The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จัดทำโดย นางสาวลักษณพร คงนคร ชั้นม.6/9 เลขที่ 23

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by laksanaporn1993, 2021-03-14 20:49:17

อาเซียนน่ารู้

จัดทำโดย นางสาวลักษณพร คงนคร ชั้นม.6/9 เลขที่ 23

อาเซียนน่ารู้

นางสาวลกั ษณพร คงนคร ช้นั ม.6/9 เลขท่ี 23

อาเซียน

อาเซียน (ASEAN) เป็นการรวมตวั กนั ของ 10 ประเทศ ในทวปี เอเชียตะวนั ออก
เฉียงใต้ ผนู้ าอาเซียนไดร้ ่วมลงนามในปฎิญญาวา่ ดว้ ย ความร่วมมืออาเซียนเห็นชอบ ใหจ้ ดั ต้งั ประชาคม
อาเซียน (ASEAN Community) คือ เป็นองคก์ รระหวา่ งประเทศ ระดบั ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มี
จุดเร่ิมตน้ โดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ ไดร้ ่วมกนั จดั ต้งั สมาคมอาสา (Association of South
East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพอื่ การร่วมมือกนั ทาง เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม แต่
ดาเนินการ ไปไดเ้ พียง 2 ปี กต็ อ้ งหยดุ ชะงกั ลง เนื่องจากความผกผนั ทางการเมือง
ระหวา่ งประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟ้ื นฟสู มั พนั ธ์ทางการฑูต
ระหวา่ งสองประเทศจึงไดม้ ีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกนั อีกคร้ัง และสาเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ.
2020) แต่ต่อมาไดต้ กลงร่นระยะเวลาจดั ต้งั ใหเ้ สร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปี น้นั เองจะมีการเปิ ดกวา้ งให้
ประชาชนในแต่ละประเทศสามารถเขา้ ไปทางานในประเทศ อ่ืน ๆ ในประชาคมอาเซียนไดอ้ ยา่ งเสรี เสมือน
ดงั เป็นประเทศเดียวกนั ซ่ึงจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและการมีงานทาของคน

ความเป็ นมาของอาเซียน

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ
ASEAN) ก่อต้งั ข้ึนโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) หรือ ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN
Declaration) เมื่อวนั ท่ี 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศสมาชิก 5 ประเทศ ประกอบดว้ ย อินโดนีเซีย
มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ และไทย

เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือทางดา้ นการเมือง เศรษฐกิจและสงั คม ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
ต่อมามีประเทศสมาชิกเพ่ิมเติม ไดแ้ ก่ บรูไนดารุส-ซาลาม เวยี ดนาม ลาว เมียนมาร์ และกมั พชู า ตามลาดบั
จึงทาใหป้ ัจจุบนั อาเซียน มีสมาชิก 10 ประเทศ

“อาเซียน” สู่การเป็ นประชาคมอาเซียน ในปี 2558

ปัจจุบนั บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม รวมท้งั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศได้
เปลี่ยนแปลงไปอยา่ งมาก ทาใหอ้ าเซียนตอ้ งเผชิญ สิ่งทา้ ทายใหม่ๆ อาทิ โรคระบาด การก่อการร้าย ยา
เสพติด การคา้ มนุษย์ สิ่งแวดลอ้ ม ภยั พบิ ตั ิ อีกท้งั ยงั มีความจาเป็นตอ้ งรวมตวั กนั เพอ่ื เพม่ิ อานาจต่อรองและ
ขีดความสามารถทางการแขง่ ขนั กบั ประเทศในภูมิภาคใกลเ้ คียง และในเวทีระหวา่ งประเทศ ผนู้ าอาเซียนจึง
เห็นพอ้ งกนั วา่ อาเซียนควรจะร่วมมือกนั ใหเ้ หนียวแน่น เขม้ แขง็ และมนั่ คงยงิ่ ข้ึน จึงไดป้ ระกาศ “ปฏิญญาวา่
ดว้ ยความร่วมมือในอาเซียน ฉบบั ที่ 2” (Declaration of ASEAN Concord II) ซ่ึงกาหนดใหม้ ีการสร้าง
ประชาคมอาเซียนที่ประกอบไปดว้ ย 3 เสาหลกั ไดแ้ ก่

- ประชาคมการเมืองและความมน่ั คงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community - APSC) มุ่ง
ใหป้ ระเทศกลมุ่ สมาชิกอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข แกไ้ ขปัญหาระหวา่ งกนั โดยสนั ติวิธี มีเสถียรภาพและความ
มนั่ คงรอบดา้ น เพ่อื ความมน่ั คงปลอดภยั ของเหลา่ ประชาชน

- ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) มุ่งเนน้ ใหเ้ กิดการรวมตวั กนั
ทางเศรษฐกิจ และความสะดวกในการติดต่อคา้ ขายระหวา่ งกนั เพื่อใหป้ ระเทศสมาชิกสามารถแข่งขนั กบั ภูมิภาค
อ่ืนๆไดโ้ ดย

- ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community - ASCC) มุ่งหวงั ให้
ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยทู่ ี่ดี มีความมนั่ คงทางสงั คม มีการพฒั นาในทุกๆ ดา้ น และมีสงั คมแบบ
เอ้ืออาร โดยจะมีแผนงานสร้างความร่วมมือ 6 ดา้ น คือ การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ การคุม้ ครองและสวสั ดิการ
สงั คม สิทธิและความยตุ ิธรรมทางสงั คม ความยงั่ ยนื ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม การสร้างอตั ลกั ษณ์อาเซียน การลดช่องวา่ ง
ทางการพฒั นา

ซ่ึงต่อมาผนู้ าอาเซียนไดต้ กลงใหม้ ีการจดั ต้งั ประชาคมอาเซียนใหแ้ ลว้ เสร็จเร็วข้ึนมาเป็นภายในปี 2558

ประชาคมอาเซียน

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การรวมตวั ของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนใหเ้ ป็น
ชุมชนท่ีมีความแขง็ แกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือส่งทา้ ทา้ ย ท้งั ดา้ นการเมืองความมนั่ คง เศรษฐกิจ
และภยั คุกคามรูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความเป็นอยทู่ ี่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจไดอ้ ยา่ งสะดวกมากยงิ่ ข้ึน และสมาชิก ในชุมชนมีความรู้สึกเป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั

จุดประสงค์หลกั ของอาเซียน

ปฏิญญากรุงเทพฯ ไดร้ ะบวุ ตั ถุประสงคส์ าคญั 7 ประการของการจดั ต้งั อาเซียน ไดแ้ ก่
1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ในทางเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม
เทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์ และการบริหาร

2. ส่งเสริมสนั ติภาพและความมนั่ คงส่วนภูมิภาค
3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพฒั นาการทางวฒั นธรรมในภูมิภาค

4. ส่งเสริมใหป้ ระชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยแู่ ละคณุ ภาพชีวติ ท่ีดี

5. ใหค้ วามช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ในรูปของการฝึกอบรมและการวจิ ยั และส่งเสริมการศึกษาดา้ น
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

6. เพม่ิ ประสิทธิภาพของการเกษตรและอตุ สาหกรรม การขยายการคา้ ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่ง
และการคมนาคม

7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกบั ประเทศภายนอก องคก์ าร ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอ่ืนๆ และ
องคก์ ารระหวา่ งประเทศ
ภาษาอาเซียน

ภาษาทางการท่ีใชใ้ นการติดต่อประสานงานระหวา่ งประเทศสมาชิก คือ ภาษาองั กฤษ
คาขวญั ของอาเซียน
"หน่ึงวสิ ยั ทศั น์ หน่ึงเอกลกั ษณ์ หน่ึงประชาคม”(One Vision, One Identity, One Community)
อตั ลกั ษณ์อาเซียน

อาเซียนจะตอ้ งส่งเสริมอตั ลกั ษณ์ร่วมกนั ของตนและความรู้สึกเป็นเจา้ ของในหมู่ประชาชนของตน
เพ่ือใหบ้ รรลุชะตา เป้าหมาย และคุณคา่ ร่วมกนั ของอาเซียน

สัญลกั ษณ์อาเซียน
คือ ดวงตราอาเซียนเป็น

รูปมดั รวงขา้ ว สีเหลืองบนพ้ืนวงกลม
สีแดงลอ้ มรอบดว้ ยวงกลมสีขาว และสีน้าเงิน
รวงขา้ วสีเหลือง 10 ตน้ หมายถึง ความใฝ่ฝันของบรรดาสมาชิกในเอเซียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ้งั 10
ประเทศ ใหม้ ีอาเซียนท่ีผกู พนั กนั อยา่ งมีมิตรภาพและเป็นหน่ึงเดียว
วงกลม เป็นสญั ลกั ษณ์แสดงถึงเอกภาพของอาเซียน
ตวั อกั ษรคาวา่ asean สีน้าเงิน อยใู่ ตภ้ าพรวงขา้ ว แสดงถึงความมุ่งมน่ั ที่จะทางานร่วมกนั เพื่อความ
มน่ั คง สนั ติภพ เอกภาพ และความกา้ วหนา้ ของประเทศสมาชิกอาเซียน
สีเหลือง : หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
สีแดง : หมายถึง ความกลา้ หาญและการมีพลวตั ิ
สีขาว : หมายถึง ความบริสุทธ์ิ
สีน้าเงิน : หมายถึง สันติภาพและความมน่ั คง

