่อราชการกบั ทางโรงเรยี นด้วยความเต็มใจ
และมจี ิตอาสาในการช่วยงานโรงเรียนโดยการชว่ ยรกั ษาความสะอาดภายในบริเวณโรงเรยี นอยา่ งสม่าเสมอด้วยความเตม็ ใจ

ขอ้ ท่ี 2 คุณธรรม จริยธรรม

ตวั บ่งชี้ 2.6 การตอ่ ต้านการกระทาของบุคคลหรือกลมุ่ บคุ คลทีส่ ง่ ผลต่อความมน่ั คงของชาติหรอื ผลกระทบ
เชิงลบต่อสังคมโดยรวม

ข้าพเจ้าไมส่ นบั สนนุ ไมเ่ ผยแพร่การกระทาทส่ี ่งผลตอ่ ความมนั่ คงของชาติ ไมป่ ฏบิ ตั ติ นใหเ้ ปน็ ตวั อย่างทไี่ ม่ดแี กศ่ ษิ ย์
ในการสร้างความไมม่ น่ั คงของชาติ ไม่ปฏิบตั ติ นให้เส่ือมเสียช่อื เสียงหรือมีผลกระทบต่อองค์กร
และเข้ารว่ มกจิ กรรมที่ปลูกฝังความจงรักภกั ดีต่อชาติ ศาสนาและพระมหากษตั รยิ ์



ขอ้ ที่ 3 จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู

ตัวบ่งช้ี 3.1 การพฒั นาวชิ าชพี และบคุ ลกิ ภาพอย่างต่อเนื่อง

ข้าพเจา้ ปฏบิ ตั ิตนเหมาะสมกับ
ความเปน็ ครตู ามจรรยาบรรณ
วิชาชีพครู และมีการเข้าอบรมและ
พฒั นาตนให้มีบุคลิกภาพดี
เหมาะกบั การเปน็ ครู พัฒนางาน
ใหด้ ีอย่เู สมอ มีความรบั ผิดชอบ
ต่อวชิ าชพี และเปน็ สมาชิกทด่ี ี

ขององค์กร

ขอ้ ที่ 3 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู

ตวั บ่งชี้ 3.1 การพฒั นาวิชาชีพและบุคลิกภาพอย่างต่อเนื่อง

ขา้ พเจา้ เข้าอบรมและพัฒนาตนให้เหมาะสมกับการเปน็ ครตู ลอดจนพฒั นางานใหด้ ีอย่เู สมอ

ขอ้ ที่ 3 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู

ตวั บ่งชี้ 3.1 การพฒั นาวิชาชีพและบุคลิกภาพอย่างต่อเนื่อง

ขา้ พเจา้ เข้าอบรมและพัฒนาตนให้เหมาะสมกับการเปน็ ครตู ลอดจนพฒั นางานใหด้ ีอย่เู สมอ

ข้อท่ี 3 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู

ตัวบ่งชี้ 3.2 การมวี ิสยั ทัศน์ รูแ้ ละเขา้ ใจ สนใจ ติดตามความเปล่ยี นแปลงดา้ นวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คม
การเมอื งของไทย และนานาชาติในปจั จุบัน

ขา้ พเจา้ เขา้ อบรมหลักสตู รเกย่ี วกับเทคโนโลยีทางการเรียนรอู้ ยู่เสมอ

ขอ้ ที่ 3 จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู

ตัวบ่งช้ี 3.3 การไม่อาศยั วชิ าชีพแสวงหาผลประโยชนท์ ่ไี ม่ถูกตอ้ ง

ขา้ พเจา้ เห็นคณุ ค่าและความสาคัญ
ของการเป็นครทู ดี่ อี ยูเ่ สมอ โดยมีความรกั
และศรัทธาในวิชาชพี ครู พงึ กระทาตน
ใหเ้ ปน็ แบบอย่างที่ดตี อ่ ศษิ ย์ท้งั ทางตรง

และทางอ้อม โดยข้าพเจา้ ฉีดวัคซนี
ป้องกนั โควดิ -19 และร่วมทาสรี ัว้ เพ่ือ

พฒั นาโรงเรียน

ข้อท่ี 3 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู

ตัวบง่ ช้ี 3.4 การม่งุ มัน่ ต่อการพฒั นาความรู้ความสามารถของผู้เรียน

ข้าพเจ้าปฏิบตั ิงานสอนดว้ ยความรับผิดชอบ เตม็ ใจเต็มกาลงั ความสามารถ เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี นใหม้ พี ัฒนาการและความพรอ้ ม
ท่ีเหมาะสมกับวยั และศักยภาพ ปฏบิ ัติหนา้ ทด่ี ้วยความวิรยิ ะอุตสาหะ เสียสละทั้งเวลา แรงกาย และทนุ ทรพั ย์ส่วนตวั
เพอ่ื พฒั นาผูเ้ รยี นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ตามเปา้ หมายทีก่ าหนดไว้

