The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร "สาระ...ดี สระบุรี" ฉบับที่ 6
"วารสารสาระดี๊ดี อ่านได้ฟรี ๆ ไม่มีค่าใช้จ่าย"

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pingpostproducer, 2021-03-22 22:16:31

สาระ...ดี สระบุรี ฉบับที่ 6

วารสาร "สาระ...ดี สระบุรี" ฉบับที่ 6
"วารสารสาระดี๊ดี อ่านได้ฟรี ๆ ไม่มีค่าใช้จ่าย"

Keywords: สาระดี

ISSUE No. 6-2564Saarraabdeueriสาระ...ดีววาารรสสาารร

ภายใตการสนับสนุนของศูนยเครือขายการเรียนรูเพ่ือภูมิภาค จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วารสารสาระ...ดี
เผยแพรเม่ือ พ.ศ. ๒๕๖๓

กองบรรณาธิการ

บรรณาธิการ

ศ.น.สพ.ดร.มงคล เตชะกําพุ

คณะผูจัดทํา

รศ.น.สพ.ดร.กิตติศักดิ์ อัจฉริยะขจร
อ.น.สพ.ดร.ธีรวัฒน สวางจันทรอุทัย

ผศ.น.สพ.ธนศักดิ์ บุญเสริม
นายอุลเวงค มติมาลังกรณ

นางสาวกิตติยา สุปนตี
นางสาวศรารัตน ทานะมัย

ออกแบบและจัดทําํา

นายชวิน แสงไชย

https://www.facebook.com/AICCUSaraburi

บทบรรณาธิการ

สถานการณของโรคโควิดในประเทศไทยนาจะดีขึ้น เมอื่ มีการเรม่ิ รณรงคใหมกี ารฉดี

วัคซีนโควิด ในราวปลายเดือนกุมภาพันธ 2564 ถึงแมจะเกิดคลัสเตอรการระบาดใหมใน
หลายๆ พ้นื ที่ รวมท้ังแจ็คพอตมาเกิดแถวจุฬาฯ ทําใหเกิดการลอ็ คดาวนข องมหาวทิ ยาลัย
คอื ตองสอนหนงั สอื จากบาน ฝกงานผา นอินเตอรเนท รวมทงั้ ทาํ งานวิจัยผา นทางไลน
กม็ ีบาง ทานนายกรฐั มนตรี ไดป ระเดิมฉดี วัคซีนโควิด-19 ของแอสตราเซเนกา เข็มแรกของ
คนไทย เมือ่ วันท่ี 16 มีนาคม 2564 ทาํ ใหส รา งความเชื่อมนั่ ใหก บั คนไทย และเริม่ มมี าตรการ
ผอนคลายในหลายพ้ืนที่ รวมทั้งในจังหวัดสระบุรี ทําใหหลายคนเตรียมตัวจะไปเที่ยว
สงกรานตกันแลว การที่มนษุ ยเราพยายามปรับตวั เพื่อใหอยูรอด เปน สง่ิ ที่มอี ยูในตัวอยูแลว
ผศ.ดร.ประยรู สยุ ะใจ ไดเ คยกลา วไวว า “การขา มพน หรอื แกไ ขปญ หาและอปุ สรรคทางจติ ใจ
ของบคุ คลจะเกิดข้นึ ได เม่ือบคุ คลนั้นเกดิ ปญญา เพราะเมอื่ ใดทบี่ คุ คลเกดิ ปญญาแสดงวา
บคุ คลนัน้ เกิดความเขาใจถงึ ความจรงิ แทของชวี ิต”

ในสว นของศูนย AIC นั้น กจิ กรรมในเดือนเมษายน 2564 คอื โครงการอบรมเพ่ือเพม่ิ
สมรรถนะขาราชการจงั หวดั สระบุรี (Hi-PRO Saraburi 2021) ท่มี ดี วยกัน 2 รุน คอื รนุ ที่ 1
ระหวา งวนั ท่ี 29 มนี าคม ถงึ 4 เมษายน 2564 หลงั จากนน้ั จะหยุดพกั ผอนไปเที่ยว
สงกรานต วนั ครอบครวั ไปสรงนํ้าพระ รดนํ้าดาํ หัวผใู หญ และมาอบรมในรนุ ที่ 2 ระหวา ง
วันที่ 19 ถึง 25 เมษายน 2564 ความมงุ หวงั ของการจดั อบรมครั้งนี้ ตองใหข าราชการใน
จังหวดั สระบรุ ี ไดม ีแนวคิดในการพัฒนาตนเองและองคกร สามารถนาํ มาปรับใชกบั
สถานการณท ่ผี ันผวน เปลี่ยนแปลงในโลกทีไ่ มแนนอน การคาดการณอ นาคตและการสรา ง
กลยทุ ธใ นการทํางาน รวมท้งั การเสรมิ ทักษะดานดจิ ิตัลทเี่ ปนแนวโนมและภาพปรากฎอยู
ในปจจุบนั