ธงอาเซียน
ธงอาเซียนเป็นธงพ้นื สีน้าเงิน มีดวงตราอาเซียนอยตู่ รงกลาง แสดงถึงเสถียรภาพ สนั ติภาพ ความ

สามคั คี และพลวตั ของอาเซียน
สีของธงประกอบดว้ ย สีน้าเงิน สีแดง สีขาว และสีเหลือง ซ่ึงเป็นสีหลกั ในธงชาติของบรรดาประเทศสมาชิก
ของอาเซียนท้งั หมด
วนั อาเซียน

ใหว้ นั ท่ี 8 สิงหาคม ของทุกปี เป็นวนั อาเซียน
เพลงประจาอาเซียน (ASEAN Anthem)

คือ เพลง ASEAN WAY

กฎบตั รอาเซียน

กฎบตั รอาเซียน กาหนดใหอ้ าเซียนและประเทศสมาชิกปฏิบตั ิตามหลกั การดงั ต่อไปน้ี

1. เคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน และอตั ลกั ษณ์แห่งชาติของรัฐ
สมาชิกอาเซียนท้งั ปวง

2. ผกู พนั และรับผดิ ชอบร่วมกนั ในการเพิ่มพนู สนั ติภาพ ความมน่ั คง และความมงั่ คง่ั ของภูมิภาค
3. ไม่รุกรานหรือขม่ ข่วู า่ จะใชก้ าลงั หรือการกระทาอ่ืนใดในลกั ษณะท่ีขดั ตอ่ กฎหมายระหวา่ งประเทศ

4. ระงบั ขอ้ พิพาทโดยสนั ติ

5. ไม่แทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน

6. เคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธารงประชาชาติของตนโดยปราศจากการแทรกแซง การ
บ่อนทาลาย และการบงั คบั จากภายนอก

7. ปรึกษาหารือที่เพ่ิมพนู ข้ึนในเร่ืองท่ีมีผลกระทบอยา่ งร้ายแรงต่อผลประโยชน์ร่วมกนั ของอาเซียน
8. ยดึ มนั่ ต่อหลกั นิติธรรม ธรรมาภิบาล หลกั การประชาธิปไตยและรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ
9. เคารพเสรีภาพพ้นื ฐาน การส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน และการส่งเสริมความยตุ ิธรรมทาง
สงั คม

10. ยดึ ถือกฎบตั รสหประชาชาติและกฎหมายระหวา่ งประเทศ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ ง
ประเทศ ที่ รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ

11. ละเวน้ จากการมีส่วนร่วมในการคุกคามอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดนหรือเสถียรภาพทาง
การเมืองและเศรษฐกิจของรัฐสมาชิกอาเซียน

12. เคารพในวฒั นธรรม ภาษา และศาสนาท่ีแตกต่างของประชาชนอาเซียน

13. มีส่วนร่วมกบั อาเซียนในการสร้างความสมั พนั ธ์กบั ภายนอกท้งั ในดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ และ
สงั คม โดยไม่ปิ ดก้นั และไม่เลือกปฏิบตั ิ

14. ยดึ มน่ั ในกฎการคา้ พหุภาคีและระบอบของอาเซียน

ประเทศไทยจะได้ประโยชน์อะไรจาก AEC (ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน)
ประชาคมอาเซียนท่ีจะถือกาเนิดในปี 2558 น้นั คนไทยจะไดป้ ระโยชนอ์ ะไร แน่นอนเราคงอยากทราบ

แต่ในช้นั น้ีขอจากดั เฉพาะทางเศรษฐกิจก่อน

ประการแรก ไทยจะ “มีหนา้ มีตาและฐานะ” เด่นข้ึนประชาคมอาเซียนจะทาใหเ้ ศรษฐกิจ “ของเรา” มี
มูลคา่ รวมกนั 1.8 ลา้ นลา้ นดอลลาร์สหรัฐ และมีขนาดใหญ่อนั ดบั 9 ของโลก ยงั ประโยชน์แก่คนไทยทุกคนท่ีจะ
ไดย้ นื อยา่ งสงา่ งาม “ยมิ้ สยาม” จะคมชดั ข้นึ

