The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปาลิตา รูปสม, 2019-11-28 08:58:26

บทที่1

บทที่1

เทคโนโลยี หมายถงึ ความรทู ้ างวทิ ยาศาสตร ์ซงึ่ ใชใ้ นการผลติ
สนิ คา้ หรอื บรกิ ารหรอื หากจะกลา่ วถงึ เทคโนโลยขี นั้ สงู ทอ่ี งคก์ ารธรุ กจิ ได ้

นามาใชใ้ นการผลติ สนิ คา้ หรอื บรกิ าร เชน่ มกี ารนาเอาระบบคอมพวิ เตอร ์
มาใชใ้ นงานอตุ สาหกรรมการการผลติ นอกจากนีย้ งั เกยี่ วกบั การ
ตดิ ตอ่ สอื่ สารทางโทรคมนาคมเทคโนโลยพี นื้ ฐานแบบไรส้ าย (wireless) หรอื
ในทางการแพทย ์ เชน่ การทดสอบ ดเี อ็นเอ (DNA) และการคน้ พบตวั ยา

ใหม่ ๆ เป็ นตน้ (วเิ ชยี ร วทิ ยอุ ดุ ม, 2558, หนา้ 138 เทคโนโลยยี งั เป็ น
ตวั เชอ่ื มทน่ี าเอาความรู ้ ประสบการณแ์ ละความชานาญ เครอ่ื งมอื
เครอ่ื งจกั ร อปุ กรณท์ างดา้ นการผลติ และอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร ์ รวมไปถงึ
การกระจายสนิ คา้ และบรกิ ารเขา้ ดว้ ยกนั (Garenth, Jennifer & Charles,
1998, p. 57)

ความหมายและความสาคญั ของสานกั งานสมยั ใหม่

สานักงาน (office) คอื สถานทที่ าการของรฐั วสิ าหกจิ หรอื บรษิ ทั หา้ งรา้ น
ตวั อย่างสานักงาน เชน่ สานกั งานใหญธ่ นาคาร สานกั งานทนายความ สานักงานสลากกนิ
แบง่ สานักงานบญั ชี สานกั งานกฎหมาย หรอื สานักงานในบา้ น (home office) เป็ นตน้
“เป็ นสถานทซ่ี งึ่ มขี อ้ มูลกาลงั ปฏบิ ตั งิ าน” (Keeling & Kallaus, 1996, p. 3)
สานกั งานยงั เกยี่ วขอ้ งกบั องคก์ ารใน 2 ลกั ษณะ คอื ดา้ นสถานที่ และดา้ นการปฏบิ ตั งิ านใน
องคก์ ารความสาคญั ของการบรหิ ารสานักงานสมยั ใหม่สานกั งานถอื ไดว้ า่ เป็ นศูนยร์ วมใน
การปฏบิ ตั งิ านของพนักงานนอกจากผูบ้ รหิ ารตอ้ งบรหิ ารจดั การทรพั ยากรมนุษยท์ ง้ั หมด
ขององคก์ ารแลว้ ทสี่ าคญั ยงั ตอ้ งมกี ารบรหิ ารสานกั งานในภาพรวมใหส้ ามารถดาเนินงาน
ไดอ้ ยา่ งปกติ ซง่ึ อาจมที ง้ั ผบู้ รหิ ารระดบั สูงระดบั กลาง ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร มาชว่ ยบรหิ าร
จดั การ เพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านในองคก์ ารเกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุดและบรรลตุ ามวตั ถุประสงค ์
ขององคก์ าร (เนตรพ์ ณั ณา ยาวริ าช, 2560, หนา้ 2)

