หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฉบับน้ีเป็นการรวบรวมข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับตุง
ซึ่งถือเป็นเครื่องสักการระ สัญลักษณ์ของชาวล้านนนาต้ังแต่อดีตจวบจน
ปัจจุบันโดยหนังสือฉบับนี้ประกอบไปด้วยเน้ือหาประวัติศาสตร์ของตุง
ประเภทตุงในด้านต่าง ๆ และการยกตัวอย่างตุงท่ีพบเห็นโดยท่ัวไปในสังคม
ตลอดจนวิธกี ารตัดตงุ ใส้หมูอนั เปน็ ตุงพน้ื ฐานท่ีเหมาะสมในการเร่มิ ต้นการ
เรยี นรู้
ผูจ้ ัดทาหวังว่าหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สเ์ ล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักศึกษา
รวมท้งั ผู้สนใจหากมขี ้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงเอกสารเล่ม
นี้กรุณาแจ้งต่อผู้เขียนซ่ึงผู้เขียนยินดีน้อมรับข้อเสนอแนะเพ่ือจะนาไป
ปรับปรุงในโอกาสต่อไปและขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้
สุดท้ายน้ีผู้เขียนขอขอบพระคุณคณาจารย์ที่ได้ประสาทความรู้
ผู้ทรงคุณวุฒิท่ีให้คาแนะนาและเจ้าของรายการอ้างอิงซึ่งทาให้การจัดทา
เอกสารประกอบการสอนเล่มนสี้ าเรจ็ ด้วยดี
คณะผู้จดั ทำ
ก
คานา ก
สารบัญ ข
1
ประวตั ขิ องตุง 2
ประเภทของตงุ
5
• ตงุ ท่ีใชใ้ นงานประดับประดาหรอื ร่วมขบวน 9
• ตงุ ทใ่ี ช้ในงานพธิ มี งคล 20
• ตงุ ท่ีใช้ในงานพธิ อี วมงคล 24
ขั้นตอนการตดั ตงุ ใสห้ มู 26
สรุป
ข
ตุงล้านนา หมายถึงเครื่องใช้ในการประดับหรือใช้ในการประกอบ
พิธีกรรมอย่างหน่ึงของคนล้านนา คาว่า “ตุง” ตรงกับภาษาบาลีว่า “ปฏา
กะ” หรือ ธงปฏาก มีลักษณะเป็นแผ่นวัตถุทาจากผ้าหรือไม้ก็ได้ ส่วนปลาย
จะแขวนหอ้ ยเปน็ แผ่นยาวลงมา ตงุ มีบทบาทและความเป็นมาทย่ี าวนาน
ดังท่ีพบในศิลาจารึกท่ีวัดพระยืน จงั หวัดลาพนู ตอนหนึ่งว่า “วันนั้น
ตนทา่ นพญาธรรมิกราชบรพิ ารด้วยฝูงราชโยธามหาชน ลูกเจ้า ลูกขุน มนตรี
ทั้งหลายยายกัน ให้ถือช่อธง ข้าวตอกดอกไม้ไต้เทียน ตีพาดดังพิณ ฆ้อง
กลอง ปี่สรไนพิสเนญชัยทะเทียด กาหล แตรสังข์ มานกังสดาร” ซ่ึง
หมายความว่า ในปี พ.ศ.1913นั้น “เจ้าท้าวสองแสนมา” หรือ พญากือนา
เมืองเชียงใหม่พร้อมด้วยข้าราชบริพารไปรอต้อนรับพระสุมนเถระซึ่งมาจาก
สุโขทัย ก็ได้ยืนเรียงรายกันถือเคร่ืองสักการะต่าง ๆ เช่น ถือช่อ คือธง
สามเหล่ียมขนาดเก และถือธง หรือ ตุง ไปรอต้อนรับและในขบวนยังมีการ
บรรเลงดนตรดี ้วยเคร่อื งดนตรีต่างๆ
