The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปการดำเนินงานโคก(ไตร1-2) ปีงบฯ 65
โดย นายชาญณรงค์ จิรขจรกุล
นักทรัพยากรบุคคล ศพช.ลำปาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by channarong.56op, 2022-04-24 23:15:38

สรุปการดำเนินงานโคก(ไตร1-2)

สรุปการดำเนินงานโคก(ไตร1-2) ปีงบฯ 65
โดย นายชาญณรงค์ จิรขจรกุล
นักทรัพยากรบุคคล ศพช.ลำปาง

รายงานสรุปผลการดาเนินงาน

โครงการพัฒนาสมรรถนะวทิ ยากรฐานเรยี นรูใ้ นพื้นทีต่ ้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ
ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง

ระหวา่ งเดือน พฤศจกิ ายน 2564 ถึง มีนาคม 2565 (ไตรมาส 1 – 2)

……………………….

นายชาญณรงค์ จริ ขจรกุล นักทรพั ยากรบุคคล

กรมการพัฒนาชุมชน กาหนดแผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565) ภายใต้วสิ ัยทัศน์
“เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี 2565” โดยส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรูแ้ ละการมี
ส่วนรว่ มของชุมชน มุ่งเน้นการเป็นกลไกสาคัญในการเสรมิ สรา้ งชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน และพัฒนา
เศรษฐกิจฐานรากให้ม่ันคงตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท้ังน้ี เพื่อขับเคล่ือนงานให้บรรลุวสิ ัยทัศน์
จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี 9 ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ
ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ในพ้ืนท่ีของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ให้มีศักยภาพ
ในการรองรบั การฝึกอบรมและสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง และมีการจา้ งแรงงาน
เพ่ือลดผลกระทบจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมการพัฒนาชุมชน ได้จัดทาโครงการพัฒนาสมรรถนะวทิ ยากรฐาน
เรยี นรใู้ นพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” โดยการ
จา้ งแรงงานรายเดือน ๆ ละ 3 คน ในอัตราคนละ 9,000 บาท/เดือน เป็นระยะเวลา 5 เดือน ในไตรมาส 1 – 2
(เดือนพฤศจกิ ายน 2564 ถึง เดือนมีนาคม 2565) โดยให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนดาเนินการในการจา้ ง
ผู้รบั จา้ ง ซง่ึ ผรู้ บั จา้ งได้รบั การพัฒนาสมรรถนะวทิ ยากรฐานเรยี นรโู้ ดยการปฏิบตั ิงานในพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ทาหน้าที่พัฒนาฐานเรยี นรู้ ได้แก่ ฐาน
กสิกรรมธรรมชาติ ฐานหัวคันนาทองคา การขุดคลองไส้ไก่ งานปลูกไม้ 5 ระดับ การห่มดิน การดู แลพ้ืนท่ี
ต้นแบบให้เป็นไปตามแบบมาตรฐาน “โคก หนอง นา โมเดล” การทาความสะอาดและปรบั ปรุงฐานเรยี นรูใ้ ห้
พรอ้ มรองรบั สาหรบั ผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมในการศึกดูงานและฝกึ ปฏิบตั ิจรงิ และการฝกึ และพัฒนาตนเองในการ
เป็นวทิ ยากรฐานเรยี นรู้

ดังนั้น เพื่อให้เกิดความต่อเน่ืองในการจา้ งงาน สรา้ งรายได้ให้แก่ผู้ตกงานในชว่ งสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สถาบันการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและ
พฒั นาชุมชนลาปางดาเนินการโครงการพฒั นาสมรรถนะวทิ ยากรฐานเรยี นรูใ้ นพื้นที่ต้นแบบการพฒั นาคุณภาพ
ชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

วัตถุประสงค์
1. เพอ่ื พฒั นาทักษะผู้รบั จา้ งในการเปน็ วทิ ยากร
2. เพ่ือสรา้ งงานสรา้ งรายได้ให้แก่ผู้ตกงานในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19)
3. เพื่อให้ผู้รบั จา้ งได้พัฒนาสมรรถนะวทิ ยากรฐานเรยี นรู้ มีความรูด้ ้านการบรหิ ารจัดการพ้ืนท่ีท่ีส่งผล
ต่อการสรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้ และการสรา้ งงานทเี่ ปน็ มติ รกับส่ิงแวดล้อมเพือ่ รบั มอื การเปลย่ี นแปลงของสภาพ
ภมู อิ ากาศ

การดาเนินการ
การพัฒนาสมรรถนะผู้รบั จ้างในการเป็นวทิ ยากรฐานเรยี นรู้ การสรา้ งงานสรา้ งรายได้แก่ผู้ตกงา น
ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการจา้ งงานรายเดือน
ๆ ละ 3 คน ในอัตราคนละ 9,000 บาท/เดือน เป็นระยะเวลา 5 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย
ผู้รบั จา้ งรายเดิม หรอื ประชาชน ผู้ตกงาน และผู้ท่ีได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในพืน้ ที่รอบศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง
สถานที่ดาเนินการ
พ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
ศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง
ระยะเวลาดาเนินการ
ดาเนินการไตรมาสที่ 1 – 2 (ระหวา่ งวนั ท่ี 15 พฤศจกิ ายน 2564 ถึง วันท่ี 31 มีนาคม 2565)
งบประมาณดาเนินการ
งบประมาณ 135,000 บาท

ผลการดาเนินการ

ผูร้ บั จา้ งจานวน 3 ราย ได้แก่

1. นายสมพร พมิ สอน

2. นายนพิ ิชฌน์ธร จนั ทรธ์ นเู ดช (ลาออก 4 มี.ค. 65)

3. นางสาวปราณปรยี า อนิ ผกู (ลาออก 18 ม.ี ค. 65)

การปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง

นา โมเดล” ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง คือ

- ปฏิบตั ิหน้าท่ใี นการดูแล รดน้า พรวนดิน สวน ต้นไม้ พรอ้ มทั้งใส่ปุ๋ยบารุงต้นไม้

- ดูแลรกั ษาแปลงพนื้ ทต่ี ้นแบบฯ ให้เป็นไปตามแบบมาตรฐาน “โคก หนอง นา โมเดล”

- ดูแลทาความสะอาด และปรบั ปรุงฐานการเรยี นรูใ้ ห้พรอ้ มรองรบั สาหรบั การฝึกอบรม

(ฐานเรยี นรูฅ้ นรกั ษ์แมธ่ รณี, ฐานเรยี นรูฅ้ นรกั ษ์แมธ่ รณี)