ขอ้ ท่ี 3 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู

ตัวบ่งช้ี 3.5 การให้ความสาคญั เขา้ ร่วมสง่ เสรมิ สนบั สนุนกิจกรรมทเี่ ก่ียวข้องกบั วชิ าชีพครูอย่างสมา่ เสมอ

ข้าพเจ้าเข้าร่วมการอบรมความรทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษาอยู่เสมอ เมอื่ เสร็จสิน้ การจดั กจิ กรรมข้าพเจา้ ทาแบบบันทกึ และ
สรปุ ผลการเข้าร่วมกจิ กรรม นาความรทู้ ไ่ี ดม้ าพฒั นาตนเองและผ้เู รยี นและรายงานผลใหผ้ บู้ รหิ ารสถานศกึ ษารับทราบอยู่เสมอ

ขอ้ ที่ 3 จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู

ตวั บ่งชี้ 3.6 รกั เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลอื สนับสนนุ ใหบ้ ริการผูเ้ รียนทกุ คน ดว้ ยความเสมอภาค

ขา้ พเจ้าปฏิบตั ิหนา้ ท่อี บรมสงั่ สอนศษิ ย์
ดว้ ยความรกั และศรัทธาในวชิ าชพี ครู
กระต้นุ และสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง สร้างเสริมทกั ษะชวี ติ และปลูกฝงั
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมทกุ ครงั้ ในกจิ กรรมการเรยี น
การสอน ประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี
ให้กบั ผเู้ รียนด้วยการตรงต่อเวลา รักษาวนิ ัย
พดู จาไพเราะ และใหค้ วามเป็นกันเองแกน่ กั เรยี น

ขอ้ ท่ี 3 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู

ตวั บ่งช้ี 3.7 การประพฤติเป็นที่ยอมรับของผู้เรียน ผู้บริหาร เพ่อื นรว่ มงาน ผูป้ กครอง และชมุ ชน

ข้าพเจ้าดารงตนดว้ ยความสุภาพ
อ่อนน้อมสารวมในกริ ิยามารยาท
และการแสดงออกด้วยปยิ วาจา
แต่งกายสะอาดเรยี บรอ้ ยถูกต้อง

ตามกาลเทศะ

ขอ้ ท่ี 3 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู

ตวั บง่ ช้ี 3.7 การประพฤติเป็นทย่ี อมรับของผูเ้ รียน ผูบ้ รหิ าร เพื่อนรว่ มงานผู้ปกครอง และชุมชน

ขา้ พเจา้ ปฏิบัตงิ านท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
ตามตาแหนง่ และงานอ่นื ๆ
สาเร็จลุลว่ งและมีคณุ ภาพ

บรรลตุ ามเป้าหมายตามทก่ี าหนด
ใหบ้ รกิ ารดว้ ยความเตม็ ใจ

และเสมอภาค โดยปฏบิ ัตหิ น้าที่ครู
เวรประจาวนั พุธ ตักอาหารให้
นกั เรียนด้วยความเตม็ ใจ

ขอ้ ท่ี 3 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู

ตัวบ่งชี้ 3.8 การไม่ปฏบิ ัตติ นที่สง่ ผลเชิงลบตอ่ กายและจติ ใจของผ้เู รียน

ข้าพเจ้าปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูอยา่ งเคร่งครดั และเปน็ แบบอย่างที่ดีแกผ่ ูเ้ รียน
โดยข้าพเจ้าเป็นแบบอย่างการสง่ เสริมประชาธปิ ไตยแก่นกั เรยี นตามโครงการประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น

ขอ้ ท่ี 3 จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู

ตวั บ่งช้ี 3.9 การทางานกับผู้อนื่ โดยยึดหลักความสามัคคี เกอ้ื กูลซึง่ กนั และกัน

ขา้ พเจ้าปฏบิ ตั งิ านตา่ งๆ ทโ่ี รงเรยี นมอบหมายอยา่ งเต็มใจ ชว่ ยเหลือเกื้อกลู ซึง่ กันและกนั
ใหค้ วามร่วมมอื กับคณะครูในการทากิจกรรมตา่ งๆ ท้งั ในและนอกสถานศึกษา