ประการท่ีสอง การคา้ ระหวา่ งไทยกบั ประเทศอาเซียนจะคลอ่ งและขยายตวั มากข้ึน กาแพงภาษีจะลดลง
จนเกือบจะหมดไป เพราะ 10 ตลาดกลายเป็นตลาดเดียว ผผู้ ลิตจะส่งสินคา้ ไปขายในตลาดน้ีและขยบั ขยายธุรกิจ
ของตนง่ายข้ึน ขณะเดียวกนั ผบู้ ริโภคกจ็ ะมีทางเลือกมากข้ึนราคาสินคา้ จะถูกลง

ประการที่สาม ตลาดของเราจะใหญข่ ้ึน แทนท่ีจะเป็นตลาดของคน 67 ลา้ นคน กจ็ ะกลายเป็นตลาดของ
คน 590 ลา้ นคน ซ่ึงจะทาใหไ้ ทยกลายเป็นแหล่งลงทุนท่ีน่าสนใจ เพราะสินคา้ ท่ีผลิตในประเทศไทยสามารถ
ส่งออกไปยงั อีกเกา้ ประเทศไดร้ าวกบั ส่งไปขายต่างจงั หวดั ซ่ึงกจ็ ะช่วยใหเ้ ราสามารถแขง่ ขนั กบั จีนและอินเดีย
ในการดึงดูดการลงทุนไดม้ ากข้ึน

ประการท่ีสี่ ความเป็นประชาคมจะทาใหม้ ีการพฒั นาเครือขา่ ยการสื่อสารคมนาคมระหวา่ งกนั เพอื่
ประโยชนด์ า้ นการคา้ และการลงทุน แต่กย็ งั ผลพลอยไดใ้ นแง่การไปมาหาสู่กนั ซ่ึงกจ็ ะช่วยใหค้ นในอาเซียนมี

ปฏิสมั พนั ธ์กนั รู้จกั กนั และสนิทแน่นแฟ้นกนั มากข้ึน เป็นผลดีต่อสนั ติสุข ความเขา้ ใจอนั ดีและความร่วมมือกนั
โดยรวม นบั เป็นผลทางสร้างสรรคใ์ นหลายมิติดว้ ยกนั

ประการท่ีหา้ โดยท่ี ไทยต้งั อยใู่ นจุดก่ึงกลางบนภาคพ้นื แผน่ ดินใหญอ่ าเซียน ประเทศไทยยอ่ มไดร้ ับ
ประโยชนจ์ ากปริมาณการคมนาคมขนส่งที่จะเพม่ิ ข้นึ ในอาเซียนและระหวา่ งอาเซียนกบั จีน (และอินเดีย) มากยงิ่
กวา่ ประเทศอื่นๆ
บริษทั ดา้ นขนส่ง คลงั สินคา้ ป๊ัมน้ามนั ฯลฯ จะไดร้ ับประโยชนอ์ ยา่ งชดั เจน จริงอยู่ ประชาคมอาเซียนจะยงั ผล
ท้งั ดา้ นบวกและลบต่อประเทศไทย ข้ึนอยกู่ บั พวกเราคนไทยจะเตรียมตวั อยา่ งไร แตผ่ ลทางบวกน้นั จะชดั เจน
เป็นรูปธรรมและจบั ตอ้ งได้
อาเซียน +3
ประเทศจีน ประเทศญี่ป่ ุน ประเทศเกาหลีใต้
ASEAN +3

อาเซียน+3 คือกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตซ้ ่ึงเป็นสมาชิกในอาเซียน 10 ประเทศ และ
ประเทศเพิม่ มา 3 ประเทศ ไดแ้ ก่ จีน ญี่ป่ ุน เกาหลีใต้

เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือในระดบั อนุภูมิภาคเอเชียตะวนั ออก ดา้ นการเมืองและความมน่ั คง ดา้ นความ
ร่วมมือทางเศรษฐกิจและการเงิน ดา้ นพลงั งาน ส่ิงแวดลอ้ ม การเปล่ียนแปลงของสภาวะอากาศโลก ดา้ นสงั คม
และวฒั นธรรม

อาเซียน +6
ประเทศจีน ประเทศญ่ีป่ ุน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศออสเตรเลีย ประเทศอินเดีย
ASEAN +6

อาเซียนบวก 6 (ASEAN +6) หรือ หรือ FTA ASEAN PLUS 6 คือกลุม่ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออก
เฉียงใตซ้ ่ึงเป็นสมาชิกในอาเซียน 10 ประเทศ และเพอื่ นบา้ นในเอเชียและโอเชียเนียอีก 6 ประเทศ ไดแ้ ก่
ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญ่ีป่ นุ ประเทศออสเตรเลีย ประเทศอินเดีย และประเทศนิวซีแลนด์

เพ่อื ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ พฒั นาทรัพยากรมนุษย์ เพมิ่ ขีดความสามารถของกลุ่มในการลงทุน การทา
การคา้ และอ่ืนๆ เพอื่ ใหม้ ีศกั ยภาพในการแข่งขนั กบั ภูมิภาคอ่ืน