ตุงที่พบในล้านนาส่วนมากจะทามาจากผ้า กระดาษ ไม้ โลหะ
ทองเหลอื งหรอื ใบลาน ความเชือ่ ของคนล้านนาเช่ือว่า “ตุง” เป็นส่ิงหนึ่งท่ีมี
สว่ นรว่ มอยู่ในประเพณเี กย่ี วกับความเชือ่ ทที่ าขึน้ เพอื่ ถวายเป็นพทุ ธบูชา ใช้
ในงานพิธีทางศาสนา ท้ังในงานมงคลและอวมงคล โดยจะมีขนาดรูปทรง
และรายละเอียดแตกต่างกันไป รวมถึงความเชื่อ พิธีกรรมตลอดจนความ
นิยมในแต่ละท้องถิ่นดว้ ย
1
ประเภทของตงุ
โดยทั่วไปแล้วตุงที่ใช้ในพิธีกรรมของล้านนาจะแบ่งออกเป็นตุงที่ใชใน
พิธีท่ีถือเป็นศิริมงคล และตุงท่ีใช้ในพิธีอุทิศกุศล การจาแนกตุงในการใช้งาน
สามารภจาแนกไดด้ ังนี้
ตุงประดับ หมายถึงตุงที่ใช้ประดับตกแต่งสถานท่ี ซ่ึงมีปอย หรืองาน
สมโภชฉลองถาวรวตั ถุทางพุทธศาสนาเพอื่ ให้เกิดความสวยงามและยังใช้เป็น
เคร่ืองหมายนาไปสู่บริเวณงานอีกด้วยตุงที่ใช้ตกแต่งสถานท่ีได้แก่ ตุงไจย
หรือ ตุงชัย ตุงประเภทนี้อาจเรียกต่างกันไปตามคุณสมบัติท่ีใช้ เช่น ทาจาก
ผ้าเรียกว่า ตุงผ้า หรืออาจจะทอเป็นตุงใย ส่วนตุงผ้าของชาวไทลื้อนิยมทอ
ด้วยเทคนิคการขิดหรือการจก ซ่ึงมีลวดลายที่สวยงามแปลกตา ตุงชนิดนี้ไม่
จาเป็นต้องมีความกว้างและยาวมากนัก อาจจะแบ่งเป็นปล้อง ๆ
ประกอบด้วยส่วนหัว ตัวและหาง โดยมีไม้ไผ่สอดคั่นเป็นระยะ ๆ มักนิยม
ตกแตง่ ดว้ ยเศษผา้ กระดาษ ใบลาน เปน็ ต้น
2
ประเภทของตงุ (ตอ่ )
น อ ก จ า ก นั้ น ยั ง มี ตุ ง ท่ี ใ ช้ ใ น
พิธีอวมงคล ได้แก่ ตุงสามหาง ใช้
นาหน้าขบวนศพไปสุสาน โดยให้คน
แบกคันตุงสามหางนาหน้าซ่ึงลักษณะ
รูปร่างคล้ายกับคน จากเอวลงไปแยก
ออกเปน็ 3 แฉก เรียกว่า 3 หาง ตัดด้วย
กระดาษสา หรือผ้าขาวกว้างประมาณ
35ซม. ยาวประมาณ 100ซม. เหตุท่ีต้อง
ทาเปน็ รูป 3 หาง
มคี วามหมายถงึ กุศลมูล 3 บา้ งอกุศลมูล 3 บา้ ง อนั หมายถึง วัฏฏวน 3
ได้แก่ กิเลส กรรม วบิ ากตงุ แดง ตงุ คา้ งแดง หรอื ตุงผตี ายโหง มีลักษณะคล้าย
กบั ตงุ ไจย เป็นตงุ สีแดงกว้างประมาณ 1 คืบ ยาวต้ังแต่ 30 ซม.จนถึง 2 เมตร
บางทีก็ใหย้ าวเทา่ กบั ความสงู ของผู้ตาย และปกั ให้ปลายหางแตะพื้นดิน ใช้ใน
พิธีสูตรถอนวิญญาณผู้ตายจากอุบัติเหตุตามท้องถนน จะปักไว้บริเวณที่คน
ตายและก่อเจดยี ์ทรายกองเลก็ ๆ เท่ากบั อายุของคนตาย
ตุงท่ีใช้ประกอบการเทศน์ จะใช้ประกอบในพิธีต้ังธัมม์หลวง หรือเทศน์
มหาชาติในคืนวันยี่เป็ง (วันเพญ็ เดือน 12) หรืองานต้ังธัมม์หลวงเดือนสี่เป็ง