ข้อท่ี 3 จรรยาบรรณวชิ าชีพครู

ตวั บง่ ช้ี 3.10 การใชค้ วามรู้ความสามารถที่มอี ย่นู าให้เกิดความเปลีย่ นแปลงในทางพัฒนาให้กบั ผูเ้ รียน
โรงเรยี นหรอื ชุมชนในดา้ นใดดา้ นหนึง่

ขา้ พเจา้ ตงั้ ใจปฏบิ ตั หิ น้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะทต่ี นเองมใี ห้กบั นักเรียนโดยมไิ ด้ปิดบงั พยายามศกึ ษา
ค้นควา้ หาความร้เู พิม่ เติมเพ่อื พฒั นาตนเอง และเขา้ อบรมเทคนคิ ใหมๆ่ นามาชว่ ยพัฒนาการเรียนการสอนใหก้ ับนักเรียน

เพ่อื ใหน้ ักเรียนเป็นบคุ คลท่ีมีความรู้ ทกั ษะ และทนั ต่อเหตุการณ์



ข้อท่ี 4 การดารงชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ตัวบง่ ชี้ 4.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ข้าพเจ้าตระหนกั ถงึ คุณค่าของการดาเนนิ ชีวิตตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งและพยายามน้อมนา
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นชวี ิตประจาวัน เพือ่ ความผาสุกของตนเองในปัจจุบนั และอนาคต

ข้อที่ 4 การดารงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ตวั บ่งช้ี 4.2 มกี ารนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรับประยกุ ต์ใช้กบั การจัดการเรยี นรู้ในห้องเรยี น
การเมอื งของไทย และนานาชาตใิ นปจั จุบัน

ข้าพเจ้านาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
มาจดั การเรยี นการสอนโดยการนาวัสดุเหลือใช้

ในโรงเรียน เชน่ ลังนมโรงเรยี นมาประดิษฐ์
เปน็ ของใชภ้ ายในห้องเรยี น การออมเงินทาให้
นกั เรยี น เหน็ แบบอยา่ งจนสามารถนาหลกั

ของ ความพอเพยี ง นาความรู้ทีไ่ ด้ไป
ประยุกต์ใช้ ในชวี ติ ประจาวันได้

ขอ้ ท่ี 4 การดารงชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตวั บง่ ช้ี 4.3 มกี ารนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรบั ประยุกตใ์ ชก้ ับภารกิจท่ไี ดร้ ับมอบหมายอื่น

ขา้ พเจ้าดาเนนิ ชวี ิตโดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน็ แนวทางในการทางานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ

ขอ้ ท่ี 4 การดารงชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ตวั บ่งช้ี 4.4 มกี ารนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรบั ประยุกตใ์ ช้กับการดารงชีวติ ของตนเอง

ข้าพเจ้าดาเนนิ ชวี ติ โดยยดึ หลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งของ

ในหลวงรัชกาลที่ 9 เปน็ แนวทางใน
การดาเนนิ ชีวิตในการใช้จ่ายเงนิ
ให้เหมาะสม เชน่ การแบ่งเงินเป็นส่วนๆ

และเหลอื ไวอ้ อม

ขอ้ ที่ 4 การดารงชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตัวบ่งช้ี 4.5 เปน็ แบบอย่างในการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ประยุกตใ์ ชก้ ับภารกจิ ต่างๆ
หรอื การดารงชวี ติ ของตน

ขา้ พเจา้ ปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี แี ก่
ลกู ศิษย์ ใช้ชีวติ บนสายกลาง

ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
มาใชใ้ นการดาเนินชวี ิต

โดยเป็นแบบอย่างทดี่ ใี ห้แก่นักเรยี น
ปลูกดูแลสวนผักและนาวสั ดมุ า
ประดิษฐเ์ ปน็ ของใช้เพอื่ นาไปใช้
ประโยชน์



ขอ้ ท่ี 5 จิตวญิ ญาณความเป็นคร฿ู

ตวั บง่ ชี้ 5.1 การเข้าสอนตรงเวลาและสอนเต็มเวลา

ข้าพเจา้ ปฏบิ ัติหนา้ ทท่ี ไี่ ด้รบั มอบหมายอยา่ งเต็มความสามารถ เต็มเวลา เขา้ สอนตรงเวลา
เอาใจใส่ตอ่ การปฏบิ ัตหิ นา้ ทอ่ี ย่างสม่าเสมอ จัดกจิ กรรมโดยเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั และมกี ารปรบั ปรงุ พัฒนางานการสอนอย่เู สมอ