10 ประเทศอาเซียน
1. ข้อมูล ประเทศบรูไน (BRUNEI)

เมืองหลวง บรูไน : บนั ดาร์เซอรีเบอกาวนั (Bandar Seri Begawan)
ศาสนา : อิสลาม 67%, พทุ ธนิกายมหายาน 13%, ศาสนาคริสต์ 10%
วนั ชาติ บรูไน : วนั ท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์
การเมืองการปกครอง บรูไน : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สุลต่านทรงเป็นอธิปัตย์ คือเป็นท้งั ประมุข
นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม นายกรัฐมนตรีจะตอ้ งเป็นชาวบรูไนเช้ือสายมาเลยโ์ ดย
กาเนิด และจะตอ้ งเป็นมุสลิมนิกายสุหนี่ นอกจากน้ี บรูไนไม่มีสภาท่ีไดร้ ับเลือกจากประชาชน
พ้นื ที่ : 5,769 ตร.กม. ต้งั อยทู่ ิศตะวนั ออกเฉียงเหนือบนเกาะบอร์เนียว ในทะเลจีนใต้
ประชากร : มีจานวนประชากรประมาณ 401,890 คน (นอ้ ยที่สุดในอาเซียน) ส่วนใหญเ่ ป็นเช้ือชาติ มลายู
รองลงมาคือ จีน และชนพ้นื เมืองต่าง
ภาษา : ภาษามาเลยเ์ ป็น ภาษาราชการ และใชภ้ าษาองั กฤษกนั ทว่ั ไปท้งั ในราชการ การคา้ ภาษาจีนใชก้ นั ในกลุม่
คนจีน
อาหารประจาชาติ บรูไน : อมั บูยตั เป็นอาหารยอดนิยมของบรูไน
สตั วป์ ระจาชาติ บรูไน : เสือโคร่ง
สกุลเงิน บรูไน : ดอลลา่ ร์บรูไน ดารุสซาลาม
วนั ท่ีเขา้ ร่วมอาเซียน : 7 มกราคม 1984
ดอกไมป้ ระจาชาติ : ดอกซิมปอร์ (Simpor)

2. ข้อมูล ประเทศกมั พูชา (CAMBODIA)

เมืองหลวง กมั พูชา : กรุงพนมเปญ
ศาสนา : พทุ ธร้อยละ 95, อิสลามร้อยละ 3, คริสตร์ ้อยละ 1.7, พราหมณ์-ฮินดูร้อยละ 0.3
วนั ชาติ กมั พูชา : วนั ที่ 9 พฤศจิกายน
การเมืองการปกครอง กมั พูชา : ประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมุขภายใตร้ ัฐธรรมนูญ
พืน้ ท่ี : 180,000 ตารางกิโลเมตร ต้งั อยทู่ างทิศตะวนั ตกเฉียงใตข้ องคาบสมุทรอินโดจีน
ประชากร : : มีจานวนประมาณ 14.7 ลา้ นคน ชาวเขมรร้อยละ 90 ชาวญวนร้อยละ 5 ชาวจีนร้อยละ 1 และอ่ืนๆ
ร้อยละ 4
ภาษา : ภาษาเขมร เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นองั กฤษ, ฝรั่งเศส, เวียดนามและจีน
อาหารประจาชาติ กมั พชู า : อามอ็ ก (Amok) อาหารยอดนิยมของกมั พชู า มีลกั ษณะคลา้ ยห่อหมกของไทย
สัตว์ประจาชาติ กมั พชู า : กปู รี หรือโคไพร เป็นสตั วป์ ระจาชาติของประเทศกมั พชู า
สกลุ เงิน กมั พชู า : เรียล (Riel) เป็นสกลุ เงินของประเทศกมั พชู า
วนั ท่ีเข้าร่วมอาเซียน : เขา้ เป็นสมาชิกอาเซียนเม่ือวนั ท่ี 30 เมษายน 1999
ดอกไม้ประจาชาติ : ดอกลาดวน (Rumdul)

3. ข้อมูล ประเทศอนิ โดนีเซีย (INDONESIA)