- การถ่ายทอดความรูใ้ นการปฏิบัติงาน คนละ 2 งาน

ซงึ่ มกี ารดาเนินงาน ดังน้ี

1. การแนะนาตัว/ชี้แจงวัตถุประสงค์/ชี้แจงการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการสรา้ งบรรยากาศ สรา้ ง

ความค้นุ เคย และการแบง่ โซนพ้ืนที่รบั ผิดชอบรวมถึงการเก็บเก่ียวผลผลิต

การดูแลพื้นท่ีโซนรบั ผิดชอบ การดูแลพ้ืนท่ี ความสะอาด รกั ษา บารุง ต่อยอด (ประโยชน์

สูง ประหยดั สุด ศิลปะงามตา)

หนองน้า 1 , 2 , 3 , 4

- การดูแลกล้าแฝก , ตะไคร้

- หัวคันนารอบหนองน้า (ต้นไม้ , การห่มดิน)

- พืช บาบดั นา้ (ผักตับชวา)

- ปลา (แซนด์วชิ ปลา , อาหารลดรายจา่ ย)

- การกาจดั วัชพืชนา้

แปลงนา 1 , 2 , 3 , 4

- หัวคันนารอบหนองน้า (ต้นไม้ , การห่มดิน)

- การปลกู ข้าวพชื เมอื ง , ขา้ วพระราชทาน

- การฟ้ ืนฟบู ารุงดิน (หมักดองดิน)
- ปรบั ปรงุ แปลงนา (รอ่ งคันนา , หัวคันนา)
- การปลกู พืชหลังการเก็บเก่ียว (อนุรกั ษ์ดิน พชื ตระกูลถั่ว , พชื ตามฤดูกาล , การห่มดิน)

พนื้ ท่รี าบ
- การตัดหญ้า ดูแลต้นไม้ ห่มดิน
- การเก็บเก่ียวผลผลติ และต่อยอด ขยายพนั ธุ์
หมายเหตุ อาจมีการปลูกพชื หรอื การทากิจกรรมอืน่ ๆ ตามความเหมาะสม
2. ศึกษาพื้นที่ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง โดยการเดินเรยี นรู้และแนะนาโซนท่ี
รบั ผิดชอบในพ้นื ทตี่ ้นแบบฯ ซง่ึ มีการแบง่ หน้าที่รบั ผิดชอบในแต่ละโซน 3 โซนดังนี้

โซนงานพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล
การดูแลพน้ื ที่
- แปลงนา 1 และ 2
- หนองนา้ 1, 2 และ 3
- พน้ื ทร่ี าบทว่ั ไป
- พ้นื ที่ซุม้ ไม้เรอ้ ื ย
โซนความสวยงามด้านหน้า พื้นท่ีสะพาน พื้นท่ีป้ายโครงการ พ้ืนท่ีบ้านดิน พื้นที่และต้นไม้
รมิ คลองไส้ไก่และหลุมขนมครก(ปรบั ปรุง)

โซนงานอานวยการ
การดูแลพืน้ ที่
- แปลงนา 3 และ 4
- หนองน้า 4
- พืน้ ทร่ี าบทั่วไป
- พน้ื ที่ซุม้ ไม้เรอ้ ื ย
โซนพ้ืนท่ีต้นมะลิ พ้ืนท่ีต้นอโวคาโด้ พื้นที่โกโก้ พ้ืนที่ต้นกล้วย พ้ืนท่ีต้นฝรง่ั พื้นท่ีต้นมะเขือ,พรกิ
พ้ืนท่ีและต้นไม้รมิ คลองไส้ไก่และหลุมขนมครก(ปรบั ปรุง) ต้นไม้บรเิ วณพื้นที่ทั้งหมด เช่น ต้นกล้วย
ต้นยางนา ต้นเงาะโรงเรยี น

โซนงานวชิ าการ
การดูแลพ้นื ที่
- พืน้ ที่ราบท่วั ไป
- พน้ื ทซี่ ุม้ ไม้เรอ้ ื ย
โซนพื้นที่ต้ นกล้วยหอมทอง พื้นท่ีเนินวงกลม(ต้ นไม้ตามฤดู) พื้นที่ต้ นแคนา พื้นที่ต้ น
ดอกเก๊กฮวย พน้ื ท่แี ละต้นไมร้ มิ คลองไส้ไก่และหลุมขนมครก(ปรบั ปรงุ ) ต้นไมบ้ รเิ วณพนื้ ท่ที ้งั หมด

3. การวางแผนการดาเนินงาน ช่วงแรกจัดให้มีการ

พูดคุยสัปดาห์ละครง้ั (พฤศจกิ ายน-ธนั วาคม 2564) โดยเป็น

การทบทวนการดาเนินงานในแต่ละสัปดาห์ ข้อขัดข้อง/ปัญหา

การแก้ไข ข้อเสนอแนะ รวมถึงการวางแผนการดาเนินงานใน

สัปดาห์ถัดไป(การสรปุ งานนาเขา้ ทปี่ ระชุมประจาเดือน) ชว่ งหลัง

(มกราคม-มีนาคม 2565) วางแผนการดาเนินและมอบหมาย

ภารกิจเป็นรายเดือน ยกเว้นมีภารกิจเรง่ เดือนก็จะมีการนัด

หมายพูดคยุ กันเพื่อวางแผนการดาเนนิ งานเปน็ ครง้ั ๆ ไป

4. ดาเนินการตามภารกิจท่ีได้รบั หมายมาย หากมีข้อ

ติดขดั ก็จะมีการแจง้ ผ่านกล่มุ ไลน์หรอื การโทรติดต่อเพอื่ แจง้ ข้อ

ปัญหา ซงึ่ การดาเนินงานตามภารกิจได้แบง่ ไว้ ดังนี้

1 ) ก า ร ด า เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ ท่ี ไ ด้ รับ

มอบหมายในโซนพื้นท่ีทร่ี บั ผิดชอบ

2) การดาเนินงานตามกิจกรรมการ “เอาม้ือ

สามัคคี” เช่น กิจกรรมดานา เก่ียวข้าว ปลูกแฝก/ห่ม ดิ น

กิจกรรมหมักดองดิน/ปลกู ถ่ัวบารุงดิน กิจกรรมแซนด์วชิ ปลา เปน็ ต้น

3) การดาเนินงานตามภารกิจเรง่ ด่วน อื่น ๆ เช่น การเตรยี มพ้ืนท่ีเตรยี มความพรอ้ มการ

