The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สอนโครงงาน กศนเมือง 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jah_alak, 2022-04-28 05:06:00

สอนโครงงาน กศนเมือง 2565

สอนโครงงาน กศนเมือง 2565

โครงงาน
วทิ ยาศาสตร ์กศน.

นางสาวอาอซี ะฮ ์ ดอื ราแม

รู ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์พอื การศกึ ษานราธวิ าส

แนะนําวทิ ยากร

ครจู ะ๊ พไี ปป์





กตกิ าการเรยี นรู ้

ทกั ษะทใี ชใ้ นการเรยี นรวู ้ ทิ ยาศาสตร ์

■ ทกั ษะการสงั เกต คอื ความสามารถในการใชป้ ระสาท

สมั ผสั อยา่ งใดอย่างหนึงหรอื หลายอยา่ งเพอื หาขอ้ มูล หรอื

รายละเอยี ดของสงิ ตา่ ง ๆ โดยไม่เพมิ ความคดิ เห็นสว่ นตวั ลงไป
■ ทกั ษะการสงั เกต

■ 1. การมองเหน็
■ 2. การไดย้ นิ
■ 3. การสมั ผสั
■ 4 .การชมิ
■ 5. การไดก้ ลนิ

5 จดุ





จงอยา่ ใหใ้ ครหลอกเรา
ดว้ ยคาํ วา่ “ยาก”

ทําลายกาํ แพงนันดว้ ยคาํ
วา่ “งา่ ย”

ทกั ษะการวดั คอื การเลอื กและการใชเ้ ครอื งมอื ทํา

การวดั หาปรมิ าณของสงิ ตา่ ง ๆ ออกมาเป็ นตวั เลขที
แน่นอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและถูกตอ้ ง โดยมหี น่วยกาํ กบั
เสมอ

ทกั ษะการจาํ แนกประเภท คอื การแบ่งพวกหรอื เรยี งลาํ ดบั วตั ถ

หรอื สงิ ทอี ยใู่ นปรากฏการณ์

เกณฑท์ ใี ชจ้ าํ แนก

1. ความเหมอื น

2. ความแตกตา่ ง

3. ความสมั พนั ธ ์ ตวั อยา่ งการจาํ แนก

สตั วบ์ ก สตั วน์ ํา

= วงรี

1=B
2=D
3=C
4=A

ภาพทเี หน็ นีเป็ นภาพของเดก็ หญงิ นิสาใน
กระจกเงา

นกั เรยี นคดิ วา่ เดก็ หญงิ นิสาผูกนาฬกิ า
ขอ้ มอื ทแี ขนขา้ งใด

ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูล คอื การเพมิ ความคดิ

ใหก้ บั ขอ้ มลู ทไี ดจ้ ากการสงั เกตอย่างมเี หตผุ ล โดยอาศยั ความรหู ้ รอื ประสบการณเ์ ดมิ
ชว่ ย



ทกั ษะการพยากรณ์ คอื การสรปุ คาํ ตอบลว่ งหนา้

กอ่ นการทดลองโดยอาศยั ประสบการณ์ ทเี กดิ ขนึ ซาํ ๆ หลกั การ
กฎ หรอื ทฤษฎที มี อี ยแู่ ลว้ ในเรอื งนันมาชว่ ยในการสรปุ การ
พยากรณม์ สี องทาง คอื การพยากรณภ์ ายในขอบเขตของขอ้ มูล
ทมี อี ย่แู ละการพยากรณน์ อกขอบเขตขอ้ มูลทมี อี ยู่

ทกั ษะการตงั สมมตฐิ าน คอื การคดิ หาคาํ ตอบลว่ งหนา้ กอ่ นจะทาํ การ

ทดลอง โดยอาศยั การสงั เกต ความรู ้ ประสบการณเ์ ดมิ เป็ นพนื ฐานคาํ ตอ
ทคี ดิ ล่วงหนา้ ซงึ ยงั ไม่ทราบ หรอื ยงั ไม่เป็ นหลกั การ กฎ หรอื ทฤษฎมี ากอ่ น

สมมตฐิ านหรอื คาํ ตอบทคี ดิ ไวล้ ว่ งหนา้ มกั กลา่ วไวเ้ ป็ นขอ้ ความทบี อก
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรตน้ กบั ตวั แปรตาม สมมตฐิ านทตี งั ไวอ้ าจถกู
หรอื ผดิ ก็ได ้ ซงึ จะทราบภายหลงั การทดลองหาคาํ ตอบเพอื สนับสนุน หรอื
คดั คา้ นสมมตฐิ านทตี งั ไว ้

 แสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรตน้ และ ตวั แปรตาม

 มกั ขนึ ตน้ ดว้ ยคาํ วา่ “ถา้ .......ดงั นนั .......”

