DEPARTMENT OF RAILWAY SYSTEMS ENGINEERING
การประลองวิศวกรรมระบบราง
(RAILWAY SYSTEMS ENGINEERING LABORATORY)
รหัสวิชา 03-407-301-410
เรื่องที่ทดลอง...................................................................................
ผู้ร่วมทดลอง
1.ชื่อ.....................................................................รหัสนักศึกษา...............................................
2.ชื่อ.....................................................................รหัสนักศึกษา...............................................
3.ชื่อ.....................................................................รหัสนักศึกษา...............................................
ชั้นปี/ห้อง..................................................................
วันทำการทดลอง วันที่...........เดือน............................................พ.ศ...........................................
วันที่กำหนดส่ง วันที่...........เดือน............................................พ.ศ...........................................
ชื่อผู้ส่งรายงาน ชื่อ...................................................................รหัส...............................ห้อง...................
อาจารย์ผู้สอน ชื่อ.........................................................................................................................
DEPARTMENT OF RAILWAY SYSTEMS ENGINEERING
RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY ISAN
NAKORNRATCHASIMA
การเขียนรายงานการทดลอง
(Laboratory Report Writing)
1.ชื่อการทดลอง (Title)
ให้เขียนสั้น ๆ ว่าเป็นการทดลองเรื่องอะไร หากต้องการชื่อการทดลอง
ทั้งภาษาไทยและอังกฤษให้เขียนแยกบรรทัดโดยให้ภาษาไทยอยู่ข้างบน
แล้วใส่วงเล็บชื่อภาษาอังกฤษ เช่น
ตัวอย่าง เครื่องสูบน้ำแบบหอยโข่ง
(Centrifugal Pump)
2.สารบัญ (Contents)
หากรายงานนั้นมีเนื้อหาและหัวข้อมากควรต้องมีสารบัญบอกชื่อหัวข้อ
และหมายเลขหน้าบอกไว้ด้วย
ผลรวมของ3ค.บวทามย่นอ่า(Sจะumเป็mนaเrทy่า) กับ 1
เป็นรายงานสั้น ๆ เกี่ยวกับการทดลองทั้งหมดที่สมบูรณ์ในตัว ไม่ควร
ยาวเกินหนึ่งหเนม้ื่าอกคุรณะดบาวษกคควาวมรนก่าลจ่าะเวป็วน่าทัร้งาหยมงดาขนอเกงี่ผยลวลกััพบธอ์ทัะ้งไรหมบดรรยายวิธี
การทดลองและผลการทดเขล้าอด้งวสยั้นกันๆยพอดร้รอวมมทจั้งะเสป็รนุป1ที่สำคัญ บทย่อนี้จะ
เป็นสิ่งบ่งบอกถึงผู้อ่านรายงานว่ามีรายละเอียดในเนื้อหาในรายงานฉบับ
นี้น่าสนใจเพียงใด การเขียน ประกอบด้วย ทดลองเรื่องเกี่ยวกับเรื่อง
อะไร เพื่อหาอะไร ทดลองอย่างไร ผลเป็นอย่างไร แตกต่างจากทฤษฏี
อย่างไร
การเขียนรายงานการทดลอง
(Laboratory Report Writing)
4.วัตถุประสงค์ของการทดลอง (Object of Experiment)
กล่าวถึงจุดมุ่งหมาย ของการทดลองว่า ต้องการค้นหาอะไร อาจแบ่ง
เป็นข้อ ๆ ในการเขียนวัตถุประสงค์การทดลองนั้นต้องระมัดระวัง
ไม่ให้วัตถุประสงค์กว้างเกินไป และต้องเป็นวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับ
การทดลองโดยตรง
5.บทนำและทฤษฏี (Introduction or Theory)
เจจคบหึุ็างณรนกใรถชทคึยี้่ง่อปาาุคปเยรพวกีาทยากรฤมงฏณษพใ์ใดฏนยีแทคาีู่หล่เยมปลืะ็าัอวนกมิกธพกีใืาท้นนารดกรฐทลแาาดรลอนลหะงขทอาเอขชฤง้่งอนษกใมนฏีูหา้ีล้ทรมีน่ทนัาปกำกดรศมทลึีะก่ากสอปุษอดงราบเะคทกกย่วุาากาทรรีรต่ใจท์ทชใะ้ำดชทท้รลมำฤีาอไขษย้ดงอ้งฏีทใีาเทด่ีพทน่ืน่บำอ้อนาัแ้งกนสเเมหดหี
ตนงุืใอใดหไ้ป
ุ
ผลร6ว.อมุปขกอรงณค์วกาามรทน่ดาลจอะงเป็(นAเทp่pาaกัrบat1us)