ตรวจเยย่ี มของผู้บรหิ าร การแก้ไขปญั หาน้าเนา่ เสีย(หนองนา้ ) เปน็ ต้น

5. กิจกรรมการเข้ารว่ มกระบวนการเรยี นรูก้ ารฝึกปฏิบัติฐานเรยี นรู้ 10 ฐาน ศพช.ลาปาง โดยทั้ง

3 ราย ได้รบั มอบหมายให้รบั ผิดชอบ 2 ฐานเรยี นรู้ คือ ฐานเรยี นรู้ฅนรกั ษ์แม่ธรณี และ ฐานเรยี นรูฅ้ นรกั ษ์

แม่ธรณี และการเตรยี มพรอ้ มวัสดุฐานเรยี นรูเ้ พื่อการใช้งานในพ้ืนที่ต้นแบบฯ ได้แก่ การทาปุ๋ยหมักแห้ง

แบบด่วน การทานา้ หมักชวี ภาพรสจดื เป็นต้น

6. การถ่ายทอดองค์ความรูใ้ นการปฏิบัติงาน คนละ 2 งาน ซ่งึ ผู้รบั จ้างได้มีการนาเสนอหัวข้อเรอ่ ื ง

ก่อนการถ่ายทดองค์ความรู้ และมีการดาเนินการเขียนสครปิ ตามแบบฟอรม์ ท่ีทางเจ้าหน้าที่ผู้รบั ผิดชอบ

ได้ออกแบบไว้ ดังน้ี

1. นายสมพร พมิ สอน

ถ่ายทอดองค์ความรูเ้ รอ่ ื งการทาปยุ๋ แห้งแบบด่วนและนา้ หมกั ชวี ภาพรสจดื

2. นายนิพชิ ฌน์ธร จนั ทรธ์ นูเดช (ลาออก 4 มี.ค. 65)

ถ่ายทอดองค์ความรูเ้ รอ่ ื งทาแปลงปลูกผกั อยา่ งงา่ ยและการห่มดิน (แห้งชาม นา้ ชาม)

3. นางสาวปราณปรยี า อนิ ผูก (ลาออก 18 มี.ค. 65)

ถ่ายทอดองค์ความรูเ้ รอ่ ื งปยุ๋ หมกั แห้งอนิ ทรยี ์ สูตรมลู สัตว์และการห่มดิน (แห้งชาม น้าชาม)

ปัจจยั ท่ีทาให้กิจกรรมสาเรจ็
1. มกี ารประชุมการเตรยี มความพรอ้ ม กาหนดแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม
2. มีพ้ืนที่/สถานท่ที ี่พรอ้ มสาหรบั การเรยี นรูแ้ ละการปฏิบตั ิงาน
3. การประสานงานพูดคุยอยา่ งต่อเนือ่ งระหว่างผรู้ บั ผดิ ชอบละเจา้ หน้าท่ี
4. การมีส่วนรว่ มของผู้รบั จา้ งต่อกิจกรรมต่าง ๆ ภายใน ศพช.ลาปาง

ปัญหาอุปสรรค
1. วัสดุ/อุปกรณ์ ไม่เพยี งพอ (สายยาง สปรงิ เกอร)์ เน่ืองจากชารุดได้งา่ ย
2. ภารกิจของผู้รบั ผิดชอบ(จนท.ศพช.) การถ่ายทอดองค์ความรูใ้ ห้กับ นพต.พนื้ ท่ีฯได้นอ้ ย

3. เนื่องจากสภาพดินในพื้นที่ฯยังไม่สามารถกักเก็บน้าได้ และยังขาดความชุ่มชน้ื จงึ ยังต้องใชก้ าร
บรหิ ารจดั การนา้ ในรูปแบบต่างๆ

4. สภาพดินขาดแรธ่ าตุในการเจรญิ เติบโตของต้นไม้ ส่งผลการเจรญิ เติบโตของต้นไม้ได้ช้า และ
การทาเกษตรยังต้องรอการฟ้ ืนฟบู ารุงดินอีกมาก
ข้อเสนอแนะ

1. ควรสนับสนุนงบประมาณ , วัสดุ อุปกรณ์ ในการบรหิ ารจดั การพฒั นาพ้นื ท่อี ย่างต่อเนอ่ื ง
2. เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของโครงการฯ ควรสรรหาบุคลากรท่ีปฏิบัติหน้าท่ีเฉพาะด้านการพฒั นา
พน้ื ทต่ี ้นแบบฯเพือ่ ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด
3. ควรให้ ศพช.ลาปาง เป็นจุดฝึกอบรมแบบ onsite ท่ีเก่ียวข้องกับงานพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบฯ
โคก หนอง นา ให้ต่อเน่อื ง เพ่อื ให้ผเู้ ข้าอบรมฯ ได้รว่ มพฒั นาพื้นทผ่ี ่านกิจกรรมฝึกอบรม(เอาม้ือสามคั คี)

ภาพกิจกรรม
“การเตรยี มความพรอ้ ม, การแบง่ พื้นทร่ี บั ผิดชอบและมอบหมายภารกิจ”

“การประชุมทีมชแี้ จงการดาเนินงานประจาเดือน”

ภาพประกอบกิจกรรม
“การดาเนินงานในพ้ืนที่ต้นแบบฯ”
“การเรยี นรูแ้ ละถ่ายทอดองค์ความรูใ้ ห้กับผู้จา้ งงาน”

“กิจกรรมการมีส่วนรว่ มและงานตามภารกิจ”

“แบบฟอรม์ สครปิ การถ่ายทอดความรูใ้ นการปฏิบัติงาน”

ภาพประกอบกิจกรรม
“การถอดองค์ความรูใ้ นการปฏิบัติงาน”

ภาคผนวก

การถ่ายทอดองค์ความรใู้ นการปฏิบัติงาน
โครงการพัฒนาสมรรถนะวทิ ยากรฐานเรยี นรู้ ในพ้ืนทต่ี ้นแบบ
การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา พช.

ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง

แนะนาตัว นายสมพร พิมสอน

กิจกรรมที่ทา นา้ หมักชวี ภาพ (รสจดื )

ความเป็นมา จากการได้ทางานในพื้นท่ีต้นแบบฯ โคก หนอง นา ศพช.ลาปาง นั้น ในการดูแลต้นไม้

พชื ผัก ต้องใชด้ ินท่ีมธี าตุอาหารเพือ่ ชว่ ยในการเจรญิ เติบโต และได้เรยี นรูก้ ารห่มดิน ทสี่ รา้ งธาตุอาหารให้กับ

ดินและต้นไม้ ซง่ึ ในกระบวนการห่มดิน มีการใส่ปุ๋ยหมกั ชวี ภาพ และน้าหมักชวี ภาพ

การทาปุ๋ยหมักแห้งแบบด่วน ไว้ใชเ้ องโดยที่ไม่พึ่งพาสารเคมีทาให้เรามั่นใจได้ว่าปุ๋ยที่เราใส่บารุง

พืชผักท่ีเราปลูกจะปลอดภัย นอกจากนี้การใส่ปุ๋ยหมักชวี ภาพไว้ใชเ้ องยังเป็นกิจกรรมยามว่างรว่ มกันภายใน

ครอบครวั หรอื ในชุมชนได้อีกด้วย การทาปุย๋ โดยมีหลักการคือ “เล้ยี งดิน ให้ดินเลี้ยงพืช”

อุปกรณ์ท่ีใช้ ดังนี้

1. มีด (สาหรบั หั่นต้นกลว้ ย)

2. ถังน้า (มฝี าปิดและล็อคได้)

3. ไม้พาย

วัสดุท่ีใช้ ดังนี้

1. ต้นกล้วย 3 กิโลกรมั

2. นา้ ตาลทรายแดงหรอื กากน้าตาล 1 กิโลกรมั

3. น้า 10 ลิตร

กระบวนการข้ันตอน/วธิ กี ารทา (การเก็บรกั ษา) อัตราส่วนท่ีทา 3 : 1 : 10

1. เรม่ ิ ด้วยการห่ันต้นกลว้ ยให้เปน็ ชน้ิ เล็กๆ ขนาดประมาณลูกเต๋า

2. นาน้าตาลทรายแดงหรอื กากนา้ ตาลผสมน้าเพ่ือทาการละลาย

3. นาต้นกลว้ ยทหี่ ่ันแล้วและนา้ ตาลทรายแดงหรอื กากนา้ ตาลผสมนา้ ใส่ในถังนา้ ทีเ่ ตรยี มไว้

4. นาน้าสะอาดใส่ลงไป โดยให้เหลอื พนื้ ทว่ี ่างด้านบน เพอื่ ให้มชี อ่ งว่างสาหรบั การเกิดแก๊ส

5. คนวสั ดุในถังหมกั ให้เขา้ กัน โดยคนไปในทิศทางเดียวกัน

6. ปดิ ฝาถังหมักให้สนิทและทิ้งไวป้ ระมาณ 3 เดือน (90 วนั ) ก่อนนามาใช้

การใชป้ ระโยชน์/ประโยชน์ท่ีได้รบั

1. ฟ้ ืนฟู ปรบั ปรุง บารงุ ดิน (อตั ราส่วน 1:200)

2. สาหรบั ล้างพิษในดิน

3. เพม่ิ จุลนิ ทรยี ใ์ ห้กับดิน

4. ดับกลนิ่ , ไล่แมลงวนั (โรงเรอื นเลยี้ งสัตว์ , ห้องน้า เปน็ ต้น)

ข้อแนะนา

วัสดุที่ใช้นอกจากเป็นต้นกล้วยแล้ว สามารถใช้พืชท่ีมีรสจืดอ่ืนๆได้ เช่น ผักบุ้ง ย่านาง
ผกั ตบชวา เปน็ ต้น

การนาไปใชป้ ระโยชน์ควรใชก้ ารผสมตามอัตราส่วนในการใชง้ านให้เหมาะสม เนื่องจากน้า
หมกั 100% จะมคี วามเข้มขน้ สูงอาจทาให้พืชตายได้(ใชฆ้ ่าหญ้าได้)

***************************

แผนการถ่ายทอดองค์ความ
โครงการพัฒนาสมรรถนะวทิ ยากรฐ
การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีให

ณ ศูนยศ์ ึกษาและพัฒน

โดย นายสมพร พ

วันที่/เวลา กิจกรรม/หัวข้อ เน้ือหา/วธิ กี าร/เทคนิค
18 ม.ี ค. 65 (ผนู้ าเสนอเตรยี มความพรอ้ ม สถานท่ี วัสดุ/อุปกรณ์
น้ า ห มั ก ชี ว ภ า พ 1. ผู้นาเสนอแนะนาตนเอง และชแ้ี จงกิจกรรมท่ีดา
( ร ส จื ด ) เปน็ มา
2. ผู้นาเสนอแนะนาวัสดุ/อปุ กรณ์ในการทากิจกรรมน
วัตถุประสงค์ 3. ผู้นาเสนออธบิ ายขนั้ ตอน/วธิ กี ารทา โดยการลงมอื
เ พื่ อ น า เ ส น อ ก า ร 4. ผ้นู าเสนอบอกถึงประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากการทากิจกร
ถ่ า ย ท อ ด อ ง ค์ 5. ผนู้ าเสนอบอกเทคนิค ขอ้ ควรระวัง ข้อแนะนา
ความรู้ กระบวนการ 6. แลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ ับผู้เข้ารว่ ม

ข้ันตอนวธิ กี าร “น้า
หมักชีวภาพ (รส
จดื )”

มรูใ้ นการปฏิบัติงาน
ฐานเรยี นรู้ ในพ้ืนที่ต้นแบบ
หม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา พช.

นาชมุ ชนลาปาง
พิมสอน

ในการนาเสนอ/สาธติ ) วัสดุ อุปกรณ์ หมายเหตุ
าเนินการนาเสนอ/ความ 1. มูลสัตว์ 1 กระสอบ นาเสนอพื้นท่ีฐานเรยี นรู้
2. แกลบ เศษใบไม้ หรอื ซงั น้ า ห มั ก รั ก ษ์ โ ล ก ณ
นา้ หมกั ชวี ภาพ (รสจดื ) ขา้ วโพด 1 กระสอบ ศพช.ลาปาง
อปฏิบตั ิ(สาธติ ) 3. ข้เี ถ้าแกลบ/แกลบดา
รรม 4. ราละเอียด 1 กระสอบ
( ก า ร ท า ปุ๋ ย ค า นึ ง ถึ ง ต้ น ทุ น
ถ้ า ใ น พื้ น ท่ี ข า ย ร า ล ะ เ อี ย ด
แพงอาจลดปรมิ าณลงได้)
5. น้าหมักรสจดื 1 ลติ ร
6. นา้ สะอาด 10 ลติ ร

การถ่ายทอดองค์ความรใู้ นการปฏิบัติงาน
โครงการพฒั นาสมรรถนะวทิ ยากรฐานเรยี นรู้ ในพนื้ ทตี่ ้นแบบ
การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา พช.