ขอบเขตของงานสานักงานได ้ ดงั นี้

1. เกย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรมขององคก์ าร โดยเป็ นศนู ยก์ ลางของขอ้ มูลขา่ วสาร การบรหิ าร
จดั การ การจดั สนิ ใจ การสง่ั การ การควบคุม และการตดิ ตาม
2. เป็ นสว่ นทส่ี าคญั ในการดาเนินการดา้ นต่าง ๆ เพอื่ ใหอ้ งคก์ ารสามารถอยู่รอด มคี วาม
ม่นั คง เจรญิ เตบิ โต ชว่ ยสรา้ งภาพพจนท์ ดี่ ใี หก้ บั องคก์ าร
3. สานักงานนอกเหนือจะเป็ นศนู ยก์ ลางของขอ้ มูลขา่ วสารแลว้ ยงั เป็ นศนู ยก์ ลางในการ
ตดิ ต่อสอ่ื สาร หากมปี ญั หาในการปฏบิ ตั งิ านสามารถมาตดิ ต่อเพอ่ื ประสานงานกบั
หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งได ้
4. เป็ นแหล่งรวบรวมขอ้ มูลขา่ วสาร เพอ่ื ประโยชนใ์ นการใชข้ อ้ มูล สนับสนุนการ
ตดั สนิ ใจ และชว่ ยในการวางแผนการดาเนินงานเพอื่ ใหบ้ รรลเุ ป้ าหมาย
5. ชว่ ยสนับสนุนการทางานของสายงานหลกั ทกุ ๆ งาน เชน่ การเงนิ การบญั ชี การ
จดั ซอื้ การบรหิ าร เป็ นตน้ ลว้ นแลว้ แต่ตอ้ งใชข้ อ้ มูลสนบั สนุน เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงาน
หน่วยงานหลกั สามารถพฒั นางาน หรอื ดาเนินงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ขอบเขตของงานสานักงานได ้ ดงั นี้ (ตอ่ )

6. งานของสานักงานเป็ นส่วนหนึ่งทช่ี ว่ ยใหอ้ งคก์ ารไดร้ บั การยอมรบั สรา้ งความ
น่าเชอื่ ถอื สรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี กี บั สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอก
7. สานักงานเป็ นศูนยก์ ลางของการดาเนินงาน
8. สานกั งานจดั ตง้ั เพอ่ื ประโยชนใ์ นการแขง่ ขนั ทางธรุ กจิ เพอ่ื ใหอ้ ย่ใู นสถานะ
ไดเ้ ปรยี บคู่แขง่ ขนั ไม่วา่ จะเป็ นการบรกิ าร การตดิ ต่อสอ่ื สาร และการอานวยความ
สะดวกทเี่ หนือกวา่ คู่แขง่ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารสานักงานสะทอ้ นต่อเป่ าหมาย
ขององคก์ าร (เนตรพ์ ณั ณา ยาวริ าช, 2559, หนา้ 4)
9. การนาเทคโนโลยสี ารสนเทศต่าง ๆ เขา้ มาใชง้ านในสานักงาน ชว่ ยใหก้ ารทางาน
มปี ระสทิ ธภิ าพ และเป็ นภาพลกั ษณท์ ดี่ ใี หก้ บั องคก์ าร
10. งานดา้ นอาคารสถานทแ่ี ละภมู ทิ ศั น์

เนตรพ์ ณั ณา ยาวริ าช, 2559, หนา้ 4)

แนวคดิ การจดั การสานกั งานสมยั ใหม่

การจดั โครงสรา้ งองคก์ ารในปัจจบุ นั มปี จั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งในหลายประการ ดงั นี้ (ชนงกรณ์
กุณฑลบตุ ร, 2560, หนา้ 93-94)
1. การจดั องคก์ ารโดยมุ่งเนน้ การบรหิ ารดา้ นระบบสารสนเทศ (organizing to manage
information)
2. การจดั องคก์ ารทมี่ ุ่งตอบสนองความตอ้ งการของผูบ้ รโิ ภค (organizing for customer
responsiveness) องคก์ ารจงึ มุ่งเนน้ ไปทกี่ ารบรหิ ารลูกคา้ สมั พนั ธ ์ (customer
relationship management: CRM) หมายถงึ เป็ นกลยทุ ธท์ างธรุ กจิ เพอื่ สรา้ ง
ความสมั พนั ธร์ ะยะยาวกบั ลกู คา้ เป็ นการวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมและเรยี นรูค้ วามตอ้ งการท่ี
แตกตา่ งกนั ของลกู คา้ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ ดว้ ยสนิ คา้ หรอื บรกิ ารอย่าง
เหมาะสม ในปัจจบุ นั มกี ารนาบกิ๊ ดาตา้ (big data) รวมเขา้ กบั ระบบซอี ารเ์อ็ม โดยมี
เป้ าหมายเพอื่ ใหบ้ รกิ ารแกล่ กู คา้ ซง่ึ อาศยั ขอ้ มูลจากการวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมของลกู คา้ และ
การคาดการณพ์ ฤตกิ รรม นอกจากนีบ้ กิ๊ ดาตา้ ยงั เป็ นแหล่งในการจดั เก็บขอ้ มูลขนาดใหญ่
องคก์ ารสามารถนาขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทถ่ี ูกเก็บไวใ้ นบกิ๊ ดาตา้ มาใชว้ เิ คราะหเ์ พอ่ื นาขอ้ มูลทไี่ ดไ้ ป
ชว่ ยสนบั สนุนการตดั สนิ ใจทางธรุ กจิ เป้ าหมายของการทา