กระผมในฐานะผอู าํ นวยการจดั อบรม ตอ งขอบพระคุณทา นผวู าราชการจังหวัดสระบุรี
ทานแมนรตั น รัตนสคุ นธ ทไ่ี ดไววางใจใหทางจุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั ไดจ ดั อบรมคร้ังนี้
คาดวาผลที่จะเกิดหลังเกิดอบรมจะเกิดเครือขายรวมกันทํางานเพื่อพัฒนาจังหวัดสระบุรี
อยางจริงจัง

ดวยความเคารพ
ศ.นผ.สูอพําน.ดวยร.กมางรคฯลAIเCตชสะรกะําบพุรุี

นมอนิ ทรีย. ....

ผศ.น.สพ.ธนศักด์ิ บุญเสริม

คณะสตั วแพทยศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั

กวา 60 ปท่ีอาชพี การเล้ยี งโคนมไดถ อื กาํ เนดิ ขน้ึ ในประเทศไทย ตลอดระยะเวลาทีผ่ านมา
การเลี้ยงโคนมในบา นเราไดม กี ารพัฒนาอยางตอเนือ่ ง รูปแบบการจัดการฟารมถูกปรบั เปลยี่ นใหม ี
ความทนั สมยั ตามเทคโนโลยีท่ีถูกพัฒนาขนึ้ เกษตรกรมีการเรียนรูรปู แบบการตลาดใหมๆ รวมถงึ
การพยายามสรา งมูลคาเพ่ิมใหก ับผลผลิต นมอนิ ทรีย (organic dairy products) เปนผลติ ภัณฑหนึ่ง
ทช่ี วยเพิม่ มูลคาใหก บั ผลผลิตนํ้านมดิบจากฟารม ในอดตี อาหารอินทรียอ าจเปนทีย่ อมรบั เฉพาะ
ในกลมุ ผูบริโภคที่มีความเช่อื วาอาหารอินทรียดตี อ สขุ ภาพเทา นน้ั แตในปจจุบันการบรโิ ภคสินคา
เกษตรอนิ ทรยี ก าํ ลงั ขยายไปสกู ลมุ ผบู รโิ ภคทใ่ี สใ จในเรอื่ งสขุ ภาพ และเนน การบรโิ ภคอาหารทม่ี คี ณุ ภาพสงู
มรี สชาติท่เี ปน ธรรมชาติ ปราศจากสารเคมตี กคาง ทาํ ใหค วามตองการผลิตภัณฑน มอินทรยี 
ในตา งประเทศมอี ตั ราการขยายตวั อยา งตอ เนอ่ื ง ฟารม โคนมอนิ ทรยี เ ปน รปู แบบการผลติ เชงิ ธรรมชาติ
เนนการปอ งกันโรคเพอ่ื หลกี เลีย่ งการใชยาปฏิชวี นะ ปลอดการใชส ารเคมีในอาหารสตั ว โคนมในฟารม
จะถกู เลี้ยงดวยพืชอาหารสตั วท ่ีไดมาจากกระบวนการปลกู แบบอนิ ทรียเปนหลกั นํ้านมจากฟารม โคนม
อนิ ทรยี จ งึ มกี รดไขมนั ทจ่ี าํ เปน ตอ รา งกายในปรมิ าณทส่ี งู กวา นาํ้ นมทว่ั ไป แมว า นา้ํ นมอนิ ทรยี จ ะมรี าคาสงู
กวานํ้านมดบิ ท่วั ไปแตป จจุบันรปู แบบการเล้ียงโคนมอินทรียในประเทศไทยก็ยังไมแ พรห ลายมากนัก

01

สระบุรี......