ณ ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง

แนะนาตัว นายสมพร พิมสอน

กิจกรรมท่ีทา ปยุ๋ หมักแห้งแบบด่วน

ความเป็นมา จากการได้ทางานในพ้ืนท่ีต้นแบบฯ โคก หนอง นา ศพช.ลาปาง นัน้ ในการดูแลต้นไม้ พชื ผกั ต้องใช้

ดินที่มีธาตุอาหารเพ่ือช่วยในการเจรญิ เติบโต และได้เรยี นรูก้ ารห่มดิน ท่ีสรา้ งธาตุอาหารให้กับดินและต้นไม้ ซึง่ ใน

กระบวนการห่มดิน มีการใส่ปยุ๋ หมักชวี ภาพ และน้าหมกั ชวี ภาพ

การทาปุ๋ยหมักแห้งแบบด่วน ไว้ใชเ้ องโดยท่ีไม่พ่ึงพาสารเคมีทาให้เราม่ันใจได้ว่าปุ๋ยท่ีเราใส่บารุงพืชผักที่เรา

ปลูกจะปลอดภัย นอกจากนี้การใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพไว้ใช้เองยังเป็นกิจกรรมยามว่างรว่ มกันภายในครอบครวั หรอื

ในชุมชนได้อีกด้วย การทาป๋ยุ โดยมหี ลกั การคือ “เลี้ยงดิน ให้ดินเลยี้ งพืช”

อุปกรณ์ที่ใช้ ดังน้ี

1. พล่ัว 2 ด้าม

2. บวั รดน้า 1-2 ใบ

3. กระสอบ (สาหรบั ใส่ปุ๋ย)

4. ถังนา้ (สาหรบั ผสมน้าหมัก)

วัสดุที่ใช้ ดังนี้

1. ปุ๋ยคอก

2. แกลบดดิบ

3. แกลบดา

4. ราละเอียด

กระบวนการขั้นตอน/วธิ กี ารทา (การเก็บรกั ษา)

1. นาปุ๋ยคอก เทเป็นทางยาวประมาณ 2 เมตร จากนั้นนาแกลบดิบ แกลบดา และ ราละเอียด

จากนั้นมาเทซอ้ นด้านบนเปน็ ชนั้ (อัตราส่วน 1 : 1)

2. ทาการผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน (ในข้ันตอนการลงมือสาธิต ใช้การมีส่วนร่วมโดยเชิญชวน

ผู้เข้ารว่ ม จานวน 2 คน เพ่ือทาการคลุกเคล้ากองปุ๋ยหมัก ซง่ึ ใชพ้ ลั่วถือคนละด้าม และอยู่คนละฝ่ ังกองปุ๋ย จากกนั้น

สอดพลวั่ ใต้กองปยุ๋ ให้ชนกันและทาการพลิกกองปยุ๋ )

3. นานา้ หมักรสจดื มาผสมกับนา้ สะอาด (อัตราส่วน 1 : 50 ลิตร)

4. นานา้ หมกั รสจดื ที่ผสมกับนา้ สะอาดแล้ว รดบรเิ วนกองปยุ๋ ให้ทัว่ และทาการคลุกเคลา้

5. วัดความชน้ื ท่ีเหมาะสม ด้วยการหยิบขึ้นมากาบบี ให้แน่นให้มนี ้าไหลจากงา่ มมอื เล็กน้อย และเมื่อ

คลายมือออกจะได้เปน็ ก้อน หรอื อาจแตกออกเปน็ 2-3 ส่วน (ความชนื้ ประมาณท่ี 35%)

6. ตักปุ๋ยใส่กระสอบ โดยใส่ 3 ใน 4 ส่วนของกระสอบไม่ต้องกระแทกให้แน่น มัดกระสอบโดยใช้
เชอื ก จดั เก็บไว้ในท่ีรม่ โดยวางกระสอบในแนวนอน

7. การจดั เก็บให้เรยี งกระสอบให้ห่างจากกันโดยมีชอ่ งห่างพอสมควร เพื่อให้การระบายความรอ้ น
ได้ดี

8. กลบั กระสอบในทกุ 3-4 วัน เพอื่ การระบายความรอ้ นให้ทว่ั ทุกด้าน
9. การใชง้ านหลงั จากทิง้ ไว้ประมาณ 1 เดือน หรอื จนกว่าปุย๋ เย็นตัว

การใชป้ ระโยชน์/ประโยชน์ท่ีได้รบั

1. ลดต้นทุนการซอ้ื ปยุ๋
2. ใชว้ สั ดุในพ้นื ที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
3. ชว่ ยย่อยสลายวสั ดุในการห่มดิน
4. เป็นปุ๋ยบารุงดิน สรา้ งธาตุอาหารให้กับดิน

ข้อแนะนา
1. กระสอบทีใ่ ชใ้ ส่ปยุ๋ ต้องระบายอากาศได้

2. การใชเ้ พ่อื การบารงุ ดิน อตั ราส่วนทใี่ ช้ 500 กิโลกรมั ต่อ 1 ไร่
3. การทาปยุ๋ คานงึ ถึงต้นทุนถ้าในพื้นท่ขี ายราละเอียดแพงอาจลดปรมิ าณลงได้)