ส่วนใหญ่ใชป้ ระกอบอาคารทมี่ กี ารเทศน์ เช่น โบสถ์ วิหาร เปน็ ตน้
3
ประเภทของตุง(ตอ่ )
นอกจากน้ีตุงยังสามารถแบ่งตามวัสดุในการทา โดยสามารถแบง่
• ตงุ ทท่ี าจากกระดาษ ได้แก่ ตุงช้าง ตงุ ไส้หมู
ตุงที่ทาจากผืนผา้ ได้แก่ ตุงตะขาบ ตงุ จระเข้ ตงุ แดง ตงุ ซาววา ตุง
พระบฏ
ตุงท่ีทาด้วยกระดาษหรอื ผ้า ไดแ้ ก่ ตุงสามหาง
• ตุงที่ทอจากเสน้ ด้ายหรอื เสน้ ไหม ได้แก่ ตุงไชย
• ตุงที่ทาจากไม้หรือสงั กะสี ไดแ้ ก่ ตงุ กระดา้ ง
4
ตงุ ทใ่ี ช้ในงาน
ประดับประดา
หรือรว่ มขบวน
5
ตงุ ซาววา
ตุงซาววา ถือเป็นเอกลักษณ์อัน
โดดเด่นที่แสดงถึงความสามัคคีของ
คนในชุมชน ตุงซาววาเปรียบเสมือน
เป็นประเพณีประจาเมืองง้าวเงินมา
แต่อดีตวิถีชีวิตของคนทาตุงซาววาใน
ชุมชนมีความเช่ือเร่ืองตุง และมีการ
ถ่ายทอดฝึกฝนจากบรรพบุรุษตุงซาว
วาจึงสามารถเป็นสิ่งแสดงออกถึง
ความสามัคคี จากอดีตมาจนถึง
ปจั จบุ ัน
การทาตุงซาววาต้องใช้ผ้าท่ีมีความยาว 20 วา ซึ่งคาว่า “ซาว”
แปลว่า “ย่ีสิบ” ตุงซาววา ก็คือ ตุงที่มีความยาว ย่ีสิบวา หรือประมาณ 40
เมตร ในอดีตคนในชุมชนจึงมีการปลูกฝ้ายเพื่อทาการทอผ้าและประดิษฐ์
ตกแต่งตุงซาววาใหส้ วยงามอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่น ในการทา
ตุงซาววาไมจ่ าเปน็ ตอ้ งมคี วามยาวตามท่ีกาหนดก็ได้ ข้ึนอยู่กับทุนทรัพย์ของ
ผทู้ า แต่จะต้องมหี อ้ ง (ชอ่ ง) อยา่ งน้อย 16 ห้อง
6
ตงุ กระดา้ ง
7
ตงุ กระด้าง
“ตงุ กระด้าง” คาวา่ “กระดา้ ง” แปลวา่ แขง็ เปน็ ตุงทมี่ ีลักษณะแข็ง
และคงทนถาวร ซง่ึ วัสดทุ ี่นามาใชท้ าตงุ ส่วนใหญเ่ ปน็ วสั ดทุ ่มี อี ย่ใู นทอ้ งถิ่น
และความชานาญในการทาตุง ของทอ้ งถ่ินนัน้ ๆ บางแห่งทาตุงกระดา้ งด้วยไม้
เนอื้ แขง็ เช่น ไมส้ ัก ไมแ้ ดง เป็นตน้ โดยการแกะสลกั ไมเ้ ป็นลวดลายต่างๆ
เชน่ ลายดอกไม้ ลายนาค ลายนักษตั ร 12 ราศี เป็นตน้ ด้านข้างจะแกะเป็น
ลายกนกเป็นชน้ิ ๆ หวั และปลายของตุงกระด้างมลี กั ษณะแหลม บางแห่ง
แกะสลกั ไมอ้ ีกช้ันมีขนาดเลก็ กว่าทบั ซ้อนบรเิ วณ ส่วนกลางตงุ ขนาดของตงุ
กระดา้ งจะขึ้นอยู่กับไม้ทนี่ ามาทาตงุ โดยจะมีขนาดยาวประมาณ 1 เมตร ขน้ึ
ไป ใชไ้ มท้ ัง้ ตน้ ในการแกะสลักตุงกระด้าง เมอ่ื แกะสลักตุงกระดา้ งเสร็จแลว้
นิยมทาสดี ้วยสที อง หรือลงรกั ปิดทอง นอกจากนี้อาจจะประดับด้วยกระจก
เงา หรือกระจกสี โดยจะตัดเป็นรูปวงกลม สามเหลี่ยม หรือสีเ่ หลีย่ ม