เมืองหลวง อนิ โดนีเซีย : จาการ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองท่ีใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
ศาสนา : อิสลามร้อยละ 88 คริสตร์ ้อยละ 8 ฮินดูร้อยละ 2 พทุ ธร้อยละ 1 และศาสนาอื่นๆร้อยละ 1
วนั ชาติ อนิ โดนีเซีย : วนั ท่ี 17 สิงหาคม
การเมืองการปกครอง : ประชาธิปไตยท่ีมีประธานาธิปดีเป็นประมุข และหวั หนา้ ฝ่ายบริหาร
พืน้ ท่ี : 1,904,433 ตารางกิโลเมตร (หรือ 10 เท่า ของไทย)
ประชากร : มีจานวนประชากร 241 ลา้ นคน ประกอบดว้ ย ชนพ้ืนเมืองหลายกลุ่ม
ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ
อาหารประจาชาติ อนิ โดนเี ซีย : กาโด กาโด (Gado Gado) ประกอบไปดว้ ยผกั และธญั พชื
สัตว์ประจาชาติ อนิ โดนีเซีย : มงั กรโคโมโด
สกลุ เงนิ อนิ โดนีเซีย : รูเปี ยห์ (Rupiah)
วนั ทีเ่ ข้าร่วมอาเซียน : 8 สิงหาคม 1967 เป็น 1 ใน 5 ประเทศในการก่อต้งั สมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้
ดอกไม้ประจาชาติ : ดอกกลว้ ยไมร้ าตรี (Moon Orchid)

4. ข้อมูล ประเทศลาว (LAOS)

เมืองหลวง ลาว : เวียงจนั ทร์
ศาสนา : ศาสนาพทุ ธ(เถรวาท) คริสต์ อิสลาม นบั ถือผี
วนั ชาติ ลาว : วนั ที่ 2 ธนั วาคม
การเมืองการปกครอง ลาว : สาธารณรัฐสังคมนิยม พรรคการเมืองเดียว คือ พรรคปฏิวตั ิประชาชนลาว
พืน้ ท่ี : ประมาณ 236,000 ตารางกิโลเมตร
ประชากร : มีจานวนประมาณ 6.5 ลา้ นคน ประกอบดว้ ย ชาวลาวลุ่ม 68%, ลาวเทิง 22%, ลาวสูง 9% รวม
ประมาณ 68 ชนเผา่
ภาษา : ภาษาลาว เป็นภาษาราชการ
อาหารประจาชาติ ลาว : ซุบไก่ (Chicken Soup)
สัตว์ประจาชาติ ลาว : ชา้ ง ถือเป็นสตั วค์ ู่บา้ นคู่เมืองที่มีความผกู พนั กบั ชาวลาวเป็นอยา่ งยง่ิ
สกลุ เงนิ ลาว : กีบ (Kip)
วนั ทเี่ ข้าร่วมอาเซียน : เขา้ ร่วมสมาชิกอาเซียนเป็นประเทศท่ี 8 วนั ท่ี 23 ก.ค. 1997
ดอกไม้ประจาชาติ : ดอกจาปาลาว (Dok Champa)

5. ข้อมูล ประเทศมาเลเซีย (MALAYSIA)

เมืองหลวง มาเลเซีย : กวั ลาลมั เปอร์
ศาสนา : อิสลาม ศาสนาประจาชาติ ร้อยละ 60.4, พทุ ธ ร้อยละ 19.2, คริสต์ ร้อยละ 11.6, ฮินดู ร้อยละ 6.3 และ
อ่ืน ๆ อีกร้อยละ 2.5
วนั ชาติ มาเลเซีย : วนั ที่ 31 สิงหาคม
การเมืองการปกครอง มาเลเซีย : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
พืน้ ที่ : ประมาณ 329,758 ตารางกิโลเมตร ( ประมาณ 64% ของไทย)
ประชากร : มีจานวนประมาณ 30,018,242 ประกอบดว้ ย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพ้ืนเมืองเกาะ
บอร์เนียว 10%
ภาษา : ภาษามาเลย์ หรือ ภาษามลายู เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นองั กฤษและจีน
อาหารประจาชาติ มาเลเซีย : นาซิเลอมกั เป็นหน่ึงในอาหารยอดนิยมของมาเลเซีย เป็นขา้ วผดั กบั กะทิและ
สมุนไพร, สะเตะ๊ เป็นอาหารท่ีรู้จกั แพร่หลาย นิยมใชเ้ น้ือววั หรือเน้ือไก่ยา่ งบนเตาถ่าน รับประทานกบั น้าจิ้ม
รสชาติหวานหอมเผด็ และเคร่ืองเคียง
สัตว์ประจาชาติ มาเลเซีย : เสือโคร่ง
สกลุ เงิน มาเลเซีย : ริงกิต (Ringgit)
วนั ที่เข้าร่วมอาเซียน : 8 สิงหาคม 1967 เป็น 1 ใน 5 ประเทศในการก่อต้งั สมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้
ดอกไม้ประจาชาติ : ดอกพรู่ ะหง (Bunga Raya)

6. ข้อมูล ประเทศเมียนมาร์ หรือพม่า (MYANMAR)