เป็ นการเดาคาํ ตอบลว่ งหน้าอยา่ งมเี หตผุ ล กอ่ นนําไปสูก่ าร
ทดลอง

เปรยี บเทยี บการตงั สมมตฐิ านกบั การพยากรณ์

การตงั สมมตฐิ าน การพยากรณ์
การทํานายผลล่วงหน้า
โดยไมม่ หี รอื ไม่ทราบ การทํานายผลล่วงหน้า
ความสมั พนั ธเ์ กยี วขอ้ ง โดยมหี รอื ทราบ
ระหวา่ งขอ้ มูล ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
ขอ้ มูลทเี กยี วขอ้ งกบั การ
ตวั อยา่ งการตงั สมมตฐิ าน ทํานาย

• ถา้ ฮอรโ์ มนมผี ลตอ่ สขี องปลาสวยงาม ดงั นนั ปลาทเี ลยี งดว้ ยการใหฮ้ อรโ์ มนจะมสี ี
เรว็ กวา่ ปลาทเี ลยี งโดยไม่ใหฮ้ อรโ์ มนทอี ายเุ ท่ากนั

• ถา้ ควนั บหุ รมี ผี ลตอ่ การเกดิ มะเรง็ ดงั นนั คนทสี บู บหุ รหี รอื คนทคี ลกุ คลกี บั คนทสี บู
บหุ รจี ะเป็ นมะเรง็ ไดม้ ากกวา่ คนทไี ม่สบู บหุ รหี รอื ไม่คลกุ คลกี บั คนทสี บู บหุ รี

ทกั ษะการกาํ หนดนิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร คอื การกาํ หนด

ความหมายและขอบเขตของสงิ ตา่ ง ๆ (ทอี ยู่ในสมมตฐิ านทตี อ้ งทดลอง) ใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั และ
สามารถสงั เกตหรอื วดั ไว ้

แบง่ ออกเป็ น : นิยามทวั ไปและนิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร

นิยามทวั ไป คอื ความหมายของคาํ โดยทวั ไปอย่างกวา้ งๆทุกคนเขา้ ใจตรงกนั วดั ไมไ่ ด ้

นิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร คอื ผทู ้ ดลองกาํ หนดความหมายและขอบเขตของคาํ ตามทอี ยใู่ นสมมตฐิ าน
ใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั วดั ได ้

ตวั อย่าง “การใหค้ าํ นิยามของกา๊ ซออกซเิ จน

นิยามทวั ไป-- ออกซเิ จนเป็ นกา๊ ซทมี เี ลขอะตอมเท่ากบั 8 และ

มวลอะตอมเทา่ กบั 16

นิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร-- ออกซเิ จนเป็ นกา๊ ซทชี ว่ ยในการตดิ ไฟ

เมอื นํากอ้ นถา่ นทคี ุแดงแหย่ลงไปในกา๊ ซนนั แลว้ กอ้ นถา่ นจะล
เป็ นเปลวไฟ

ทกั ษะการทดลอง เป็ นกระบวนการปฏบิ ตั กิ ารเพอื หาคาํ ตอบ หรอื การ

ทดสอบ สมมตฐิ านทตี งั ไว ้

 เป็ นความสามารถในการออกแบบการทดลองใหส้ อดคลอ้ งกบั
ปัญหา และ

เป็ นสมคมวตาฐิมาสนามารถในการเลอื กใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ ทเี หมาะสม

เป็ นความสามารถในการบนั ทกึ ผลการทดลอง / สรปุ ผล

ประกอบดว้ ย การเขยี นชอื การทดลอง (ปัญหา) การตงั
จดุ ประสงค ์ (สมมตฐิ าน) อปุ กรณท์ ใี ช ้ วธิ กี ารทดลอง
บนั ทกึ และสรปุ ผล

คุณสมบตั ขิ องบุคคลทมี เี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตร ์