ทาขนึ้ เพื่อเป็นเครอื่ งพทุ ธบูชา ซึง่ จะนาไปประดับหน้าพระพุทธรูป
หรือพระประธาน ทงั้ สองขา้ ง โดยตุงทีท่ าดว้ ยไม้หรอื สงั กะสีจะทาขาตั้งหรอื
ใชว้ างประดับแต่ถา้ เป็นตงุ กระด้างทท่ี าด้วยปูนซเี มนต์ สว่ นใหญ่จะหลอ่ ตดิ
เสาวหิ าร หรอื โบสถท์ ี่อยหู่ นา้ พระพุทธรูป หรือพระประธาน ทาให้มองดสู งา่
งามแก่สถานที่เป็นอันมาก
8
ตงุ ท่ใี ชใ้ นงานพธิ ี
มงคล
9
ตงุ ช่อ หรอื ตงุ จอ้
ตุงชอ่ หรือตุงจอ้
ทาด้วยกระดาษสีต่าง ๆ (ส่วนมากเป็นกระดาษว่าว) และตัดให้มี
ลายต่าง ๆ เพื่อเพ่ิมความสวยงามของตุง (ส่วนมากมีลักษณะเป็นรูป
สามเหล่ียมขนาดเล็ก) ใช้เป็นส่วนประกอบหน่ึงในพิธีกรรมเช่น พิธีสืบ
ชะตา พิธสี ง่ เคราะห์ และพธิ ีขึ้นทา้ วท้ังสี่เปน็ ต้น
ตุงช่อมีหลายช่ือเรียกตามแต่ขนาดเช่นถ้ามีขนาดใหญ่จะเรียกว่าตุง
จ้อจ้างทาด้วยผ้า หรือ กระดาษ เป็นผืนขนาดใหญ่รูปสามเหลี่ยม บางทีก็
เรียกว่า “ตุงสามเหล่ียม” เพราะมีขนาดใหญ่จึงเรียกว่า “จ้อจ้าง” ขนาด
ความกว้างตรงฐานสามเหล่ียมประมาณ 2 ศอก ความยาวประมาณ 1 วา
การตกแต่ง อาจจะปักลวดลาย ดอก รูป สัตว์ในนิยาย หรือทาเป็นลายปรุ
โปร่ง ขลิบขอบตุงท้ังสองด้าน ใช้เสียบกับคันท่ียาวพอเหมาะโดยพับผ้า
ตรงฐานสามเหล่ียม เป็นตุงท่ีปล่อยชาย ไปทางด้านขวางคล้ายธง ใช้เป็น
ตุงร่วมขบวนแห่คัวตานในงานปอยหลวง กฐินบางแหง่ เรียกว่า “ตุงจ้อนา
ตาน”
แต่ถ้ามีขนาดเล็กจะเรียกว่าตุงจ้อน้อย ซึ่งนั่นคือตุงจ้อจ้าง ตุง
สามเหล่ียม ขนาดเลก็ สีตา่ ง ๆ ใช้ประดับคัวตานและร่วมกับตุงอน่ื ๆ เพื่อ
ความสวยงามนัน่ เอง
10
ตงุ 12 นักษตั ร
11
ตุง 12 นักษตั ร
ตามความเช่ือของชาวล้านนาเร่ืองจักรราศี อันมีนักษัตรสิบสองราศี
คือ ปชี วด ปีฉลู ปขี าล ปีเถาะ ปีมะโรง ปีมะเสง็ ปมี ะเมยี ปมี ะแม ปีวอก ปี
ระกา ปีจอ และปกี ุน (คติของชาวลา้ นนา คอื ปกี ุญชร) โดยชาวล้านนาเชื่อ
ว่าจักรราศีแม่ปีอนั มีสิบสองราศีประจาปี ไม่ว่าตัวใดตัวหน่ึงว่ากันว่าจะทา
ให้ผู้ท่ีถวายตุงนั้นพ้นเคราะห์พ้นโศกโรคภัยในปีน้ันๆ ตุงสิบสองราศี มี
ลักษณะตัวตุงจะมีรูปนักษัตรหรือรูปสัตว์ประจาสิบสองราศี โดยเรียงจาก
ตัวแรกคือ หนู วัว เสือ กระต่าย งูใหญ่ (คติของชาวล้านนา หมายถึง นาค
สัตว์ในนิยาย) งูเล็ก ม้า แพะ ลิง หมา ไก่ และหมู (คติของชาวล้านนาเป็น
ชา้ ง ประจาปกี ญุ ชร)
