The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปาลิตา รูปสม, 2019-11-28 08:57:40

บทที่2

บทที่2

การเป็ นผนู้ าสมยั ใหม่

บทบาทของผนู้ าเป็ นสงิ่ ทสี่ าคญั และมอี ทิ ธพิ ลเป็ นอยา่ งมากในการ
เป็ นตน้ แบบพฤตกิ รรมของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา

ภาวะผูน้ า หมายถงึ ลกั ษณะสว่ นตวั ของบคุ คลทแ่ี สดงพฤตกิ รรม
ออกมาเมอ่ื ไดม้ ปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั กลมุ่ ซงึ่ เป็ นความสามารถทเ่ี กดิ ขนึ้ ในระหวา่ ง
การทางานรว่ มกนั กบั ผูอ้ น่ื หรอื อาจอยรู่ ว่ มเหตกุ ารณเ์ ดยี วกนั โดยมี
จดุ มงุ่ หมายใหก้ ารดาเนินกจิ กรรมนั้น

การจดั การการเปลย่ี นแปลง

สาเหตขุ องการเปลยี่ นแปลงอธบิ ายได ้ ดงั นี้
1. เทคโนโลยมี กี ารเปลย่ี นแปลง
2. สรา้ งภาพลกั ษณท์ ดี่ ตี อ่ องคก์ าร
3. การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งหรอื ตาแหน่งหนา้ ทง่ี าน
4. แรงกดดนั ทเ่ี กดิ จากสภาพแวดลอ้ มภายนอกโดยเฉพาะคแู่ ขง่

การเปลย่ี นแปลงมกั เกย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งทส่ี าคญั ๆ ดงั นี้

1.องคป์ ระกอบดา้ นโครงสรา้ ง
2.องคป์ ระกอบดา้ นบุคคล
3.องคป์ ระกอบดา้ นเทคโนโลยี

(เนตรพ์ ณั ณา ยาวริ าช, 2560, หนา้ 239)

สาเหตทุ กี่ อ่ ใหเ้ กดิ การตอ่ ตา้ นการเปลยี่ นแปลงสรปุ ได ้ ดงั นี้

1.ความรสู ้ กึ ยดึ ตดิ กบั สงิ่ ทเ่ี คยทา
2.ไมต่ อ้ งการเปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ
3.ระยะเวลาในการเปลยี่ นแปลงสนั้
4.แรงกดดนั จากเพอ่ื นรว่ มงาน
5.ความเสย่ี งทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการเปลย่ี นแปลง
6.ความรสู ้ กึ สญู เสยี การควบคมุ และการปรบั ตวั
7.ขาดความเต็มใจในการเรยี นรู ้
8.ความเชอื่ วา่ การเปลยี่ นแปลงเป็ นการลงทนุ ทสี่ ญู เสยี

(เนตรพ์ ณั ณา ยาวริ าช, 2560, หนา้ 239)

วธิ ตี อ่ การจดั การการเปลยี่ นแปลงมี ดงั นี้

1. การใหค้ วามรแู ้ ละการสอ่ื สารทด่ี แี กพ่ นักงาน (education and
communication)
2. การใหม้ สี ว่ นรว่ มหรอื เขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง (participation and
involvement)
3. การอานวยความสะดวกและสนับสนุน (facilitation and support)
4. การเจรจาตอ่ รองและการใหร้ างวลั (negotiation and rewards)
5. การใชก้ ลวธิ กี ารเอามาเป็ นพวก (manipulation and cooptation)
6. การบงั คบั (coercive)

(เนตรพ์ ณั ณา ยาวริ าช, 2560, หนา้ 244-245)

โมเดลของแผนการเปลย่ี นแปลงไว ้ 3 ระยะ ดงั นี้

1. ระยะกอ่ นการเปลย่ี นแปลง (unfreezing) คอื ขน้ั ตอนการเตรยี มไปสูก่ าร
เปลย่ี นแปลง สมาชกิ ใน องคก์ ารทจ่ี ะไดร้ บั ผลกระทบตอ้ งทราบถงึ ความตอ้ งการที่
จะเปลยี่ นแปลง และจะตอ้ งถกู จงู ใจใหย้ อมรบั กบั การเปลย่ี นแปลทเ่ี กดิ ขนึ้
2. ระยะดาเนินการเปลยี่ นแปลง (changing or moving) เป็ นกระบวนการเรยี นรู ้
พฤตกิ รรมใหม่ เพอ่ื นาไปสู่พฤตกิ รรมองคก์ ารทพ่ี งึ ปรารถนา โดยผา่ นวธิ กี ารต่าง ๆ
เชน่ การสรา้ งคา่ นิยม ทศั นคตใิ หม่ การสอนงาน การพฒั นา ฝึ กอบรม การสาธติ
และการวจิ ยั เป็ นตน้
3. ระยะการเปลย่ี นแปลงใหม่ (refreezing) เป็ นชว่ งทพี่ ฤตกิ รรมทไ่ี ดเ้ รยี นรูใ้ หม่อยตู่ วั
จงึ ตอ้ งมกี ารเสรมิ แรงโดยการจดั ทาเป็ นระบบมาตรฐาน และกระตนุ้ จงู ใจใหบ้ ุคคล
ปฏบิ ตั อิ ย่างตอ่ เน่ือง เพอ่ื ใหอ้ งคก์ ารเกดิ การเปลย่ี นแปลงทมี่ น่ั คง สามารถปรบั ตวั ให ้
เขา้ กบั สถานการณน์ ัน้ ๆ ได ้