จงั หวัดสระบุรีแหลงตนกาํ เนดิ ของอาชพี การเลย้ี งโคนม
ของประเทศไทย และนาํ้ นมจากฟารม โคนมอินทรยี 
ทบ่ี รโิ ภคกนั ในประเทศไทยสวนใหญก็เปนผลผลิตมาจาก
ฟารม โคนมอนิ ทรียในพืน้ ทีจ่ ังหวดั สระบรุ ีเชน กนั
ฟารม เลิศฤทธิ์ออรแ กนิคแดรี่ฟารม ซ่งึ ตงั้ อยใู น
อ.มวกเหลก็ เปนฟารม โคนมแบบดั้งเดิมทีป่ รบั เปล่ยี น
การเลีย้ งมาเปน ฟารมโคนมอินทรยี ที่ผา นการรับรอง
มาตรฐานฟารมโคนมอนิ ทรียจากกรมปศุสตั ว
ฟารม เลศิ ฤทธกิ์ อ ต้ังขนึ้ จากความรักในอาชีพ
การเลี้ยงโคนมของบณั ฑิตจาก
คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาฯ
สพ.ญ.องั คณา เลศิ ฤทธิ์ศริ ิกุล หรือหมอเล็ก
และน.สพ.ณรงคศักด์ิ สองสามีภรรยา
ท่ีเรมิ่ ประกอบธุรกิจฟารมโคนมมาตั้งแตป
พ.ศ. 2544 และเรมิ่ ปรับเปลย่ี นรปู แบบ
การเลีย้ งเขาสูม าตรฐานฟารมโคนมอินทรียเม่อื ป พ.ศ. 2559

02

การปรับเปลยี่ น.....
หมอเล็ก เจา ของฟารมเลาใหฟ ง ถงึ
แรงบนั ดาลใจท่ที าํ ใหตัดสินใจเปล่ยี นรูปแบบ
จากฟารมโคนมดงั้ เดมิ มาเปน ฟารม โคนมอินทรยี วา
พื้นเพดัง้ เดมิ ทางบานประกอบอาชีพทางการเกษตรอยูแลว
แตเปนการเกษตรแบบใชเคมี ทําเกษตรเคมมี านานจนเริม่ สงั เกต
เหน็ วา ตน ทุนการผลติ เพ่ิมสงู ขึ้นเรอ่ื ยๆ สารเคมีเรม่ิ สงผลกระทบตอ
สขุ ภาพคนงาน แรงงานทจ่ี ะทาํ หนา ทฉี่ ดี พน สารเคมเี รม่ิ หายากขนึ้
จึงเปน จุดเร่มิ ตน ทีท่ าํ ใหเ ริ่มศกึ ษาแนวทางการทําเกษตรแบบ
อนิ ทรีย จนไดเขารวมในเครอื ขา ยนมอินทรียแดร่ีโฮม และตัดสินใจ
เปลีย่ นมาทาํ ฟารม โคนมอนิ ทรียเพอ่ื ผลติ นา้ํ นมคณุ ภาพสงู
และปลอดสารเคมีขายใหก บั แดรโ่ี ฮม

03

กวา จะมาเปน โคนมอินทรีย.....

กวาจะมาเปน โคนมอินทรยี ไดน้นั ไมง า ย ไมใชเ ฉพาะเรอื่ งของการตรวจรับรองวา ไดมาตรฐาน
ตามทคี่ ณะกรรมการปศสุ ัตวอ ินทรียข องกรมปศุสตั วกาํ หนดไวเ ทา นั้น ยังตองตอ สูกับตวั เองดวย
ในชว งแรกทปี่ รบั เปลี่ยนเราใชวิธกี ารหกั ดิบ คือเปล่ียนเปน อินทรียแบบทันทไี มใชว ธิ ีแบบคอยเปน
คอยไป ผลผลิตนํ้านมจากทเ่ี คยไดวันละ 1 ตนั ลดลงเหลอื วันละประมาณ 300 กโิ ลกรัม
แตเรายังพอมีรายไดจากแหลงอืน่ มาชดเชย เรากเ็ ลยยงั เดนิ หนา ตอ ทจี่ ะปรับมาเปนฟารม อินทรยี 
ใหไ ด ใชเวลาเกือบ 1 ปก วาทุกอยางจะเขาที่ ตรงน้จี งึ เปนสงิ่ ทท่ี ําใหเ กษตรกรไมค อยกลา