รูปแบบของตุงสิบสองราศีตัวตุงจะมีรูปสัตว์สิบสองราศี การทาตุง
สามารถแบ่งตามวิธีการทาตุงดังนี้ คือ ตุงสิบสองราศี ทาด้วยการทอด้วย
เส้นด้าย ฝ้ายและไหม โดยการทอด้วยก่ี ซ่ึงส่วนใหญ่ชาวไทใหญ่กับไทล้ือ
จะเป็นผู้ทอตุงสิบสองราศี โดยจะทอคล้ายกับทอผ้าแต่จะทอเป็นรูปสัตว์
สบิ สองตวั
ตุงสิบสองราศีนิยมใช้ในวันเทศกาลสงกรานต์ (วันปีใหม่ของชาว
ลา้ นนา) ซ่งึ ถา้ เป็นตงุ สบิ สองราศี ที่ทอขนึ้ หรือทาด้วยผ้า ส่วนใหญ่จะนามา
ผูกติดกับค้างตุงข้ึนเสาไม้ไผ่ เพื่อนาไปปักประดับรวมกับตุงชัย ส่วนตุงสิบ
สองราศีท่ีทาด้วยกระดาษส่วนใหญ่จะนาไปปักเจดีย์ทรายในวัดร่วมกับตุง
ชนิดอ่ืน เช่น ตุงพญายอ ตุงเจดีย์ทราย เป็นต้น เนื่องจากตุงเหล่าน้ีทาข้ึน
เพ่ือใช้ในงานวันสงกรานต์หรือวันปีใหม่ของชาวล้านนา จึงมักเรียกตุงนี้ว่า
“ตงุ ปีใหม”่ 12
ตุงไสห้ มู
คนส่วนใหญ่เรียกวา่ “ตงุ ไส้หมู หรือตุง
ไส้ช้าง” โดยให้เหตุผลที่เรียกว่า ไส้หมู ไส้
ช้าง เพราะตุงมีลักษณะเป็นพวงคล้ายกับไส้
หมู ไส้ช้าง คนภาคกลางเรียกตุงชนิดนี้ว่า
“สร้อยระย้า” ไม่ว่าจะเป็นตุงไส้หมู ตุงไส้
ช้าง ตุงพญายอ ตุงดอกบ้วง หรือ สร้อย
ระย้า เปน็ ตุงทมี่ ลี ักษณะเดียวกันเป็นตุงท่ีทา
ด้วยกระดาษสีต่าง ๆ ตัดเป็นรูปสีเหล่ียม
จัตุรัส แลว้ พับคร่ึงเป็นสามเหลี่ยมแล้วพับไป
มา กะความยาวจากยอดลงมาประมาณ 2
นวิ้ แล้วใชก้ รรไกรตดั ขวางจนเกอื บขาด
แล้วเปล่ียนมาตัดขวางอีกด้วยจนเกือบขาดเหมือนกัน โดยสลับตัด
อย่างนี้จนถึงปลายกระดาษ เม่ือตัดเสร็จแล้วจึงคลี่กระดาษออก ซึ่งตรง
กลางกระดาษจะเป็นส่วนท่ีเราไม่ได้ตัดใช้กระดาษแข็งตัดเป็นรูปส่ีเหลี่ยม
กว้าง 2 น้ิว ยาว 2 น้ิว มารองตรงกลางกระดาษแล้วจับกระดาษหงายข้ึน
ร้อยด้ายโดยกระดาษแข็งสี่เหล่ียมรองอยู่ด้านใน เม่ือจับยกข้ึนก็จะเป็นช่อง
พวงยาวลงมา ซ่ึงขั้นตอนการทาอาจจะใช้กระดาษสีหลายสีพับซ้อนกัน
ความใหญ่ของพวงตงุ จะขนึ้ อย่กู บั ความกวา้ งของกระดาษส่ีเหลี่ยมจตั ุรัสท่ีใช้
ตดั ถ้ามคี วามกว้างมากตงุ กจ็ ะยาวมากข้ึน
13
ตงุ ผา้ (ตุงทอหรือไย)
ตงุ ผ้า (ตุงทอหรอื ไย) ทาดว้ ยผืนผ้าหรือทอด้วยเส้นไยฝ้าย บางแห่งใช้
ผ้าดิบ (ปัจจุบันใช้ผ้าลูกไม้แทนก็มี) ขนาดความยาวต้ังแต่ 2 เมตร ไปจนถึง
4-5 เมตร บางแห่งอาจจะทอใหม้ ีความยาวกว่าน้ันตามวัตถุประสงค์ หรือท่ี
เรียกว่าตุงซาววา (ซาว หมายถึง 20) ผืนตุงถักทอให้มีลวดลายสวยงาม