**************************

แผนการถ่ายทอดองค์ค

โครงการพัฒนาสมรรถนะวทิ ยา

การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษ

ณ ศูนย์ศึกษาและพ

โดย นายสม

วันท่ี/เวลา กิจกรรม/หัวข้อ เน้ือหา/วธิ กี าร/เทคนิค
18 มี.ค. 65 (ผู้นาเสนอเตรยี มความพรอ้ ม สถานที่ วัสดุ
ปุ๋ ย ห มั ก แ ห้ ง สาธติ )
แ บ บ ด่ ว น 1. ผู้นาเสนอแนะนาตนเอง และช้ีแจงกิจกร
ความเปน็ มา
วัตถุประสงค์ 2. ผู้นาเสนอแนะนาวัสดุ/อุปกรณ์ในการทา
เพื่อนาเสนอกา ร อินทรยี ์ สูตรมูลสัตว์
ถ่ า ย ท อ ด อ ง ค์ 3. ผูน้ าเสนออธบิ ายข้นั ตอน/วธิ กี ารทา โดยกา
ค ว า ม รู้ ในขน้ั ตอนการลงมือสาธติ ใชก้ ารมีส่วนรว่ มโด
กระบวนการ 2 คน เพ่ือทาการคลุกเคล้ากองปุ๋ยหมัก ซงึ่ ใช
ขั้ น ต อ น ว ิธี ก า ร คนละฝ่ ังกองปุ๋ย จากกนั้นสอดพลั่วใต้กองปุ๋ย
กองป๋ยุ
“ ปุ๋ ย ห มั ก แ ห้ ง 4. ผ้นู าเสนอบอกถึงประโยชน์ที่ได้รบั จากการท
แบบด่วน” 5. ผู้นาเสนอบอกเทคนคิ ข้อควรระวัง ในระหว
6. แลกเปล่ยี นเรยี นรูก้ ับผเู้ ข้ารว่ ม

ความรใู้ นการปฏิบัติงาน
ากรฐานเรยี นรู้ ในพื้นทีต่ ้นแบบ
ษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา พช.
พัฒนาชุมชนลาปาง

มพร พิมสอน

วัสดุ อุปกรณ์ หมายเหตุ
น า เ ส น อ พ้ื น ท่ี ฐ า น
ด/อุปกรณ์ ในการนาเสนอ/ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ ดังน้ี เรยี นรูฅ้ นรกั ษ์แม่ธรณี
ณ ศพช.ลาปาง
รรมท่ีดาเนินการนาเสนอ/ 1. พลว่ั 2 ด้าม
ก า ร พ ลิ ก ปุ๋ ย ท า ต้ั ง แ ต่
า กิ จ กร ร ม กา ร ปุ๋ ย ห มั กแ ห้ ง 2. บวั รดน้า 1-2 ใบ ต้ น ก อ ง จ น สุ ด ป ล า ย
ก อ ง แ ล้ ว ย้ อ น ก ลั บ
ารลงมือปฏิบตั ิ(สาธติ ) 3. กระสอบ (สาหรบั ใส่ป๋ยุ ) เชน่ นไี้ ปมาจนส่วนผสม
ดยเชญิ ชวนผเู้ ข้ารว่ ม จานวน เข้ากัน
ชพ้ ลั่วถือคนละด้าม และอยู่ 4. ถังน้า (สาหรบั ผสมน้า

ยให้ชนกันและทาการพลิก หมกั )

ทากิจกรรม วัสดุที่ใช้ ดังน้ี
วา่ งปฏิบัติ
1. ปยุ๋ คอก

2. แกลบดดิบ

3. แกลบดา

4. ราละเอยี ด

การถ่ายทอดองค์ความรูใ้ นการปฏิบตั ิงาน
โครงการพัฒนาสมรรถนะวทิ ยากรฐานเรยี นรู้ ในพ้ืนทต่ี ้นแบบ
การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา พช.

ณ ศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง

แนะนาตัว น.ส.ปราณปรยี า อินผูก

กิจกรรมท่ีทา ปยุ๋ หมักแห้งอินทรยี ์ สูตรมลู สัตว์

ความเป็นมา ปุ๋ยหมักแห้งอินทรยี ์ เป็นส่วนหนึ่งในข้ันตอนการ ห่มดิน ซึง่ สามารถผลิตเองได้ง่ายและวัสดุที่ใชก้ ็

สามารถหาได้ง่ายในท้องถ่ิน รวมถึงขน้ั ตอนการทาทีไ่ ม่ย่งุ ยาก

การ “ห่มดิน” หรอื “คลุมดิน” โดยใชฟ้ าง เศษหญา้ หรอื ใบไม้ทส่ี ามารถยอ่ ยสลายได้เองตามธรรมชาติและใส่

อาหารให้แก่ดิน ด้วยการใส่ปุ๋ยอินทรยี ์ชีวภาพลงไป เพื่อให้อาหารแก่ดินแล้วดินจะปล่อยธาตุอาหารให้พืช โดย

กระบวนการยอ่ ยสลายของจุลินทรยี เ์ รยี กหลกั การนีว้ า่ “เลี้ยงดิน ให้ดินเลี้ยงพืช”

วัสดุ/อุปกรณ์ (อัตราส่วนผสมวัตถุดิบ คือ 1 : 1 : 1 : 1)

1. มูลสัตว์ 1 กระสอบ

2. แกลบ เศษใบไม้ หรอื ซงั ขา้ วโพด 1 กระสอบ

3. ข้ีเถ้าแกลบ/แกลบดา

4. ราละเอียด 1 กระสอบ (การทาปุ๋ยคานึงถึงต้นทุนถ้าในพ้ืนที่ขายราละเอียดแพงอาจ

ลดปรมิ าณลงได้)

5. นา้ หมกั รสจดื 1 ลติ ร

6. น้าสะอาด 10 ลติ ร

กระบวนการขั้นตอน/วธิ กี ารทา (การเก็บรกั ษา)

1. นามูลสัตว์ แกลบ ขี้เถ้าแกลบ และราละเอียด มาผสมคลุกเคล้าให้เป็นเนื้อเดียวกัน (อัตราส่วน

1 : 1)

2. นานา้ หมกั รสจดื มาผสมกับน้าสะอาด (อตั ราส่วน 1 : 10 ลิตร)

3. นาน้าหมกั รสจดื ทีผ่ สมกับน้าสะอาดแล้ว รดบรเิ วนกองปยุ๋ ให้ท่ัว และทาการคลุกเคลา้

4. วัดความชนื้ ท่ีเหมาะสม ด้วยการหยิบข้ึนมากาบบี ให้แน่นให้มีน้าไหลจากง่ามมือเล็กน้อย และเมื่อ

คลายมือออกจะได้เป็นก้อน หรอื อาจแตกออกเปน็ 2-3 ส่วน (ความชนื้ ประมาณที่ 35%)

5. ตักปุ๋ยใส่กระสอบ โดยใส่ 3 ใน 4 ส่วนของกระสอบไม่ต้องกระแทกให้แน่น มัดกระสอบโดยใช้