1. ยอมรบั และเชอื ในความสาํ คญั ของเหตผุ ล
2. ไม่เชอื โชคลาง คาํ ทํานาย
3. คน้ หาสาเหตขุ องปัญหาและหาความสมั พนั ธข์ องสาเหตุ
4. พยายามเสาะหาความรใู ้ หม่ ๆ
5. เปลยี นความคดิ ไปสสู่ งิ ทถี กู ตอ้ งและมเี หตผุ ลกวา่ เดมิ
6. ไม่สรปุ อะไรง่ายจากการทดลองเพยี งครงั เดยี ว
7. ตรวจสอบความคดิ โดยการปฏบิ ตั ทิ ดลอง
8. เป็ นผูส้ งั เกต ละเอยี ดลออ รอบคอบ
9. ซอื สตั ย ์ ไม่ลาํ เอยี ง ไม่อคติ
10. คดิ ทาํ พูด อยา่ งมเี หตผุ ล
11. ทํางานรว่ มกบั ผูอ้ นื ไดด้ ี
12. ชอบคาํ ถามมากกวา่ คาํ ตอบ
13. เชอื วา่ ความรทู ้ างวทิ ยาศาสตรท์ กุ ประเภทสามารถ

เปลยี นแปลงได ้

โครงงานวทิ ยาศาสตร ์ หมายถงึ การศกึ ษาคน้ ควา้ ความรูด้ ว้ ย

ตนเอง โดยอาศยั วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะทางวทิ ยาศาสตรภ์ ายใต
การแนะนํา ปรกึ ษา ดูแลของอาจารยห์ รอื ผูเ้ ชยี วชาญในเรอื งนนั ๆ

การศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยโครงงานวทิ ยาศาสตร ์จงึ ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การ
เรยี นรู ้ มปี ระสบการณจ์ ากการปฏบิ ตั จิ รงิ และไดฝ้ ึ กแกป้ ัญหาดว้ ยกระบวนก
ทางวทิ ยาศาสตร ์ซงึ จะตดิ ตวั ผูเ้ รยี นไปตลอด เมอื มขี อ้ สงสยั หรอื ปัญหา
เกดิ ขนึ ผูเ้ รยี นจะสามารถนําความรูด้ า้ นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรไ์ ปใช
แกป้ ัญหาได้

ประเภทของโครงงาน
วทิ ยาศาสตร ์
 โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภททดลอง
 โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทสาํ รวจ
 โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทสงิ ประดษิ ฐ ์
 โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภททฤษฎี

โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภททดลอง

เป็ นโครงงานทมี กี ารออกแบบการทดลองเพอื ศกึ ษาผลของตวั
แปรตน้ ทมี ผี ลตอ่ ตวั แปรตาม โดยควบคมุ ตวั แปรอนื ๆ ทมี อี ทิ ธพิ ล
ตอ่ ผลการทดลอง

ตวั แปรตน้ หรอื ตวั แปรอสิ ระ คอื ตวั แปรทกี าํ หนดขนึ เพอื ทดสอบ

สมมุตฐิ าน เป็ นตวั แปรที
เราตอ้ งการศกึ ษา

ตวั แปรตาม คอื ตวั แปรทเี ปลยี นไปตามตวั แปรตน้ (ผลของตวั

แปรตน้ )
เป็ นตวั แปรทเี ราตอ้ งเกบ็ คา่ บนั ทกึ ผล

ตวั แปรควบคุม คอื ตวั แปรทสี ่งผลตอ่ การทดลอง เป็ นตวั แปรที

อาจทาํ ใหผ้ ล
การทดลองคลาดเคลอื นได้ จงึ ตอ้ งควบคุมไว้

โครงงานวทิ ยาศาสตร ์
ประเภทสาํ รวจ

เป็ นการสาํ รวจรวบรวมขอ้ มูล แลว้ นํามาจาํ แนกเป็ น
หมวดหมู่ เพอื เสนอในรูปแบบตา่ ง ๆ ใหเ้ หน็ ลกั ษณะ หรอื
รูปแบบสมั พนั ธข์ องเรอื งทศี กึ ษาไดช้ ดั เจนขนึ โดย
ไมต่ อ้ งคาํ นึงถงึ ตวั แปรต่าง ๆ เป็ นการเกบ็ ขอ้ มูลโดยการออกไป
สาํ รวจนอกหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและบางครงั อาจจะนําสว่ นตา่ ง ๆ นนั
มาศกึ ษาในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารดว้ ยกไ็ ด้

ตวั อยา่ งที 1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลนอกหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรอื ในธรรมชาติ

โดยไมต่ อ้ งนําวสั ดุตวั อยา่ งมาวเิ คราะหใ์ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ตวั อย่างเชน่
โครงงานวทิ ยาศาตร ์เรอื ง
การศกึ ษามลพษิ ในสงิ แวดลอ้ ม การศกึ ษาการเจรญิ เตบิ โต
ของตวั ออ่ นของสตั วบ์ างชนิด