ขอ้ ที่ 5 จติ วญิ ญาณความเป็นคร฿ู

ตัวบ่งช้ี 5.1 การเข้าสอนตรงเวลาและสอนเตม็ เวลา

ขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั ิหน้าท่ที ไ่ี ด้รบั
มอบหมายอยา่ งเต็มความสามารถ
โดยมกี ารวางแผนการสอนลว่ งหนา้

ในรายวชิ าที่รบั ผิดชอบ

ข้อที่ 5 จิตวญิ ญาณความเปน็ คร฿ู

ตัวบ่งช้ี 5.1 การเขา้ สอนตรงเวลาและสอนเต็มเวลา

ขา้ พเจ้าปฏิบัติหนา้ ทท่ี ไี่ ดร้ บั มอบหมายอยา่ งเตม็ ความสามารถ เตม็ เวลา เอาใจใส่ตอ่ การปฏิบตั หิ น้าท่อี ยา่ งสม่าเสมอ
มกี ารจดั ทาและจดั หาสอื่ การสอนและปรบั ปรงุ พัฒนางานการสอนอยเู่ สมอ

ข้อท่ี 5 จติ วิญญาณความเปน็ คร฿ู

ตวั บ่งช้ี 5.2 การตระหนกั ในความรู้และทักษะท่ีถกู ต้องรวมถงึ ส่งิ ท่ีดๆี ให้กบั ผู้เรยี น

ข้าพเจา้ รูแ้ ละตระหนกั ในหนา้ ท่ีของครู ดงั นี้ งานสอน
โดยขา้ พเจา้ มีการจดั เตรียมการสอนและวางแผนการสอนตลอดจน จัดเตรยี มเอกสารและส่อื การสอนที่หลากหลายเป็นประจา

ข้อที่ 5 จติ วญิ ญาณความเป็นคร฿ู

ตัวบง่ ช้ี 5.2 การตระหนักในความรู้และทกั ษะท่ีถูกต้องรวมถึงสิง่ ท่ีดๆี ใหก้ บั ผู้เรียน

ขา้ พเจ้ารแู้ ละตระหนกั ในหน้าทข่ี องครู ดงั นี้ งานครู
ครตู อ้ งรบั ผิดชอบงานดา้ นต่างๆ โดยขา้ พเจ้าไดจ้ ัดทาปา้ ยขอ้ มลู ข้อตกลง ใหค้ วามร้แู ละแสดงผลงานของนกั เรยี น

ขอ้ ท่ี 5 จติ วญิ ญาณความเปน็ คร฿ู

ตวั บง่ ชี้ 5.3 การสรา้ งความเสมอภาคเป็นธรรมกับผเู้ รียนทุกคน

ข้าพเจ้าเขา้ ใจความแตกต่าง
ระหว่างบคุ คล พยายามเรียนรแู้ ละ

ศกึ ษาผู้เรยี นกอ่ นจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอนเพอื่ จะได้ทราบความรู้

ของนักเรยี น แล้วนาผลทีไ่ ดไ้ ปใช้
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ให้เหมาะสมกบั ผู้เรยี น
ทาใหน้ กั เรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

ไปในทศิ ทางท่ีดีข้นึ

ข้อที่ 5 จติ วญิ ญาณความเปน็ คร฿ู

ตวั บ่งชี้ 5.4 การรจู้ ักใหอ้ ภัย ปราศจากอคติ ชว่ ยเหลือ สง่ เสรมิ สนับสนุนใหผ้ ู้เรยี นประสบความสาเรจ็
ตามศักยภาพ ความสนใจหรอื ความตัง้ ใจ

ข้าพเจา้ ต้ังใจปฏิบัติหน้าที่ใน การ
ถา่ ยทอดความรใู้ ห้แก่นักเรียน เพ่อื ให้
นักเรียนประสบความสาเรจ็ ตามศกั ยภาพ
ความสนใจหรอื ความตง้ั ใจโดยข้าพเจ้าให้
คาปรึกษาและชว่ ยเหลอื นกั เรียนไลน์ตดิ ตอ่
ผ้ปู กครองการติดตามเย่ียมบ้านนกั เรยี นใน
ประจาช้นั


Click to View FlipBook Version