ปัจจุบันชาวบ้านนิยมใช้กระดาษสีต่าง ๆ ฉลุลายติดลงไปบนผืนตุงให้เกิด
ความสวยงามมากขึ้น ตุงประเภทนี้ใช้สาหรับงานมงคลทั่วไปหรือใช้ถวาย
เป็นพทุ ธบูชา และงานเฉลมิ ฉลองตา่ ง ๆ
14
ตุงรอ้ ยแปด
ตงุ ร้อยแปด ทาด้วยกระดาษสี ใช้ในพิธีสะเดาะเคราะห์จ้อตุง 108 ตัว
จะปักเป็นพุ่มเป็นเครื่องอย่างหนึ่งที่ใช้ในพิธีสืบชะตา 1 ก้านจะติดจ้อ1 อัน
และห้อยด้วยตุงเลก็ อีก1 อนั ปัจจบุ ัน มักจะเห็นปกั พุ่มเฉพาะจอ้ เท่านัน้
15
ตงุ คา่ คงิ
16
ตงุ ค่าคิง
คาว่า “ค่าคิง” หมายถึง ตัวเองหรือเท่ากับตัวเอง ตุงค่าคิง จึงเป็น
ตุงท่ีแทนตัวเองหรือตุงที่เท่ากับตัวเอง (เท่ากับตัวของผู้ที่ถวายตุง) ตุงค่าคิง
ทาจากกระดาษสาหรือผ้า โดยมีอยู่ 2 ลักษณะดังน้ี คือ ตุงค่าคิงท่ีเป็นสีขาว
ล้วน ส่วนใหญ่จะทาด้วยกระดาษสาสีขาว จะตัดกระดาษสาขนาดเท่ากับตัว
ของผู้ท่ีถวายตุง กว้างประมาณ 9 นิ้ว พับครึ่งกระดาษผ่ากลางแล้วตัด
กระดาษ โดยจะตัดส่วนบนเป็นรูปคล้ายหัวคน ปลายแหลมแล้วตัดเว้าทา
เป็นส่วนคอ เม่ือคลี่ออกจะมีลักษณะเป็นหัวคนมีคอ จากนั้นแบ่งกระดาษ
เป็นช่วง เท่าๆ กัน แล้วพับกระดาษทีละช่องตัดฉลุเป็นลวดลายเม่ือคล่ี
ออกมาก็จะเป็นรูปดอกไม้ (ลวดลายแล้วแต่ผู้ทาตุงจะจินตนาการแล้วตัด
ออกมา) เม่ือตัดเสร็จแล้วทุกช่องก็จะมาพับปลายตุงโดยพับแนวตั้งซ้อนกัน
หลายช้ัน แล้วตัดฉลุลวดลายเมื่อคล่ีออกมาจะมีลวดลายเหมือนสร้อยระย้า
สวยงาม ส่วนอีกลักษณะหน่ึงจะทาเป็นลวดลาย โดยใช้กระดาษเงิน
กระดาษทอง หรือกระดาษสีตัดแปะติดกับตุงค่าคิงแต่ก่อนอนื่ ต้องตัดให้ตุงมี
รูปร่างโดยมีหัว คอ และตัวเสียก่อน จากนั้นก็จะตัดกระดาษสีต่างๆ เป็น
ลวดลายต่างๆ ตัดแปะ
ใชใ้ นการสบื ชะตาคน ซึ่งคนท่ีตอ้ งการสืบชะตา มักปว่ ยออดๆ แอดๆ
ตามความเชอ่ื ของชาวล้านนา เชื่อกันว่า ตุงค่าคิงน้ัน จะมีลักษณะเท่ากับผู้ท่ี
ถวายตุง ซ่ึงแทนรูปเวทนา สัญญา สังขารของผู้ถวาย เม่ือทานตุงแล้วจะ
แคลว้ คลาด ปลอดภัย ผู้ที่เจบ็ ป่วยจะหายเป็นปกติ คล้ายกับตุงค่าคิงคือเป็น
ตัวตายตัวแทนของผู้ถวายตุง
17
ตงุ พระบด
18
“ตุงพระบด” คาว่า “พระบด” หรอื “พระบต” มาจากภาษาเขมร
แปลว่า พระพุทธรูปบนแผ่นผ้า เปน็ ตงุ ที่มลี กั ษณะเปน็ ผนื ผา้ ใบหรือ
กระดาษ ส่วนใหญ่เป็นผนื ผ้าใบ โดยมีขนาดแตกตา่ งกันตามขนาดของผา้
หรอื ตามตอ้ งการของผทู้ าตุง สว่ นมากจะกวา้ งประมาณ 1 เมตร ยาว
ประมาณ 1.5 – 2 เมตร ขึงด้วยกรอบไม้ หวั และท้ายตงุ เพอื่ ใหต้ งึ ตุงพระ