ตวั อย่างที 2 การเกบ็ รวบรวมวสั ดุตวั อย่างมาวเิ คราะหใ์ น

หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เชน่ โครงงานเรอื ง การศกึ ษาปรมิ าณของ
อะฟลาทอกซนิ ในถวั ลสิ งป่ นตามรา้ นอาหารตา่ ง ๆ
การสาํ รวจหมูเ่ ลอื ดของนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลายในจงั หวดั

โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภท
สงิ ประดษิ ฐ ์

เป็ นโครงงานทปี ระยุกตห์ ลกั การหรอื ทฤษฎตี า่ ง ๆ ทาง
วทิ ยาศาสตร ์มาประดษิ ฐเ์ ป็ นเครอื งมอื เครอื งใชห้ รอื อปุ กรณท์ ี
เป็ นประโยชนใ์ นการใชส้ อย อาจคดิ ประดษิ ฐข์ องใหม่ ๆ หรอื
ปรบั ปรุงดดั แปลงของเดมิ ทมี อี ยูแ่ ลว้ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสูงขนึ

ตวั อยา่ งที 1 โครงงานวทิ ยาศาสตร ์กงั หนั ลม การศกึ ษา

โดยการประดษิ ฐก์ งั หนั ลมจากลูกปิ งปอง นํามาทดลองศกึ ษา
การหมุนของกงั หนั ทมี คี วามยาวแขนตา่ งกนั

ตวั อย่างที 2 โครงการวทิ ยาศาสตรเ์ รอื ง ตูอ้ บพลงั งาน

แสงอาทติ ยก์ ารศกึ ษา โดยการประดษิ ฐต์ ูอ้ บพลงั งาน
แสงอาทติ ยอ์ ยา่ งง่ายจากวสั ดใุ นทอ้ งถนิ แลว้ นํามาทดลอง
หาประสทิ ธภิ าพของตูอ้ บพลงั งานแสงอาทติ ย ์

โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภททฤษฏี

เป็ นโครงงานทเี สนอทฤษฏี หลกั การใหม่ ตามแนวคดิ ของ
ตนเอง หรอื การอธบิ ายแนวคดิ ใหม่ ๆ ซงึ อาจอยู่ในรูปของสูตร
สมการในเรอื งใดเรอื งหนึงอย่างมเี หตผุ ล ทฤษฎหี รอื คาํ อธบิ าย
ดงั กลา่ วอาจใหม่ หรอื ขดั แยง้ หรอื ขยายแนวความคดิ หรอื ขยาย
คาํ อธบิ ายเดมิ ทมี ผี ูใ้ หไ้ วก้ อ่ นแลว้ กไ็ ด้ แตจ่ ะตอ้ งมขี อ้ มูลหรอื
ทฤษฎอี นื มาสนบั สนุนอา้ งองิ

ตวั อย่าง โครงงานวทิ ยาศาสตร ์เรอื ง ทฤษฎี
โลกกลมโลกแบน การศกึ ษาโดยการทดลอง
ศกึ ษา โดยอาศยั ทฤษฎเี ดมิ และนําเสนอแนวคดิ
ใหมข่ องตนเองโดยยกเหตผุ ลหรอื พสิ ูจน์
แนวความคดิ ของตนเองวา่ น่าเชอื ถอื กวา่

วธิ กี ารทําโครงงานวทิ ยาศาสตร ์

1. สาํ รวจและตดั สนิ ใจเลอื กเรอื งทจี ะโครงงาน ☺ ☺
2. ศกึ ษาขอ้ มูลทเี กยี วขอ้ งกบั เรอื งทจี ะทําจากเอกสารและ
แหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ
3. วางแผนการทดลอง การใชว้ สั ดุอปุ กรณแ์ ละระยะเวลาใน
การดาํ เนินงาน ☺ ☺
4. ลงมอื ศกึ ษาทดลอง วเิ คราะหข์ อ้ มูลและสรุปผล
5. เขยี นรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร ์
6. เสนอผลงานของโครงงานวทิ ยาศาสตร ์

ขนั ตอนการเขยี นรายงานโครงงาน
วทิ ยาศาสตร ์

1. ปกนอก เป็ นส่วนทอี ยูด่ า้ นหน้าสุดของรายงาน

โครงงาน จะใชก้ ระดาษแข็ง ประกอบไปดว้ ย
 ชอื เรอื งโครงงาน
 ชอื ผูจ้ ดั ทาํ โครงงาน
 ชอื สถานทศี กึ ษา

2. ปกใน เป็ นสว่ นทอี ยูร่ องจากปกนอก รายละเอยี ด

จะคลา้ ยกบั ปกนอก ประกอบดว้ ย
 ชอื เรอื งโครงงาน
 ชอื ผูจ้ ดั ทําโครงงาน
ชอื อาจารยท์ ปี รกึ ษาโครงงาน
 ชอื สถานทศี กึ ษา