เมืองหลวง เมยี นมาร์ : เนปี ดอ (Naypyidaw)
ศาสนา : พทุ ธ 90%, คริสต์ 5%, อิสลาม 3.8%
วนั ชาติ : วนั ท่ี 4 มกราคม
การเมืองการปกครอง เมียนมาร์ : ระบบประชาธิปไตยอนั มีประธานาธิบดีเป็นประมขุ
พืน้ ท่ี : 677,000 ตารางกิโลเมตร
ประชากร : มีจานวนประมาณ 56,400,000 คน มีชาติพนั ธุพ์ ม่า 68%, ไทใหญ่ 9%, กะเหรี่ยง 7%, ยะ
ไข่ 3.50%, จีน 2.50%, มอญ 2%, คะฉ่ิน 1.50%, อินเดีย 1.25%, ชิน1%, คะยา 0.75% และอื่นๆ 4.50%
ภาษา : ภาษาพม่า เป็นภาษาราชการ
อาหารประจาชาติ เมียนมาร์ : หลา่ เพด็ (Lahpet) เป็นอาหารยอดนิยมของพม่า คือใบชาหมกั ทานกบั เคร่ืองเคียง
สัตว์ประจาชาติ เมยี นมาร์ : เสือ
สกลุ เงนิ เมียนมาร์ : จ๊าด (Kyat)
วนั ทเ่ี ข้าร่วมอาเซียน : วนั ที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ.1997
ดอกไม้ประจาชาติ : ดอกประดู่ (Paduak)

7. ข้อมูล ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ (PHILIPPINES)

เมืองหลวง ฟิ ลปิ ปิ นส์ : กรุงมะนิลา
ศาสนา : ร้อยละ 92.5 นบั ถือศาสนาคริสต์ โดยร้อยละ 83 นบั ถือนิกายโรมนั คาทอลิก และร้อยละ 9 เป็นนิกาย
โปรเตสแตนต์
วนั ชาติ ฟิ ลปิ ปิ นส์ : วนั ที่ 12 มิถุนายน
การเมืองการปกครอง ฟิ ลปิ ปิ นส์ : ระบอบประชาธิปไตย แบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุข มาจาก
การเลือกต้งั โดยตรงจากประชาชน
พืน้ ที่ : 300,000 ตารางกิโลเมตร
ประชากร : มีจานวนประมาณ 103,000,000 คน
ภาษา : ภาษาฟิ ลิปี โน และภาษาองั กฤษ เป็นภาษาราชการ
อาหารประจาชาติ ฟิ ลปิ ปิ นส์ : อโดโบ้ (Adobo) เป็นหน่ึงในอาหารยอดนิยม ของประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ทาจากหมู
หรือไก่ท่ีผา่ นกรรมวธิ ีหมกั และปรุงรสโดยจะใส่ซีอิ๊วขาว น้าสม้ สายชู กระเทียมสบั ใบกระวาน พริกไทยดา
นาไปทาใหส้ ุกโดยใส่ในเตาอบ หรือทอด และรับประทานกบั ขา้ ว
สัตว์ประจาชาติ ฟิ ลปิ ปิ นส์ : กระบือ เป็นสตั วป์ ระจาชาติฟิ ลิปปิ นส์ ในภาษาตากาลอ็ กเรียกวา่ คาราบาว
สกลุ เงิน ฟิ ลปิ ปิ นส์ : เปโซ (Peso)
วนั ทีเ่ ข้าร่วมอาเซียน : วนั ท่ี 8 สิงหาคม
ดอกไม้ประจาชาติ : ดอกพดุ แกว้ (Sampaguita Jasmine)

8. ข้อมูล ประเทศสิงคโปร์ (SINGAPORE)