บดส่วนใหญ่จะเป็นรูปวาดพระพทุ ธเจ้าปางตา่ งๆ เชน่ ปางสมาธิ ปาง
ประทานโอวาท เปน็ ต้น การทาตงุ พระบด ผทู้ าจะตอ้ งมีความชานาญใน
ดา้ นการวาดภาพ โดยจะวาดลงบนผืนผา้ ในอดตี จะใช้ผ้าดิบแต่ในปจั จุบัน
ใช้ผา้ ใบ
ลักษณะการใชง้ านของตงุ พระบด ส่วนใหญใ่ ชป้ ระดับไว้ดา้ นหลงั
ของพระประธานภายในโบสถ์ โดยการแขวนไว้กับผนังดา้ นหลังพระ
ประธาน นอกจากน้ตี ุงพระบดยังใช้ทาพิธกี รรมต่างๆ นอกสถานท่ี ไม่
สามารถนาพระพุทธรูปไปประกอบพธิ ไี ด้ โดยจะใชต้ ุงพระบดแทน
พระพทุ ธรปู ในการประกอบพิธี โดยแขวนตงุ พระบดแทนการประดษิ ฐาน
ของพระพทุ ธรปู เช่น พธิ ีเล้ยี งผปี ่แู สะ ย่าแสะ ของชาวบ้านหม่บู า้ นแมเ่ หยี ะ
อาเภอเมอื ง จังหวดั เชียงใหม่
19
ตุงทใี่ ช้ในงานพธิ ี
อวมงคล
20
ตงุ แดง
ตุงแดง มีลักษณะเช่นเดียวกับตุงผ้าหรือตุงทอ แต่พื้นตุงทาด้วยผ้าสี
แดงเทา่ นัน้ ตุงแดงน้ีชาวล้านนาจะใช้สาหรับงานอวมงคลหรือใช้เป็นตุงถอน
(ตุงถอน หมายถงึ ตุงท่ีใช้ถอนเอาสิง่ ไม่ดีออกไป) ซง่ึ สว่ นมากจะใช้สาหรับคน
ตายที่เสียชีวิตแบบไม่ปกติ เช่น อุบัติเหตุหรือถูกฆาตกรรม (ภาษาชาวบ้าน
เรยี กว่าตายโหง) โดยมคี วามเช่ือว่าเป็นการถอดถอนเอาดวงวิญญาณออกไป
จากสถานท่ีแห่งนั้น เพื่อให้หลุดพ้นจากสถานท่ีนั้น ๆ และไปเกิดหรือไปอยู่
ในท่แี ห่งใหม่ หากจะสงั เกตให้ดเี วลาเดนิ ทางในเขตจงั หวัดภาคเหนือตอนบน
แล้วเห็นวา่ มตี ุงแดงปักไว้ตามขา้ งถนนตา่ ง ๆ แสดงว่า ณ จุดน้ันมคี นเสียชวี ิต
และมพี ิธีถอนตามความเช่อื ของชาวลา้ นนา ทน่ี ่าสังเกตคือจานวนผืนตุงที่ปัก
ไว้ในสถานท่นี นั้ ๆ จะบง่ บอกถึงจานวนผูท้ ่เี สียชวี ติ ณ ทนี่ น้ั ด้วย
21
ตงุ สามหาง
22
ตงุ สามหาง
ตุงสามหางเป็นตุงท่ีใช้ในงานอวมังกะละ(มงคล)หรืองานศพ ผู้คนล้านนามี
ความเช่ือเกี่ยวกบั ตุงสามหางดว้ ยว่าเป็นตุงที่ทาให้วิญญาณผู้ตายได้ไปสู่สวรรค์เพราะ
เช่อื กันว่าตงุ สามหางเหมือนด่งั ธงในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เม่ือนามาถือนาหน้าศพไปสู่ป่า
ช้ากเ็ หมือนดง่ั นาเอาดวงวญิ ญาณผตู้ ายไปสูส่ วรรค์น่ันเอง
ตุงสามหางต้องทาด้วยผ้าสีขาวผ่องใส ส่วนวิธีการทามีข้อแตกต่างกันไปตาม
ท้องถ่ิน บางแห่งมีการต้ังขันครู ไหว้สาครูก่อนแล้วให้สะหล่า(ช่าง)เป็นผู้ทา บาง
แห่งอาจให้ปู่อาจารย์วัดเป็นผู้ทา เพราะเช่ือกันว่าตุงสามหางเป็นตุงอวมงคล ผู้ทา