ทีจ่ ะปรบั เปล่ยี นมาสูก ารเปน
ฟารม โคนมอนิ ทรยี  แตที่เรา
กอ็ าจจะเปนเพราะเราไดเ ปรยี บ
ตรงที่มีรายไดจากแหลง อน่ื
มาชดเชย แลว เราก็มพี ื้นท่สี ําหรับ
ผลิตวตั ถุดบิ อาหารสัตวอนิ ทรีย
ของเราเอง ทาํ ใหตน ทนุ เราตาํ่ กวา
ฟารมที่ตองซอื้ พืชอาหารอนิ ทรีย
มาเลยี้ งโค การปรบั เปล่ียนเปน
โคนมอนิ ทรยี น น้ั ยาก ตองอาศยั
ความตงั้ ใจแลว กต็ อ งอดทนใหผ า น
ชวงแรกไปกอน แตเราก็ทาํ ได
จากท่ีเราเปล่ียนมาเปนฟารม โคนม
อินทรยี ทําใหผ ลผลิตนาํ้ นมลดลง
แตก ็แลกมากับสุขภาพของแมโค
ทดี่ ีขึน้ คุณภาพนํ้านมดา นองคประกอบทดี่ ขี ้นึ ราคาน้าํ นมดบิ ขายไดราคาเพ่มิ ข้ึนราวๆ 30 เปอรเซ็นต
รายไดจ ากการขายนาํ้ นมอาจจะยงั ไมไ ดเ พม่ิ ขน้ึ อยา งชดั เจนนกั แตส ง่ิ ทไี่ ดก ลบั มาแนๆ คอื ปญ หาสขุ ภาพ
ของโคลดลง เราเหนื่อยนอยลง แนนอนท่สี ดุ คอื คุณภาพชวี ติ เราดีขน้ึ

04

เปาหมายในอนาคต...
สวนตัวเราคิดวา การเกษตรเปนอาชีพทม่ี ัน่ คงไมวา อะไร
จะเกดิ ขึน้ มนษุ ยก็ยงั ตองกนิ การเลี้ยงโคนมถึงแมว า จะไมได
ทาํ รายไดม ากมายแตก ็มรี ายไดท ุกวันเมื่อเทยี บกบั การทําเกษตร
อ่ืนๆ เปา หมายในอนาคตกอ็ ยากจะทําใหอ าชพี นี้มคี วามยง่ั ยืน
แลวก็สงตอ ใหคนรนุ ตอไป คนรุนใหมอ าจจะมองวาอาชพี
เลี้ยงโคนมเปนงานท่ีหนกั แตทุกวันนี้ก็มีเทคโนโลยใี หมๆมาชวยผอนแรง
เราเยอะขน้ึ เรากต็ อ งปรับตัวยอมรบั ทั้งวิทยาการใหมๆและเทคโนโลยีตา งๆ
ทีจ่ ะว่ิงเขามาหาเรา คดิ ถงึ วนั ท่ีเราตัดสินใจใชส มารทโฟน ใหมๆกอ็ าจรสู กึ
ไมค อยสบายตวั แตพอคุนเคยทกุ วนั นี้สมารท โฟนกลายเปน สว นหนง่ึ
ของชวี ิตไปแลว ทุกวนั น้ีเรากาํ ลังเรยี นรกู ารใชเ ทคโนโลยีตา งๆที่ทําให
คุณภาพชวี ิตเราดีขึ้น เราจะใชอ ะไรกต็ อ งศึกษา เลือกใชเฉพาะท่ี
มนั ชว ยแกปญหาใหเ ราได ถา เรารับเทคโนโลยีทุกอยา งแตไ มไดประเมิน
ความคมุ คา สดุ ทายหนีก้ ็ทวมคุณภาพภาพชีวิตกแ็ ยลงกวาเดิมชว งทีโ่ ควิด
ระบาดจนตอ งลอ คดาวน นํา้ นมดบิ ถกู ลดราคารบั ซ้ือรายไดล ดลงทนั ที
เรารีบตองหาทางรอด โชคดีท่เี รามีองคค วามรูใ นการแปรรปู ผลิตภณั ฑน ม
อยบู า ง มที ีมอาจารยจากจฬุ าฯ ชว ยสนบั สนุนแลวก็ผลกั ดันจนเรา
สามารถแปรรูปนมอนิ ทรียจากฟารม ออกสตู ลาดออนไลนไดสําเร็จ
ทุกวันนเ้ี รากม็ รี ายไดเ พ่ิมจากขึ้นจากการเอานมสวนหนึ่งมาแปรรปู
เปนผลิตภณั ฑ “Be More Milk” เทคโนโลยีชวยใหหลายอยา ง
งายขนึ้ ถา เรารูจ ักใช โลกในอนาคตจะเปลย่ี นเรว็ มากเกษตรกร
อยา งเราก็ตองปรับตัว แตจะดีมากถาเรามที ่ีปรึกษาชวยเราคิด
เราโชคดีมากที่จฬุ าฯ มาตัง้ ศูนยถ ายทอดเทคโนโลยีฯ ทีแ่ กงคอย ทกุ วันน้ี
เราไดร บั ความชว ยเหลอื ทางวชิ าการจากอาจารยคณะสตั วแพทยก ใ็ ชฟ ารม
ของเราเปน ทฝี่ กงานนสิ ติ ตางคนตา งตอบแทนกนั สงสัยทบี่ อกวา

