คนดีศรีบดินทร 39
40 คนดีศรีบดินทร บ.ด.ส. 119/22หมู่16ต�ำบล บางเสาธงอ�ำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ10570 0-2315-1456, 0-27050075 www.bodinsp.ac.th 28ไร่2งาน21ตารางวา 16กรกฎาคม2551 วันเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี) 24มิถุนายนของทุกปี พระเกี้ยว (โดยพระบรมราชานุญาต) ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดี และมีความรู้ หลวงพ่อโตวัดบางพลีใหญ่ใน ดอกแก้ว/ต้นประดู่ น�้ำเงิน ชื่อย่อ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์ พื้นที่ วันประกาศจัดตั้ง วันส�ำคัญของโรงเรียน เครื่องหมายประจ�ำ โรงเรียน ปรัชญา พระพุทธรูป ประจ�ำโรงเรียน ดอกไม้/ต้นไม้ สีประจ�ำโรงเรียน บ.ด. 40ซ.รามค�ำแหง43/1 แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ10310 0-2538-2573, 0-2538-3964, 0-2514-1403 0-2539-7091, 0-2530-3910 www.bodin.ac.th 39ไร่3งาน86ตารางวา 30เมษายน2514 วันเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี) 24มิถุนายนของทุกปี พระเกี้ยว (โดยพระบรมราชานุญาต) ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดี และมีความรู้ พระพุทธบดินทรพิทักษ์ บริรักษ์ศิษยา นิลุบล น�้ำเงิน บ.ด.๒ 333ถ.นวมินทร์แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่มกรุงเทพฯ10240 0-2509-5578, 0-2510-1953 0-2509-5577 www.bodin2.ac.th 22ไร่3งาน12ตารางวา 16กรกฎาคม2533 วันเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี) 24มิถุนายนของทุกปี พระเกี้ยว (โดยพระบรมราชานุญาต) ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดี และมีความรู้ พระพุทธบดินทร ล�ำดวน น�้ำเงิน นมร.บ.ด. 5/23ซ.ลาดพร้าว69 แขวงสะพาน2 เขตวังทองหลางกรุงเทพฯ 10310 0-2530-2326-7 0-2530-2325 www.bodin3.ac.th 15ไร่ 31กรกฎาคม2535 วันเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี) 24มิถุนายนของทุกปี มงกุฎขัตติยราชนารี ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดี และมีความรู้ พระพุทธพรนวมินทรราชินี ถวาย กัลปพฤกษ์ น�้ำเงิน-ฟ้า บ.ด.๔ สนามกอล์ฟฟินิกซ์โกลด์กอล์ฟ แบงค็อก87หมู่1 ถ.สุวินทวงศ์แขวงล�ำต้อยติ่ง เขตหนองจอกกรุงเทพฯ10530 0-2136-7180 www.bodin4.ac.th 10ไร่ 27มิถุนายน2538 วันเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี) 24มิถุนายนของทุกปี พระเกี้ยว (โดยพระบรมราชานุญาต) ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดี และมีความรู้ พระพุทธสัมฤทธิ์ศรีบดินทร นิลุบล/สัตบรรณ น�้ำเงิน บ.ด.น. 79/11หมู่3ต�ำบลวัดชลอ อ�ำเภอบางกรวยจังหวัด นนทบุรี11130 0-2447-5774, 0-2883-9610 0-2447-5775 www.bodinnon.ac.th 12ไร่1งาน49ตารางวา 25มิถุนายน2542 วันเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี) 24มิถุนายนของทุกปี พระเกี้ยว (โดยพระบรมราชานุญาต) ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดี และมีความรู้ พระพุทธวิโมกข์ สัตตบงกช(บัวหลวง) น�้ำเงิน ข้อมูลจ�ำเพาะโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี)โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี)๒โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี)๔โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี)นนทบุรีโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี)สมุทรปราการ