เมืองหลวง สิงคโปร์ : สิงคโปร์ สิงคโปร์เป็นประเทศเดียวที่ไม่มีเมืองหลวง เน่ืองจากเป็นเกาะขนาด 710 ตาราง
กิโลเมตร จึงบริหารประเทศท้งั หมดเป็นรัฐเดียว
ศาสนา : พทุ ธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริสต์ 14.5%, ฮินดู 4%, ไม่นบั ถือศาสนา 25%
วนั ชาติ : วนั ท่ี 9 สิงหาคม
การเมืองการปกครอง สิงคโปร์ : ปกครองแบบสาธารณรัฐ มีรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข และมี
นายกรัฐมนตรีเป็นหวั หนา้ รัฐบาล รัฐสภาวาระคราวละ 5
พืน้ ท่ี : 697.1 ตารางกิโลเมตร
ประชากร : มีจานวนประมาณ 5,469,700 คน ประกอบดว้ ยชาวจีน 75%, มาเลย์ 15%, อินเดีย 10%
ภาษา : ภาษาราชการ มี 4 ภาษาดว้ ยกนั คอื ภาษาองั กฤษ ภาษามลายู ภาษาจีนแมนดาริน และภาษาทมิฬ
อาหารประจาชาติ สิงคโปร์ : ลกั ซา (Laksa) อาหารยอดนิยมของสิงคโปร์ เป็นก๋วยเต๋ียวตม้ ยา (ใส่กะทิ) ลกั ษณะ
คลา้ ยขา้ วซอยของไทย น้าแกงเขม้ ขน้ ดว้ ยรสชาติของกะทิ กงุ้ แหง้ และพริก โรยหนา้ ดว้ ยกงุ้ ตม้ หอยแครง
สัตว์ประจาชาติ สิงคโปร์ : สิงโต ซ่ึงเป็นที่มาของช่ือประเทศ มาจากคาวา่ สิงหปุระ (Singapura) เป็นภาษา
สนั สกฤต
สกลุ เงิน สิงคโปร์ : ดอลลา่ ร์สิงคโปร์
วนั ท่เี ข้าร่วมอาเซียน : 8 สิงหาคม 1967 เป็น 1 ใน 5 ประเทศในการก่อต้งั สมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้
ดอกไม้ประจาชาติ : ดอกกลว้ ยไมแ้ วนดา้ (Vanda Miss Joaquim)

9. ข้อมูล ประเทศเวยี ดนาม (VIETNAM)

เมืองหลวง เวียดนาม : กรุงฮานอย
ศาสนา : ศาสนาพุทธ นิกายมหายานสูงถึงร้อยละ 70 ของจานวนประชากร ร้อยละ 15 นบั ถือศาสนาคริสต์ ที่
เหลือนบั ถือลทั ธิขงจ้ือ มุสลิม
วนั ชาติ : วนั ท่ี 2 กนั ยายน
การเมืองการปกครอง เวียดนาม : ระบอบสงั คมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสตเ์ ป็นพรรคการเมืองเดียว
พืน้ ท่ี : 331,689 ตารางกิโลเมตร
ประชากร : 89,693,000 คน
ภาษา : ภาษาเวยี ดนาม เป็นภาษาราชการ
อาหารประจาชาติ เวยี ดนาม : : แหนม หรือ ปอเปี๊ ยะเวียดนาม เป็นอาหารยอดนิยมของเวยี ดนาม หน่ึงในอาหาร
พ้ืนเมืองท่ีโด่งดงั ที่สุด
ของประเทศแผน่ แป้งทาจากขา้ วจา้ ว นามาห่อไส้ ซ่ึงอาจเป็นไก่ หมู กงุ้ หรือหมูยอ รวมกบั ผกั ที่มีสรรพคุณ
เป็ นยานานาชนิด
สัตว์ประจาชาติ เวียดนาม : กระบือ
สกลุ เงิน เวยี ดนาม : ด่ง (Dong)
วนั ที่เข้าร่วมอาเซียน : วนั ที่ 28 มกราคม 1995
ดอกไม้ประจาชาติ : ดอกบวั (Lotus)

10. ข้อมูล ประเทศไทย (THAILAND)

เมืองหลวง ไทย: กรุงเทพมหานคร
ศาสนา : พทุ ธ 93.83%, อิสลาม 4.56%, คริสต์ 0.80%, ฮินดู 0.086%, ลทั ธิขงจื๊อ 0.011% และอื่นๆ 0.079% และ
มีประชากรที่ไม่นบั ถือศาสนาและไม่ทราบศาสนา 0.27% และ 0.36%
วนั ชาติ : วนั ท่ี 5 ธนั วาคม
การเมืองการปกครอง ไทย: ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
พืน้ ท่ี : 513,115.02 ตารางกิโลเมตร
ประชากร : 65,124,716 คน
ภาษา : ภาษาไทย เป็นภาษาราชการ
อาหารประจาชาติ ไทย: ตม้ ยากงุ้ (Tom Yam Goong), ส้มตา
สัตว์ประจาชาติ ไทย: ชา้ ง ถือเป็นสตั วค์ ู่บา้ นคู่เมืองและมีความสาคญั เกี่ยวขอ้ งกบั สถาบนั หลกั ของประเทศ
สกลุ เงิน ไทย : บาท (Baht)
วนั ท่เี ข้าร่วมอาเซียน : 8 สิงหาคม 1967 เป็น 1 ใน 5 ประเทศในการก่อต้งั สมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้
ดอกไม้ประจาชาติ : ดอกราชพฤกษ์ (Ratchaphruek)


Click to View FlipBook Version