เชอื ก จดั เก็บไวม้ นท่ีรม่

6. การจดั เก็บให้เรยี งกระสอบให้ห่างจากกันโดยมีช่องห่างพอสมควร เพื่อให้การระบายความรอ้ น

ได้ดี

7. กลบั กระสอบในทุก 3-4 วนั เพื่อการระบายความรอ้ นให้ท่ัวทกุ ด้าน

8. การใชง้ านหลงั จากท้งิ ไว้ประมาณ 1 เดือน หรอื จนกว่าปุ๋ยเย็นตัว

การใชป้ ระโยชน์/ประโยชน์ท่ีได้รบั

1. ลดต้นทนุ การซอื้ ปุย๋
2. ใชว้ สั ดุในพ้นื ทใี่ ห้เกิดประโยชนส์ ูงสุด
3. ชว่ ยย่อยสลายวัสดุในการห่มดิน
4. เปน็ ปุย๋ บารุงดิน สรา้ งธาตุอาหารให้กับดิน

ข้อแนะนา

1. ขั้นตอนการใชป้ ุ๋ยสามารถใชต้ ้ังแต่การเตรยี มดิน โดยคลุกเคล้ากับดินในแปลงท่ีต้องการ จากนั้น
ทาการ “ห่มดิน” ท้งิ ไว้ 7 วนั ก่อนการปลกู พืช(กรณีท่ีเปน็ นาข้าว พืชไร่ แปลงผกั )

2. การใชเ้ พอ่ื การบารงุ ดิน อตั ราส่วนที่ใช้ 500 กิโลกรมั ต่อ 1 ไร่
3. การทาปุ๋ยคานงึ ถึงต้นทนุ ถ้าในพน้ื ที่ขายราละเอียดแพงอาจลดปรมิ าณลงได้)

*************************

แผนการถ่ายทอดองค์ความ

โครงการพัฒนาสมรรถนะวทิ ยากรฐ

การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีให

ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒน

โดย น.ส.ปราณปร

วันที่/เวลา กิจกรรม/หัวข้อ เน้ือหา/วธิ กี าร/เทคนิค
18 มี.ค. 65 (ผูน้ าเสนอเตรยี มความพรอ้ ม สถานท่ี วัสดุ/อุปกรณ์
ปุ๋ ย ห มั ก แ ห้ ง 1. ผู้นาเสนอแนะนาตนเอง และช้แี จงกิจกรรมท่ีดา
อิ น ท ร ยี ์ สู ต ร มู ล เปน็ มา
สัตว์ 2. ผู้นาเสนอแนะนาวัสดุ/อุปกรณ์ในการทากิจกรรม
สูตรมลู สัตว์
วัตถุประสงค์ 3. ผู้นาเสนออธบิ ายขน้ั ตอน/วธิ กี ารทา โดยการลงมือ
เ พ่ื อ น า เ ส น อ ก า ร 4. ผู้นาเสนอบอกถึงประโยชนท์ ่ีได้รบั จากการทากิจกร
ถ่ า ย ท อ ด อ ง ค์ 5. ผนู้ าเสนอบอกเทคนิค ข้อควรระวงั ในระหว่างปฏิบ
ความรู้ กระบวนการ 6. แลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ ับผูเ้ ข้ารว่ ม
ข้ันตอนวธิ กี าร “ปุ๋ย
ห มั ก แ ห้ ง อิ น ท ร ยี ์
สูตรมลู สัตว์”

มรใู้ นการปฏิบัติงาน
ฐานเรยี นรู้ ในพ้ืนทตี่ ้นแบบ
หม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา พช.
นาชุมชนลาปาง

รยี า อินผูก

ในการนาเสนอ/สาธติ ) วัสดุ อุปกรณ์ หมายเหตุ
าเนินการนาเสนอ/ความ 1. มูลสัตว์ 1 กระสอบ น า เ ส น อ พื้ น ท่ี ฐ า น
2. แกลบ เศษใบไม้ หรอื ซงั เรยี นรู้ฅนรักษ์แม่ธรณี
การปุ๋ยหมักแห้งอินทรยี ์ ขา้ วโพด 1 กระสอบ ณ ศพช.ลาปาง
3. ข้เี ถ้าแกลบ/แกลบดา
อปฏิบตั ิ(สาธติ ) 4. ราละเอียด 1 กระสอบ
รรม ( ก า ร ท า ปุ๋ ย ค า นึ ง ถึ ง ต้ น ทุ น
บตั ิ ถ้ า ใ น พ้ื น ท่ี ข า ย ร า ล ะ เ อี ย ด
แพงอาจลดปรมิ าณลงได้)
5. น้าหมกั รสจดื 1 ลิตร
6. นา้ สะอาด 10 ลิตร

การถ่ายทอดองค์ความรูใ้ นการปฏิบัติงาน
โครงการพัฒนาสมรรถนะวทิ ยากรฐานเรยี นรู้ ในพ้นื ทตี่ ้นแบบ
การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา พช.

ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง

แนะนาตัว น.ส.ปราณปรยี า อินผูก

กิจกรรมท่ีทา การห่มดิน

ความเป็นมา ดิน เป็นทรพั ยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อส่ิงมีชวี ติ เพราะคนเราใชท้ รพั ยากรดินเป็นทั้ง

ที่อยู่อาศัย เป็นแหล่งสรา้ งอาหาร เครอ่ ื งนุ่งห่ม และยารกั ษาโรค แถมยังใช้เป็นแหล่งกักเก็บน้าเพ่ือการอุปโภค

จงึ กล่าวได้ว่า ดินเป็นทรพั ยากรขั้นมูลฐาน เป็นตัวการให้มนุษย์เก็บเก่ียวผลประโยชน์จากทรพั ยากรอ่ืนๆ ได้เพิ่มมาก

ขึน้ อยา่ งมหาศาล

การเกษตรที่ไม่ทาลายธรรมชาติ ไม่ทาลายดิน ไม่ใช้สารเคมีเป็นอันตรายต่อดินและให้ความสาคัญกับการ

ปรบั ปรงุ ดิน เป็นหัวใจสาคัญทจ่ี ะรกั ษาดินเอาไว้ได้

การ “ห่มดิน” หรอื “คลุมดิน” โดยใชฟ้ าง เศษหญ้า หรอื ใบไมท้ ่สี ามารถยอ่ ยสลายได้เองตามธรรมชาติและใส่

