The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by minkop00112233, 2021-09-30 22:34:52

Presentation1

Presentation1

การเรยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรด์ ว้ ย

ภาษาซี
บรรยายเสรฺมการทางานของ
AR โปรแกรมผา่ นเทคโนโลยี
+QR AP
อา่ นง่าย....
มีตวั อยา่ งผา่ นการทดสอบ
ชดั เจน อธิบายทกุ บรรทดั

มีการยกตวั อย่างไปประ
ยคุ ตใ์ ชใ้ นงานต่างๆ

แนะนาโปรแกรม SCILAB
แกป้ ัญหาทางวศิ วกรรมขนั้
พนื้ ฐาน

ผูจ้ ดั ทา

นาย พทุ ธิพงษ์ บญุ แกว้ เลขท่ี7 ชนั้ 6/3

ภาษาซี

ภาษา C เป็นภาษาคอมพวิ เตอร์เพอื่
วตั ถุประสงคท์ วั่ ไป เป็นภาษาที่มีความจาเป็นมาก
มนั สนบั สนุนการเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้าง
การกาหนดขอบเขตของตวั แปร และการเรียกใช้
ตวั เอง (Recusion) และมนั เป็นภาษาท่ีอยใู่ น
ระดบั ต่า (Low level) นน่ั คือ มนั เป็นภาษาท่ี
สามารถทางานไดด้ ีในระดบั ของฮาร์ดแวร์ ภาษา
C เป็นสามารถท่ีออกแบบมาใหส้ ามารถท่ีจะ
ทางานกบั คาสั่งพ้ืนฐานของคอมพิวเตอร์ไดอ้ ยา่ ง
มีประสิทธิภาพ เพราะฉะน้นั มนั จึงถูกพบบ่อยใน
การใชส้ ร้างแอพพลิเคชนั ในสมยั ก่อนท่ีเขยี นโดย
ภาษาแอสเซมบลี รวมถึงระบบประฏิบตั ิการ
เช่นเดียวกนั กบั ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ตส์ าหรับ
คอมพวิ เตอร์ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ และระบบฝัง
ตวั

ภาษา C น้นั ถูกพฒั นาคร้ังแรกโดย Dennis
Ritchie ในระหวา่ งปี 1969 และ 1973 ที่
Bell Labs และใชส้ าหรับพฒั นาและ
ปรับปรุงระบบปฏิการ Unix ใหม่ ต้งั แต่น้นั มนั
ไดม้ าเป็นภาษาท่ีมีการใชง้ านอยา่ งกวา้ งขวางมาก
ท่ีสุดตลอดเวลา ที่มากบั C คอมไพเลอร์จาก
บริษทั พฒั นาตา่ งๆ สาหรับพฒั นาใน
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตั ิการ
ที่ไดร้ ับความนิยมเป็นจานวนมาก ภาษา C ได้
ถูกกาหนดมาตฐานโดย American

National Standards
Institute (ANSI) ต้งั แต่ปี 1989 และ

International Organization
for Standardization (ISO) ใน
เวลาต่อมา

ภาษา C เป็นภาษาท่ีมีรูปแบบการเขียน

โปรแกรมเป็นแบบลาดบั (Imperative

procedural) ใหถ้ ูกออกแบบให้
คอมไพลอ์ ยา่ งตรงไปตรงมากบั คอมไพเลอร์ที่มี
ความเก่ียวขอ้ ง เพอ่ื ใหส้ ามารถเขา้ ถึงการจดั การ
หน่วยความจาในระดบั ต่า และทาใหโ้ ครงสร้าง
ของภาษาเช่ือมโยงกบั คาส่ังการทางานของ
คอมพวิ เตอร์อยา่ งมีประสิทธิภาพ ดงั น้นั ภาษา
C จึงมีประโยชนก์ บั การพฒั นาแอพพลิเคชนั ที่
เคยเขียนโดยภาษา Assembly ยกตวั อยา่ ง
เช่น โปรแกรมระบบ

ถึงแมว้ า่ ภาษา C มีความสามารถใน Low-
level แต่มนั ยงั ถูกออกแบบเพื่อช่วยให้
สามารถเขียนโปรแกรมแบบ Cross-
platform โคด้ ของโปรแกรมที่เขียนข้ึน
จากมาตรฐานของภาษา C น้นั สามารถนาไป
คอมไพลไ์ ดใ้ นคอมพิวเตอร์ในแพลตฟอร์มและ
ระบบปฏิบตั ิการท่ีหลากหลายโดยเพียงแค่

เปลี่ยนแปลงโคด้ เพียงเลก็ นอ้ ย ภาษา C น้นั
สามารถใชไ้ ดอ้ ยา่ งกวา้ งขวางในแพลตฟอร์ม

ขนาดตา่ งๆ ต้งั แต่ Embedded
microcontrollers ไปจนถึง
Supercomputerหลงั จากคุณเรียนจบ
บทเรียนน้ี คุณจะเขา้ ใจพ้นื ฐานและโครงสร้าง

ของภาษา C ไดด้ ีข้ึนอ รวมถึงแนวคิดและวธิ ีใน
การเขียนโปรแกรม และสามารถสร้างโปรแกรม
อยา่ งง่ายไปจนถึงโปรแกรมที่มีความซบั ซอ้ นได้
โดยคุณสามารถที่จะนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ
เขียนโปรแกรมภาษาอื่นอีกหลายๆ ภาษาได้

เพราะวา่ ภาษาส่วนมากน้นั สร้างมากจากภาษา C
เช่น ภาษา C++ ภาษา Java และภาษา
PHP ดงั น้นั ในการที่คุณเริ่มตน้ เรียนรู้จาก
ภาษา C คุณจะไดเ้ ปรียบมากกวา่ และมนั จะงา่ ย
สาหรับคุณในการเขียนรู้การเขียนโปรแกรมใน

ภาษาอื่นต่อไป


Click to View FlipBook Version