(Kurt Lewin, 1957 อา้ งถงึ ใน วเิ ชยี ร วทิ ยอดุ ม, 2556, หนา้ 254)

การเปลยี่ นแปลงจะประสบความสาเรจ็ ไดค้ วรมอี งคป์ ระกอบดงั นี้

1. ความตอ้ งการการเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ จากการทอ่ี งคก์ ารและสมาชกิ ในองคก์ ารไม่
พอใจกบั สภาพต่าง ๆ ทเ่ี ป็ นอยู่
2. แนวความคดิ ในการเปลย่ี นแปลงทสี่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ
3. การยอมรบั ทจ่ี ะใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง ซง่ึ รวมไปถงึ ผบู ้ รหิ ารและพนกั งานตอ้ ง
สอดคลอ้ งและเป็ นไปในทศิ ทางเดยี วกนั
4. การดาเนินการเปลย่ี นแปลง องคก์ ารตอ้ งนาแนวคดิ ใหม่ ๆ วธิ กี ารใหม่ ๆ รวมถงึ
เครอ่ื งมอื อปุ กรณท์ ที่ นั สมยั และพฤตกิ รรมการทางานใหม่มาส่พู นกั งาน 5. การ
จดั สรรทรพั ยากร

(Daft, 1992, 254-255)

ทกั ษะการสอื่ สาร

ความสาคญั ของการสอ่ื สารไว ้ ดงั นี้
1. เป็ นเครอ่ื งมอื ทส่ี าคญั ทชี่ ว่ ยใหผ้ ูบ้ รหิ ารทางานไดเ้ ป้ าหมาย
2. เป็ นเครอ่ื งมอื ทช่ี ว่ ยสรา้ งความสมั พนั ธท์ ดี่ รี ะหวา่ งผบู้ รหิ ารกบั บุคลากร
3. เป็ นเครอ่ื งมอื ทช่ี ว่ ยใหบ้ คุ ลากรในองคก์ ารเกดิ การประสานงานรว่ มกนั
4. เป็ นสงิ่ ทช่ี ว่ ยใหก้ ารดาเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ภายในองคก์ ารมปี ระสทิ ธภิ าพ

รปู แบบการสอื่ สารในสานักงานได ้ 3 รปู แบบ ดงั นี้

(คณะกรรมการกลมุ่ ปรบั ปรงุ ชดุ วชิ าระบบสารสนเทศสานกั งาน, 2557, หนา้
391-392)
1. รปู แบบการสอ่ื สารตามมติ ปิ ระเภทของสอ่ื รปู แบบการสอื่ สาร
2 .รูปแบบการสอ่ื สารตามมติ ตคิ วามสาเรจ็ ของงานรปู แบบการสอ่ื สาร
3. รปู แบบการสอื่ สารตามมติ ขิ องเวลา รูปแบบการสอื่

ประโยชนข์ องเทคโนโลยที ถ่ี กู นามาใชใ้ นสานักงานสรปุ ได ้ ดงั นี้

1. เป็ นปัจจยั หลกั ทจ่ี ะมสี ่วนรว่ มในการพฒั นา
2. สามารถเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในกระบวนการทางานของพนกั งานใหด้ ยี งิ่ ขนึ้ และลดความ
กดดนั ใหก้ บั พนกั งาน
3. สามารถเชอื่ มโยงขอ้ มูลต่าง ๆ ระหวา่ งหน่วยงาน เพอื่ การประสานงานและการทางาน
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลในการทางานเป็ นทมี โดยไม่จาเป็ นตอ้ งอย่ใู นสถานที่
เดยี วกนั ก็สามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารกนั ได ้
5. สามารถทางานแบบไรส้ าย เพอ่ื สนบั สนุนการประยกุ ตใ์ ชง้ านในรูปแบบเฉพาะเจาะจง
เชน่ การสรา้ งเครอื ขา่ ยทใี่ ชต้ ดิ ตอ่ เฉพาะกลุม่ การสรา้ งอเี มลใ์ นการตดิ ต่อสอ่ื สาร เป็ นตน้
6. สรา้ งภาพลกั ษณท์ ด่ี ใี หก้ บั องคก์ าร เนื่องจากถูกมองวา่ ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลง
7. ชว่ ยในการควบคมุ ตรวจสอบ วางแผน และตดั สนิ ใจ
8. สรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั ผมู้ าขอรบั บรกิ าร เนื่องจากมกี ารบรกิ ารทรี่ วดเรว็

ผูบ้ รหิ ารจะตอ้ งสามารถบรหิ ารจดั การเทคโนโลยไี ด ้ เขา้ ใจบทบาทของ
เทคโนโลยที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั องคก์ ารโดยอาศยั กลยทุ ธเ์ พยี ง 4 อยา่ ง ดงั นี้