บหอยรรื่อรางยไดชาัอยดะอเแุจปกนกรเถมร้มื่าอณต์ค้ปุอเณพรืง่ะบอกกวใอาหกร้บผคเูใข้ดวชอ้้้า่าวมาดม้ยนาวนตท่ยีา่ชรไกิจ้ัมนวนะ่ัเเสดปค่็ยวนใยอหนท้ัเด้รหงต็่ระนหาบวุมงอมพุดิปจสๆขกะัเยอปรข็งทณีน่อผส์งล1เาขลอม้ัุาพปาใรธกจ์ถทรั้งใวณัหห์ด้รมทูไี่ปดดส้ัสงังเกเกตต
การเขียนรายงานการทดลอง
(Laboratory Report Writing)
7.การเตรียมวิธีทดลอง (prepare the Procedure)
การเตรียมการทดลองโดยจัดเตรียมอุปกรณ์ในการทดลองให้ครบ
ทำความสะอาดอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้มีความพร้อม
8.วิธีทดลอง (Procedure)
บรรยายการทดลองที่ได้ทำจริง ๆ ซึ่งอาจแตกต่างจากคู่มือการทดลอง
ที่แจกให้
ผลรวมข9อ.ขง้อคคววารมรนะ่วาังจะ(Cเป็aนutเiทo่nา)กับ 1
พร้อมระบุข้อคเวมื่รอรคุะณวังบใวนกกคเขาว้ราาดทม้วนด่ยาลกจัอนะเงป็ยนเอทพัืด้่งอรหควมมวดจาขะมเอปป็งนลผอล1ดลัพภัธย์ทัใ้งนหกมาดรทดลอง
การเขียนรายงานการทดลอง
(Laboratory Report Writing)
10.ผลการทดลอง (Data & Result)
ข้อมูลและผลที่ได้จากการทดลองควรบันทึกในตารางหรือกราฟ ในการ
เขียนกราฟควรปฏิบัติ ดังนี้
10.1 เขียนชื่อกราฟไว้ข้างใต้
10.2 กำหนดปริมาณบนแกน x เป็นตัวแปรอิสระ และบนแกน y เป็น
ตัวแปรตาม
10.3 อย่าใช้สเกลที่ระเอียดเกินกว่าค่าความถูกต้องของผลที่คำนวณได้
10.4 การขยายสเกลจนเกินความจำเป็นอาจทำให้ตีความหมายผิดไป
10.5 พยายามจัดตำแหน่งของกราฟให้สมดุลกับหน้ากระดาษ
10.6 การกำหนดข้อมูลควรใช้สัญลักษณ์ เช่น วงกลม กากบาท
สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หากข้อมูลมีหลายชุด (มีกราฟหลายเส้น) ใช้
สัญลักษณ์ที่มีแตกต่างกัน
10.7 การลากเส้นกราฟ ไม่ควรลากทับสัญลักษณ์
10.8 เขียนชื่อบนเส้นกราฟทุกเส้นที่ทำได้
10.9 บนแกนนอนเขียนชื่อย่อทดลอง และวันที่ทำการทดลอง
ตัวอยผ่าลงรกวรมาขฟองความน่าจะเป็นเท่ากับ 1
เมื่อคุณบวกความน่าจะเป็นทั้งหมดของผลลัพธ์ทั้งหมด
เข้าด้วยกัน ยอดรวมจะเป็น 1
การเขียนรายงานการทดลอง
(Laboratory Report Writing)
ตัวอย่าง กราฟ
ผลรวมของความน่าจะเป็นเท่ากับ 1
เมื่อคุณบวกความน่าจะเป็นทั้งหมดของผลลัพธ์ทั้งหมด
เข้าด้วยกัน ยอดรวมจะเป็น 1
การเขียนรายงานการทดลอง
(Laboratory Report Writing)
12.เอกสารอ้างอิง (References)
ในการอ้างอิงเอกสารอื่นประกอบการเขียนรายงานให้ระบุ
-ชื่อผู้เขียนเอกสาร
-ชื่องานที่อ้างอิง
-ชื่อวารสาร หรือเอกสารที่พิมพ์ หรือสำนักพิมพ์
-เดือน ปี ที่พิมพ์เอกสารนั้น
-ระบุหน้าที่ใช้อ้างอิง
ตัวอย่าง อ้างอิง
วัลลภัช สุขสวัสดิ์. (2561). แนวความคิดเรื่องชนชั้นนำทางการเมืองของกีตาโน มอสกา กับชนชั้นนำทางการ
เมืองไทยในยุคมาลานำไทย. ใน วัชรพล ศุภจักรวัฒนา และวัชรพล พุทธรักษา (บ.ก.), ว่าด้วยทฤษฎีรัฐศาสตร์
และรัฐประศาสนศาสตร์ร่วมสมัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). (น. 47-68). สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วิศวะ กลับกลาย, อลิสา คุ่มเคี่ยม, และอมลวรรณ วีระธรรมโม. (2553). ผลการพัฒนาบทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง ภาษาไทย
ถิ่นใต้ ตําบลเตราะบอน อําเภอสายบุรีจังหวัดปัตตานี สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ใน มนัส สุวรรณ
(บ.ก.), การจัดการเรียนรู้ การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ
เสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 53 (น. 3–14). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงใหม่.
การเข้ารูปเล่ม
- ใช้รูปแบบปกตามที่รายวิชาระบุ
- ขนาดของรายงานใช้ขนาดกระดาษ A4
- ห้ามใช้กระดาษที่มีตราสถาบันหรือหน่วยงานอื่น
- ควรหุ้มสันปก
- รูป กราฟ และตาราง ใส่ขนาดให้เต็บหน้ากระดาษ