3. สารบญั สารบญั เป็ นส่วนทชี ว่ ยใหผ้ ูอ้ า่ นเหน็ เคา้ โครงของโครงงาน และยงั ชว่ ยใน

คน้ หาแตล่ ะหวั ขอ้ ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเรว็ แยกตามลกั ษณะรายละเอยี ดไดด้ งั นี
สารบญั เรอื ง จะบอกเนือหาแตล่ ะเรอื งวา่ อยูห่ น้าไหน
 สารบญั ตาราง จะบอกวา่ ตารางแตล่ ะตารางวา่ อยู่หน้าไหน
สารบญั รูปภาพ จะบอกวา่ รูปภาพแตล่ ะรูปภาพวา่ อยู่หน้าไหน
สารบญั แผนภูมแิ ละกราฟ จะบอกวา่ แผนภูมแิ ละกราฟแตล่ ะอนั วา่

อยู่หน้าไหน

4. ส่วนเนือเรอื งของการเขยี นรายงาน

 บทที 1 บทนํา เป็ นการกล่าวถงึ เหตุจูงใจในการทําโครงงานเรอื งนี ทําแลว้ จะไ

ประโยชนอ์ ะไร ซงึ จะประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ดงั นี
 ทมี าและความสาํ คญั ของโครงงาน
จุดมุ่งหมายของการศกึ ษาคน้ ควา้
 สมมุตฐิ านของการศกึ ษาคน้ ควา้
 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
 ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ ควา้

 บทที 2 เอกสารทเี กยี วขอ้ ง เป็ นบททแี สดงถงึ ความรูท้ เี กยี วขอ้ งกบั

เรอื งทจี ะศกึ ษาอยา่ งละเอยี ด

 บทที 3 วสั ดุอปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารดาํ เนินงาน เป็ นบททแี สดงถงึ การ

วางแผนและออกแบบการทดลองวา่ จะใชอ้ ะไรและดาํ เนินการอยา่ งไรบา้ ง
ซงึ ประกอบดว้ ย

เครอื งมอื ทใี ชใ้ นการศกึ ษา
ขนั ตอนและวธิ กี ารศกึ ษาโครงงาน
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

 บทที 4 ผลการศกึ ษา เป็ นการนําเสนอ

ผลการศกึ ษาแตล่ ะขนั ตอนในรูปแบบ
ตา่ ง ๆ เชน่ ตาราง กราฟ และแผนภูมิ

 บทที 5 สรุปและอภปิ รายผลการทดลอง เป็ นการสรุปผลการทดลองในแตล่ ะขนั ต

พรอ้ มเสนอแนะการทําโครงงานตอ่ ไปอกี
 สรุปและอภปิ รายผลการทดลอง
 ประโยชนท์ ไี ดร้ บั จากโครงงาน
 ขอ้ เสนอแนะ

7. ภาคผนวก เป็ นการเสนอเนือหาทสี อดคลอ้ งกบั การดาํ เนินงานโครงงาน หรอื ทฤษฎตี

ๆ ทเี กยี วขอ้ ง หรอื ขนั ตอนการเตรยี มสารตา่ งๆ

8. เอกสารอา้ งองิ เป็ นการอา้ งองิ หลกั ฐานเอกสารทคี น้ ควา้ เกยี วกบั การศกึ ษาโครงงาน
9. ใบรองปกหน้า – หลงั เป็ นกระดาษเปล่าขนาดเดยี วกบั ทใี ชพ้ มิ พร์ ายงาน เพอื ป้ องกนั

ใน และเนือหาในแผน่ สุดทา้ ยอกี ชนั หนึง

10. ปกหลงั เป็ นกระดาษแขง็ เชน่ เดยี วกบั ปกหน้าเพอื เยบ็ เป็ นรูปเล่ม

การเสนอผลงานโครงงานวทิ ยาศาสตร ์

เป็ นขนั การแสดงออกถงึ ผลทไี ดจ้ ากการศกึ ษา แสดงใหเ้ หน็
ถงึ ความคดิ ความพยายามในการทาํ งานของผูท้ ําโครงงาน

 แผงโครงงาน เป็ นการจดั แสดงผลงานในรูป
นิทรรศการ ประกอบดว้ ยแผ่นป้ ายทที าํ ดว้ ยวสั ดุทคี งทนถาวร
สามารถกางออกเพอื นําเสนอผลงาน

บทคดั
ย่อ

กจิ กรรม Dream team


Click to View FlipBook Version