อาหารให้แก่ดิน ด้วยการใส่ปุ๋ยอินทรยี ์ชีวภาพลงไป เพ่ือให้อาหารแก่ดินแล้วดินจะปล่อยธาตุอาหารให้พืช

โดยกระบวนการยอ่ ยสลายของจุลนิ ทรยี ์เรยี กหลักการนว้ี า่ “เลี้ยงดิน ให้ดินเลี้ยงพืช”

วัสดุ/อุปกรณ์

1. ฟาง , ใบไม้(แห้ง) หรอื เศษวัสดุธรรมชาติทย่ี อ่ ยสลายได้งา่ ย

2. ป๋ยุ หมกั ชวี ภาพ หรอื ปยุ๋ คอก (แห้งชาม)

3. นา้ หมักชวี ภาพรสจดื (นา้ ชาม)

กระบวนการข้ันตอน/วธิ กี ารทา (การเก็บรกั ษา)

1. เลอื กพืน้ ที่ท่ีจะทาการห่มดิน

2. ใชฟ้ าง , ใบไม้(แห้ง) หรอื เศษวัสดุธรรมชาติที่ย่อยสลายได้ง่าย ห่มดินบรเิ วณที่เลือก โดยให้ทา

การห่มดินสูงจากดินประมาณ 1 ฝ่ามือ(แนวตั้ง) ห่มดินให้เต็มพื้นที่ ยกเว้นหากเป็นบรเิ วณท่ีมีต้นไม้ พืชผัก ให้เว้น

บรเิ วณโคนต้นไม้ ประมาณ 1 คืบ

3. นาปุ๋ยหมักชวี ภาพ หรอื ปุ๋ยคอก โรยให้ท่วั บรเิ วณท่ีทาการห่มดิน กระบวนการนีเ้ รยี กว่า “แห้งชาม”

4. นาน้าหมักชวี ภาพรสจืดท่ีผสมน้าตามอัตราส่วนท่ีต้องการแล้ว รดให้ทั่วบรเิ วณที่ทาการห่มดิน

กระบวนการน้ีเรบี กว่า “นา้ ชาม” (อตั ราส่วนในการผสม 1:50 สาหรบั ทาปุย๋ หมักชวี ภาพหรอื การรดน้าบารงุ ดินบรเิ วณท่ี

ไมม่ ีต้นไม้ , 1:200 สาหรบั การการรดน้าบารงุ ดินทมี่ ีการปลูกต้นไม้)

การใชป้ ระโยชน์/ประโยชน์ที่ได้รบั

1. เก็บรกั ษาความชน้ื

2. เปน็ แหล่งที่อยู่อาศัยของจุลินทรยี ์

3. เป็นแหล่งอาหารให้กับสัตว์หน้าดิน เชน่ กิ้งกือ จง้ิ หรดี ไส้เดือน ฯลฯ ซง่ึ ชว่ ยในการพรวนดินและ

ขับถ่ายมลู เป็นป๋ยุ ให้กับพืช

4. เม่อื ย่อยสลายจะกลายเป็นฮิวมสั ซง่ึ เป็นป๋ยุ ให้กับพืช

ประโยชน์ของจุลินทรยี ์

1. ชว่ ยในการตรงึ ไนโตรเจนจากอากาศ (อากาศมไี นโตรเจนอยู่ 78%)
2. ชว่ ยยอ่ ยสลายซากพชื ซากสัตว์
3. ชว่ ยย่อยแรธ่ าตุทีอ่ ยใู่ นหิน ลกู รงั ทราย เชน่ ธาตุอาหารกลมุ่ เหลก็ แมงกานสี สังกะสี ฟอสฟอรสั
เป็นต้น
4. ชว่ ยผลิตฮอรโ์ มนให้พืช
5. ชว่ ยผลิตสารป้องกันโรคพชื

สรุป/ทบทวน การห่มดินทาได้งา่ ยๆ “ประหยัด เอาธรรมชาติมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์)

***********************

แผนการถ่ายทอดองค์ความ

โครงการพัฒนาสมรรถนะวทิ ยากรฐ

การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีให

ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒน

โดย น.ส.ปราณปร

วันที่/เวลา กิจกรรม/หัวข้อ เนื้อหา/วธิ กี าร/เทคนิค
18 ม.ี ค. 65 (ผูน้ าเสนอเตรยี มความพรอ้ ม สถานที่ วัสดุ/อปุ กรณ์
ก า ร ห่ ม ดิ น 1. ผู้นาเสนอแนะนาตนเอง และชี้แจงกิจกรรมที่ดา
เปน็ มา
วัตถุประสงค์ 2. ผนู้ าเสนอแนะนาวัสดุ/อุปกรณ์ในการทากิจกรรมก
เ พื่ อ น า เ ส น อ ก า ร 3. ผูน้ าเสนออธบิ ายขนั้ ตอน/วธิ กี ารทา โดยการลงมอื
ถ่ า ย ท อ ด อ ง ค์ 4. ผ้นู าเสนอบอกเทคนคิ ข้อควรระวัง ในระหว่างปฏิบ
ความรู้ กระบวนการ 5. ผู้นาเสนอบอกถึงประโยชน์ที่ได้รบั จากการทากิจกร
ขั้นตอนวธิ กี าร “ห่ม 6. แลกเปล่ยี นเรยี นรูก้ ับผู้เข้ารว่ ม
ดิน”

มรใู้ นการปฏิบัติงาน
ฐานเรยี นรู้ ในพื้นทต่ี ้นแบบ
หม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา พช.
นาชุมชนลาปาง

รยี า อนิ ผกู

ในการนาเสนอ/สาธติ ) วัสดุ อุปกรณ์ หมายเหตุ
าเนินการนาเสนอ/ความ 1. ฟาง , ใบไม้(แห้ง) หรอื น า เ ส น อ พ้ื น ท่ี ฐ า น
เศษวัสดุธรรม ชาติ ที่ ย่อย เรยี นรู้ฅนรักษ์แม่ธรณี
การห่มดิน สลายได้ง่าย ณ ศพช.ลาปาง
อปฏิบตั ิ(สาธติ ) 2. ปุ๋ยหมักชีวภาพ หรอื ปุ๋ย
บัติ คอก (แห้งชาม)
รรม 3. น้าหมักชวี ภาพรสจดื (น้า
ชาม)


Click to View FlipBook Version