The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนะนำวิชาชีพวิศวกรรมและองค์กรที่เกี่ยวข้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ดร.ณัฐพงษ์ เพ็ชร, 2022-07-08 10:21:15

แนะนำวิชาชีพวิศวกรรมและองค์กรที่เกี่ยวข้อง

แนะนำวิชาชีพวิศวกรรมและองค์กรที่เกี่ยวข้อง

สั ป ด า ห์ ที่ 3

แนะนำวิชาชีพวิศวกรรม

และองค์กรที่เกี่ยวข้อง

เรียบเรียง โดย
ดร.ณัฐพงษ์ เพชรละออ

เกี่ยวกับสภาวิศวกร

สภาวิศวกรจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ.2542 มีสถานะเป็นนิติบุคคล
ทำหน้าที่ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม รวมทั้งพิจารณา
พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรหรือ
วุฒิบัตรในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม รับรองความรู้ความชำนาญในการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม รวมทั้งเสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการกำหนด
และการเลิกสาขาวิศวกรรมควบคุม และออกข้อบังคับสภาวิศวกรโดยความเห็นชอบ
ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะสภานายกพิเศษ

ความเป็นมา

ในอดีตวิศวกรไทยได้รวมตัวกันภายใต้สถาบันวิชาชีพ คือ วิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ตั้งแต่ พ.ศ. 2486 ต่อมารัฐบาลได้ตรา
พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขึ้น เมื่ อสภาพ
เศรษฐกิจ สังคม มีการเปลี่ยนแปลง มีความต้องการวิศวกรมากขึ้น จึงมีการเร่งผลิต
วิศวกร เป็นผลให้งานวิศวกรรมมีปัญหาเรื่ องคุณภาพงาน จำเป็นต้องมีการปลูกฝัง
จิตสำนึกทางด้านจรรยาบรรณและมีการพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่ อง ครั้นเมื่ อเกิด
เหตุการณ์ที่รุนแรงหลายครั้งจนมีผลกระทบต่อความน่าเชื่ อถือของวิชาชีพ
วิศวกรรม อาทิ เหตุการณ์จากรถบรรทุกแก๊สระเบิดที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม่เมื่ อปี
พ.ศ. 2532 ไฟไหม้โรงงาน อาคารถล่มที่จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งก่อให้เกิดความสูญ
เสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นจำนวนมาก

ข้อสรุปในการจัดตั้ง

“สภาวิศวกร”
รวม 4 ประการ

ทบวงมหาวิทยาลัย และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จึงได้มีการจัดสัมมนา
ระดมความคิดและได้ข้อสรุปในการจัดตั้ง “สภาวิศวกร” รวม 4 ประการ คือ

1. ให้มีสภาวิชาชีพที่สามารถปกครอง ควบคุมและกำกับดูแลกันเอง สภาวิศวกร
จึงต้องมาจากการเลือกตั้งของสมาชิก

2. ให้มีความคล่องตัวในการบริหารงานโดยอิสระจึงต้องมีสถานภาพเป็นนิติบุคคล
3. ให้สภาวิศวกรมีอำนาจหน้าที่ในการกำกับ ดูแล ควบคุม ส่งเสริมและสนับสนุน

ให้เกิดการพัฒนาการประกอบวิชาชีพอย่างต่อเนื่ องทันต่อวิทยาการและความ
ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
4. ให้มีการประกอบวิชาชีพด้วยมาตรฐานหนึ่งเดียวไม่ว่าจะเป็นราชการหรือ
เอกชน และจะไม่มีการยกเว้นสำหรับคนต่างชาติ ต่อมาได้มีการร่างพระราช
บัญญัติวิศวกรเมื่ อปี พ.ศ. 2538 โดยคณะบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิทางวิศวกรรม จน
ในที่สุดพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 จึงได้เกิดขึ้นและมีผลบังคับใช้ตั้งแต่
วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542

องค์ประกอบของสภาวิศวกร

สมาชิกสภาวิศวกร
คณะกรรมการสภาวิศวกร
คณะกรรมการจรรยาบรรณ
คณะอนุกรรมการ
ผู้ตรวจสภาวิศวกร
สำนักงานสภาวิศวกร

สมาชิกสภาวิศวกร

แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
สมาชิกสามัญ
สมาชิกวิสามัญ
และสมาชิกกิตติมศักดิ์

ซึ่งสมาชิกเหล่านี้จะเป็นผู้อนุมัตินโยบายการบริหารงานของคณะกรรมการสภา
วิศวกรในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี

คณะกรรมการสภาวิศวกร



คณะกรรมการสภาวิศวกรมีจำนวน 20 คน

มาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกสภาวิศวกร
15 คน (เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ 10 คน เป็น
อาจารย์ในสถาบันการศึกษา 5 คน)

กรรมการสภาวิศวกรอีก 5 คนมาจากการแต่งตั้ง
โดยคณะรัฐมนตรีจากการเสนอของรัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงมหาดไทย

คณะกรรมการจรรยาบรรณ



คณะกรรมการจรรยาบรรณ
มาจากการแต่งตั้งตามมติของที่ประชุมใหญ่สภาวิศวกร
มีหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยกรณีที่มีการกล่าวหาว่าผู้ได้รับ