1. ตอ้ งรวู ้ า่ การใชเ้ ทคโนโลยใี หม่ ๆ อย่างชาญฉลาด สามารถชว่ ยองคก์ รไดอ้ ย่างไรบา้ ง
2. ตอ้ งรูจ้ กั คดั เลอื ก พฒั นา และจงู ใจทมี งานทเี่ กง่ เรอ่ื งเทคโนโลยใี หอ้ ยู่กบั องคก์ รไป
นาน ๆ
3. ตอ้ งรวู ้ ธิ กี ารบรหิ ารและการลงทุนในเทคโนโลยใี หม่ ๆ
4. ตอ้ งเป็ นผูน้ าตวั อยา่ งในแงก่ ารกลา้ ใชเ้ ทคโนโลยใี หม่ ๆ
(ชชั วาล อรวงศศ์ ุภทตั , 2556)

การมอบหมายงานและการควบคมุ งาน

การมอบหมายงานทาใหภ้ ารกจิ หนา้ ทขี่ องผบู ้ รหิ ารลดลง สาหรบั ประโยชนข์ องการ
มอบหมายงานสรุปได ้ ดงั นี้
1. ชว่ ยทาความเขา้ ใจในเนือ้ หาของงานทผ่ี ูม้ อบหมายงานส่งมอบใหก้ บั ผูร้ บั มอบ
กอ่ ใหเ้ กดิ กระบวนการทางานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สมั ฤทธผิ์ ลตามเป้ าหมาย
2. ชว่ ยลดภาระงานของผบู ้ รหิ าร เนื่องจากผูบ้ รหิ ารยงั คงตอ้ งมกี ารปฏบิ ตั ภิ ารกจิ อนื่ ๆ
ทสี่ าคญั จะชว่ ยใหผ้ ูบ้ รหิ ารมเี วลาเพอื่ ทจี่ ะสามารถไปบรหิ ารจดั การงานในดา้ นอนื่ ๆ
3. เป็ นการแลกเปลย่ี นประสบการณร์ ะหวา่ งผบู ้ งั คบั บญั ชากบั ผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชา ใน
การแบ่งปันความคดิ เห็นและประสบการณร์ ว่ มกนั
4. สรา้ งขวญั และกาลงั ใจ เน่ืองจากผูร้ บั มอบหมายงานจะเกดิ ความรูส้ กึ วา่ ตนเอง
สาคญั ถงึ ไดร้ บั มอบหมายใหท้ างานชนิ้ นั้น
5. เป็ นการสรา้ งทมี งาน เน่ืองจากงานบางงานไม่สามารถทาสาเรจ็ ไดเ้ พยี งคนคนเดยี ว
จงึ เกดิ การรว่ มทมี กนั ทางานเพอื่ ใหง้ านสาเรจ็ บรรลเุ ป้ าหมาย
6. ลดความเสย่ี งและขอ้ ผดิ พลาดของงาน เน่ืองจากการมอบหมายงานถอื ไดว้ า่ เป็ น
การเปิดโอกาสใหผ้ ูอ้ นื่ ไดร้ ว่ มแสดงความคดิ เห็น สง่ ผลใหง้ านนั้นมคี ุณภาพ

การมอบหมายงานทด่ี ที ค่ี าดหวงั ผลควรตอ้ งปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
(เนตรพ์ ณั ณา ยาวริ าช, 2559, หนา้ 115)

1. ผูม้ อบหมายงานควรทาความเขา้ ใจในงานกอ่ นส่งมอบ
2. ทาความรจู ้ กั กบั ผูร้ บั มอบ
3. อธบิ ายถงึ ความสาคญั และความจาเป็ น
4. อธบิ ายและมอบหมายงานดว้ ยความชดั เจน
5. กาหนดเป้ าหมายทตี่ อ้ งการ

วตั ถปุ ระสงคข์ องการควบคมุ งานในสานักงานอธบิ ายได ้ ดงั นี้
(เนตรพ์ ณั ณา ยาวริ าช, 2559, หนา้ 119)

1. เพอื่ ใหผ้ ลงานมมี าตรฐาน
2. เพอ่ื ป้ องกนั ทรพั ยส์ นิ ของหน่วยงาน ไม่ใหเ้ สอื่ มสภาพกอ่ นเวลาอนั ควร
3. เพอื่ ควบคุมการปฏบิ ตั งิ านไม่ใหก้ า้ วกา่ ยหรอื ซา้ ซอ้ นกบั งานอน่ื ๆ สามารถทางาน
ภายใตข้ อบเขตทไ่ี ดก้ าหนดเอาไว ้
4. เพอ่ื ควบคมุ ผลของการปฏบิ ตั งิ าน เป็ นการควบคุมผลงานทพ่ี นักงานสามารถทา
ได ้ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการฝึ กอบรม และแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง
5. เพอื่ ควบคมุ ใหน้ าไปส่คู วามถูกตอ้ ง และเป็ นการจงู ใจพนกั งานในหน่วยงาน สรา้ ง
ขวญั และกาลงั ใจใหด้ ขี นึ้


Click to View FlipBook Version