“เราจะเดินไปไดไว ถา เราไปคนเดียว
แตเราจะเดนิ ไปไดไกล ถา เราไปดวยกัน”

05 มนั จะเปนอยา งนน้ั จรงิ ๆ

โครงการ “การเพ่ิมขีดความสามารถภาคการเกษตรสูตลาดชาญฉลาด
ผานการบูรณาการของศูนยเทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม
(Agritech and Innovation Center: AIC)”

รศ.น.สพ.ดร.กิตติศักด์ิ อัจฉริยะขจร

หัวหนาโครงการจัดตั้งศูนยวิจัย
และถายทอดเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาการเลี้ยงโคนมในเขตรอนช้ืน

เร่ิมกิจกรรมแลว หลังคัดเลือกเกษตรกรผูเล้ียงโคนม

ในชุมชนสระบุรีและโคราช คณะสัตวแพทยศาสตร ไดเริ่ม
สงทีมคณาจารยและสัตวแพทยจาก โรงพยาบาลปศุสัตว
นครปฐม เขาปฏิบัติงานในฟารมโคนมเกษตรกรในพ้ืนที่
จังหวัดสระบุรี และจังหวัดนครราชสีมา เพื่อสรางกลุม
เกษตรกร การเรียนรูตนแบบการจัดการฟารม
แบบแมนยําสูง (Precision dairy
management) เพ่ือเพิ่มศักภาพ
การแขงขัน โดยไดเลือกเกษตรท่ีมี
ความพรอมและสนใจเขาเปนกลุม
ในพ้ืนที่การเลี้ยงโคนมหนาแนน เชน
มวกเหลก็ ลาํ พญากลาง ซบั สนนุ เปน ตน
โดยตั้งเปาใหเปนแหลงเรียนรูของ
ชุมชนเกษตรกรผูเลี้ยงโคนมตอไป

06

AIC-SARABURI NEWS

เมอื่ วันศุกรท่ี 5 มนี าคม 2564 ณ หองประชุม 4 อาคารชัยอศั วรักษ คณะสัตวแพทยศาสตร
จฬุ าฯ ศ.น.สพ.ดร.รงุ โรจน ธนาวงษน เุ วช คณบดคี ณะสตั วแพทยศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั
คณุ สลิลรัตน พงษพานิช กรรมการผจู ดั การ บริษทั ซพี ี-เมจิ จํากัด และ รศ.น.สพ.ดร.กิตติศักดิ์
อจั ฉรยิ ะขจร หวั หนา โครงการจดั ตงั้ ศนู ยว จิ ยั และถา ยทอดเทคโนโลยเี พอ่ื การพฒั นาการเลยี้ งโคนม
ในเขตรอนชืน้ รวมลงนามบนั ทึกขอ ตกลงความรว มมอื (MOU) การพฒั นาผูเลยี้ งโคนมไทย
“โครงการสง เสริมพฒั นาสขุ ภาพและผลผลติ โคนม เชอ่ื มโยงสุขภาพผบู รโิ ภค” พัฒนาขบวนการ
ผลิตนา้ํ นมตลอดหวงโซ พรอมถา ยทอดองคค วามรแู กเ กษตรกร มุง เปา ผลติ อาหารนมทีม่ ีคุณภาพ
สง ตอ ผูบริโภค


Click to View FlipBook Version