ใบอนุญาตฯ ประพฤติผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ

คณะอนุกรรมการ

คณะอนุกรรมการ
คณะทำงาน และผู้ชำนาญพิเศษมาจากการแต่งตั้งของที่

ประชุมคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และผู้ชำนาญ

พิเศษ
มาจากการแต่งตั้งของที่ประชุมคณะกรรมการสภา

วิศวกร มีหน้าที่ตามที่คณะกรรมการสภาวิศวกรกำหนด

ผู้ตรวจสภาวิศวกร

ผู้ตรวจสภาวิศวกร

ที่ประชุมใหญ่สภาวิศวกรแต่งตั้งจากสมาชิกหรือบุคคล

ภายนอก
การแต่งตั้งสมาชิกหรือบุคคลภายนอกตามมติของที่

ประชุมใหญ่สภาวิศวกร
มีหน้าที่ตรวจสอบการดำเนินงานของคณะกรรมการสภา

วิศวกรแล้วทำรายงานเสนอต่อที่ประชุมใหญ่สภาวิศวกร

สำนักงานสภาวิศวกร

สำนักงานสภาวิศวกร

สำนักงานสภาวิศวกรมีหัวหน้าสำนักงานสภาวิศวกร

บริหารงาน
ภายใต้การกำกับดูแลของเลขาธิการสภาวิศวกร

ประกอบด้วยงาน 8 ฝ่าย 1 สำนัก คือ
ฝ่ายทะเบียนและใบอนุญาต
ฝ่ายมาตรฐานการศึกษาและวิชาชีพ
ฝ่ายการคลัง
ฝ่ายสื่ อสารองค์กร
ฝ่ายบริหาร
ฝ่ายอาคารสถานที่
ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ฝ่ายต่างประเทศ
และสำนักกฎหมายและจรรยาบรรณ

โครงสร้างองค์กร

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542

พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542

• คำปรารภของพระราชบัญญัติ มาตรา 1-5

• หมวด 1 สภาวิศวกร มาตรา 6-10

• หมวด 2 สมาชิก มาตรา 11-23

• หมวด 3 คณะกรรมการ มาตรา 24-34

• หมวด 4 การดำเนินการของคณะ มาตรา 35-42

• หมวด 5 ข้อบังคับสภาวิศวกร มาตรา 43-44

• หมวด 6 การควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม มาตรา 45-65

• หมวด 7 การกำกับดูแล มาตรา 66-70

• หมวด 8 บทกำหนดโทษ มาตรา 71-74

• บทเฉพาะกาล มาตรา 75-80

• หมายเหตุท้ายพระราชบัญญัติ
• อัตราค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542

มาตรา 1-5

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542
มาตรา 1-5

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542

หมวด 1 สภาวิศวกร
มาตรา 6-10

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542

หมวด 1 สภาวิศวกร
มาตรา 6-10

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542

หมวด 1 สภาวิศวกร
มาตรา 6-10

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542

หมวด 1 สภาวิศวกร
มาตรา 6-10

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542

หมวด 2 สมาชิก
มาตรา 11-23

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542

หมวด 2 สมาชิก
มาตรา 11-23

พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542

หมวด 2 สมาชิก
มาตรา 11-23

หมวด 2 สมาชิก
มาตรา 11-23

หมวด 2 สมาชิก
มาตรา 11-23

หมวด 2 สมาชิก
มาตรา 11-23

หมวด 3 คณะกรรมการ
มาตรา 24-34

หมวด 3 คณะกรรมการ
มาตรา 24-34

หมวด 3 คณะกรรมการ
มาตรา 24-34

หมวด 3 คณะกรรมการ
มาตรา 24-34

หมวด 3 คณะกรรมการ
มาตรา 24-34

หมวด 3 คณะกรรมการ
มาตรา 24-34

หมวด 3 คณะกรรมการ
มาตรา 24-34

หมวด 3 คณะกรรมการ
มาตรา 24-34

หมวด 4 การดำเนินการ

ของคณะกรรมการ
มาตรา 35-42

หมวด 4 การดำเนินการ

ของคณะกรรมการ
มาตรา 35-42

หมวด 4 การดำเนินการ

ของคณะกรรมการ
มาตรา 35-42

หมวด 4 การดำเนินการ

ของคณะกรรมการ
มาตรา 35-42

หมวด 4 การดำเนินการ

ของคณะกรรมการ
มาตรา 35-42

หมวด 5 ข้อบังคับ
สภาวิศวกร

มาตรา 43-44

หมวด 6 การควบคุม
การประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรม
มาตรา 45-65

หมวด 6 การควบคุม
การประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรม
มาตรา 45-65

หมวด 6 การควบคุม
การประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรม
มาตรา 45-65

หมวด 6 การควบคุม
การประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรม
มาตรา 45-65

หมวด 6 การควบคุม
การประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรม
มาตรา 45-65

หมวด 6 การควบคุม
การประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรม
มาตรา 45-65

หมวด 6 การควบคุม
การประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรม
มาตรา 45-65

หมวด 6 การควบคุม
การประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรม
มาตรา 45-65

หมวด 6 การควบคุม
การประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรม
มาตรา 45-65

หมวด 6 การควบคุม
การประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรม
มาตรา 45-65


Click to View FlipBook Version