หนา้ ทพ่ี นื้ ฐานทางการจดั การ ประกอบไปดว้ ยกระบวนการจดั การ ดงั นี้

1. การวางแผน (planning)
2. การจดั องคก์ าร (organizing)
3. การจดั บคุ คลเขา้ ทางาน (staffing)
4. การชกั นา (leading)
5. การควบคุม (controlling)

การวางแผนทรพั ยากรในสานักงานสมยั ใหม่

บรหิ ารทรพั ยากรในสานกั งานใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
ความมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล สามารถแบ่งไดเ้ ป็ น 4 สว่ น ดงั นี้
(เนตรพ์ ณั ณา ยาวริ าช, 2560, หนา้ 5)
1. ความไม่มปี ระสทิ ธภิ าพและไม่ประสทิ ธผิ ล หมายถงึ การบรหิ ารทรพั ยากรไม่สาเรจ็ ตาม
เป้ าหมาย และสูญเสยี ทรพั ยากรไปโดยเปลา่ ประโยชน์ ไดผ้ ลงานอยู่บา้ งแตไ่ ม่เป็ นไปตามที่
กาหนดไว ้
2. ความไม่มปี ระสทิ ธภิ าพแตม่ ปี ระสทิ ธผิ ล หมายถงึ การบรหิ ารทรพั ยากรไดส้ าเรจ็ ตาม
เป้ าหมายทก่ี าหนด โดยสญู เสยี ทรพั ยากรมาก
3. ความมปี ระสทิ ธภิ าพแต่ไม่ประสทิ ธผิ ล หมายถงึ การบรหิ ารทรพั ยากรไม่สาเรจ็ ตาม
เป้ าหมายทก่ี าหนด แต่ไม่สญู เสยี ทรพั ยากร
4. ความมปี ระสทิ ธภิ าพและมปี ระสทิ ธผิ ล หมายถงึ การบรหิ ารทรพั ยากรสาเรจ็ ตาม
เป้ าหมายทกี่ าหนด และใชท้ รพั ยากรไดอ้ ย่างเหมาะสมและประหยดั
องคป์ ระกอบและลกั ษณะของสานกั งานสมยั ใหม่

องคป์ ระกอบพนื้ ฐานได ้ 5 ประเด็น ดงั นี้

1. บุคลากร
2. กระบวนการปฏบิ ตั งิ าน
3. เอกสาร ขอ้ มูล สารสนเทศ
4. เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
5. สภาพแวดลอ้ มในการทางาน

ลกั ษณะทส่ี าคญั ของสานักงานสมยั ใหม่ อธบิ ายไดด้ งั นี้

1. ผูบ้ รหิ ารและพนักงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
2. สานกั งานมรี ะบบการสบื คน้ ทท่ี นั สมยั
3. มกี ารวางแผนระบบแฟ้ มขอ้ มูลอตั โนมตั ิ
4. ผูบ้ รหิ ารควรใหก้ ารสนับสนุนกบั พนักงานในการใชร้ ะบบสานกั งานสมยั ใหม่
5. มซี อฟตแ์ วรต์ า่ ง ๆ ทใ่ี ชง้ านงา่ ย และเป็ นมาตรฐานเดยี วกนั ทงั้ องคก์ าร
6. สานกั งานจงึ จาเป็ นตอ้ งมอี ปุ กรณส์ านกั งานตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็ นมาตรฐาน
7. ระบบตา่ ง ๆ ทใี่ ชใ้ นสานกั งาน จะตอ้ งมคี วามพรอ้ ม
8. มบี ุคลกรทมี่ คี วามรูใ้ นดา้ นเทคโนโลยี หรอื นกั พฒั นาระบบอย่ใู นองคก์ าร
ปัจจยั แหง่ ความสาเรจ็ ของการบรหิ ารสานกั งานสมยั ใหม่

ปัจจยั แหง่ ความสาเรจ็ ของการบรหิ ารสานักงานสมยั ใหม่อธบิ ายได ้ ดงั นี้

1. ความมุ่งม่นั ของผูบ้ รหิ าร
2. ความสามารถและความรว่ มมอื ของบุคลากร
3. วฒั นธรรมองคก์ าร


Click to View FlipBook Version