ต้องมคี าถาอาคมแก่กล้า หรือต้องเปน็ ผู้ทมี่ คี วามรู้เกีย่ วกบั ชา่ งทาตุงโดยเฉพาะ เป็น
ต้น
เม่ือได้ผ้าขาวมาแล้ว บางตาราให้กะแบ่งเป็นส่ีส่วน ตัดทาเป็นตัวตุงหนึ่งส่วน
ตัวตุงสองส่วน และหางตุงอีกหนึ่งส่วน รูปร่างลักษณะตุงสามหางให้ตัดแต่งคล้าย
รูปลักษณะของคน โดยส่วนบนตัดแต่งเป็นศีรษะ อาจแต่งเป็นแหลมหรือมนโค้ง
แล้วแต่สะหล่า(ช่าง)จะทากัน ส่วนตัวตุงตัดแต่งโค้งเว้าคล้ายแอว(เอว)คน และ
ส่วนล่างท่ีเป็นหางให้แบ่งออกเป็นสามส่วนตัดแบ่งออกเป็นสามหางให้สวยงาม ก็จะ
ได้ตุงสามส่วนข้างบนที่หัวตุงจะเขียนช่ือ วันเดือนปีเกิด วันท่ีเสียชีวิตติดแปะไว้ให้
ผู้คนไดอ้ ่าน เปน็ ข้อมูลใหท้ ราบวา่ ผตู้ ายชื่ออะไร ชาตะ(เกิด)วันใดปีใด มตะ(ตาย)วัน
ใดปใี ด อายุรวมกี่ปี ผู้ท่ีไปงานศพก็จะได้ทราบข้อมู]ผู้ตายอย่างย่อได้ การใช้ตุงสาม
หางจะใหค้ นแบกนาหน้าขบวนศพไปส่ปู า่ ชา้
23
วสั ดุและอปุ กรณ์
1) กระดาษวา่ วสี 2 สี
2) กรรไกร
ขนั้ ตอนและวธิ กี ารทา
1.เลอื กกระดาษมา สองสสี ีอะไรกไ็ ดแ้ ล้วแตช่ อบนากระดาษท้ังสองแผน่
มาวางทบั กนั พับกระดาษให้เป็นรูปสามเหล่ยี ม โดยตัดสว่ นที่เหลือออก
2.พับครง่ึ ให้เปน็ รปู สามเหล่ยี ม
3.พบั ครง่ึ ด้านทห่ี นึง่ และพบั ครึ่งดา้ นทส่ี อง เพือ่ ให้เป็นรปู สามเหล่ยี ม
จะได้กระดาษเป็นรปู สามเหลยี่ ม
4.พับกระดาษอกี ด้านให้เป็นรปู เหมอื นจรวด ตัดขอบดา้ นทแยงให้เปน็
รปู หยักหรอื ลวดลายตามแต่ถนดั หลังจากน้นั ตัดขอบอีกดา้ น
5.ตัดส่วนสามเหลี่ยมดา้ นบนโดยตัดสลบั
คลีก่ ระดาษท่พี ับออกมา ให้เปน็ ลักษณะส่ีเหลย่ี ม
6.ตดั กระดาษแผ่นเล็กและสอยดา้ ยเพอ่ื นาไปผูกมัดกบั กง่ิ ไม้จะได้ตุงไส้
หมู
24
25
อย่างไรก็ตาม ความเช่ือและอานิสงส์ในการถวายตุง ผลดีในการ
ถวายตุงปฏากะน้ี ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ใบลานช่ือ สังขยาโลก จารด้วย
อกั ษรธรรมล้านนากล่าวว่าหากผใู้ ดไดท้ านตุงแล้วตายไป อานิสงส์นั้นจะ
ชว่ ยบนั ดาลใหห้ ลุดพน้ จากทุกข์เวทนา อานิสงส์แห่งการถวายตุงจะช่วย
ใหเ้ กาะชายตุงข้นึ สู่สวรรค์ ซง่ึ จะเห็นว่า “ตุง” ท่ีปรากฏอยู่ในล้านนาน้ัน
มีความหลากหลายท้ังด้านรูปแบบ โครงสร้าง วัสดุและสัญลักษณ์ ที่
เกยี่ วกับพธิ ีกรรมต่าง ๆ อนั นับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอีกประการหน่ึง
ทไี่ ดร้ บั การสืบทอดต่อกันมาจนถงึ ปัจจบุ ัน
26