คนดีศรีบดินทร 41 คนดีศรีบดินทร เนื่องจากพฤติกรรมของนักเรียนมีหลากหลาย ส่วนใหญ่เป็นพฤติกรรมในทางที่ดี และ บางคนท�ำดีเสมอต้นเสมอปลายอย ่างต ่อเนื่อง แต ่ไม ่ได้เป็นที่ปรากฏต ่อสังคมหรือคนอื่นๆ ดังนั้นคณะกรรมการงานกิจการนักเรียนกลุ ่มโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา จึงเห็นสมควร ที่จะส่งเสริมขวัญและก�ำลังใจให้แก่ลูกบดินทรทุกคน เพื่อให้ภาคภูมิใจคุณค่าของตนเอง และ กระท�ำความดียิ่งๆ ขึ้นไป จึงก�ำหนดให้มีการด�ำเนินการในเรื่องคนดีศรีบดินทร โดยการประกาศ เกียรติคุณเชิดชูคุณงามความดีของนักเรียนให้เป็นที่ปรากฏ ดังนี้ ๑. การเสนอชื่อผู้กระท�ำความดีผู้ที่จะเสนอ คือ ๑.๑ นักเรียนผู้กระท�ำความดี ๑.๒ เพื่อนของนักเรียน ๑.๓ ผู้ปกครองนักเรียน ๑.๔ ครู ๑.๕ บุคคลทั่วไปที่เกี่ยวข้อง ๒. ผู้พิจารณาด�ำเนินการและตัดสิน ๒.๑ ครูที่ปรึกษา และที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลจากการเสนอรายชื่อของบุคคลใน ข้อ ๑ ตรวจสอบและส่งต่อ ๒.๒ หัวหน้าระดับชั้น คณะกรรมการระดับชั้นรับข้อมูลจากข้อ ๒.๑ พิจารณาคัดเลือก ตัดสินเบื้องต้น ๒.๓ คณะกรรมการงานกิจการนักเรียน รับข้อมูลจากข้อ ๒.๒ ร่วมกันพิจารณาตัดสิน เพื่อขออนุมัติ ๓. ประเภทของคนดีศรีบดินทร ๓.๑ คนดีศรีบดินทร ประเภทดีเยี่ยม มีคุณสมบัติครบ ๓ ประการ คือ ๓.๑.๑ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามข้อก�ำหนดของโรงเรียน ๓.๑.๒ มีผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี(๓.๐๐ ขึ้นไป) หรือมีความตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ในการเรียนสม�่ำเสมอ และมีผลการเรียน ๒.๐๐ ขึ้นไป ๓.๑.๓ สร้างชื่อเสียงให้แก่โรงเรียนด้านการเรียน หรือกิจกรรมต่างๆ ๓.๒ คนดีศรีบดินทร ประเภทดีเด่น มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับประเภทที่ ๓.๑ ข้อ ๓.๑.๑ และข้ออื่นๆ อีกรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ข้อ ๓.๓ คนดีศรีบดินทร ประเภทคนดีที่สมควรเป็นแบบอย่าง มีคุณสมบัติข้อ ๓.๑ ในข้อ ๓.๑.๑
42 คนดีศรีบดินทร ๔. ระยะเวลาที่พิจารณาความดี ๔.๑ พิจารณาเป็นรายปีการศึกษา ๔.๒ การประกาศเกียรติคุณ ตามที่โรงเรียนก�ำหนด ๕. สิทธิและเงื่อนไขในการรับการเชิดชูเกียรติ ๕.๑ ให้นักเรียนที่ท�ำความดีได้รับคุณงามความดีโดยให้ได้รับโล่ หรือเกียรติบัตร หรือ ตามที่โรงเรียนก�ำหนด ๕.๒ นักเรียนคนหนึ่งอาจได้รับโล่ หรือเกียรติบัตรซ�้ำในปีถัดไปอีกก็ได้ ๕.๓ ต้องไม่เคยเป็นผู้ถูกลงโทษถึงขั้นท�ำทัณฑ์บนในปีการศึกษาที่พิจารณา เว้นแต่ ให้มีการพัฒนาอยู ่ในขั้นดีตามดุลยพินิจของคณะกรรมการระดับชั้นและคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน โรงเรียนในเครือบดินทรเดชา จึงจัดให้มีโครงการ “คนดีศรีบดินทร” เพื่อหล่อหลอมให้ ลูกบดินทรด�ำรงตนตามปรัชญา “ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดีและมีความรู้” โดยมีคุณสมบัติของ คนดีอันเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์๑๐ ประการ คุณสมบัติคนดีศรีบดินทร “คุณสมบัติของคนดีบ่งชี้ชัด หนึ่งซื่อสัตย์สุจริตเป็นนิสัย สองเคร่งต่อหน้าที่มีวินัย สามมีใจเมตตาเอื้ออารี สี่อ่อนน้อมถ่อมตนคนสุภาพ ห้าซึ้งซาบวัฒนธรรมน�ำศักดิ์ศรี หกแต่งกายเป็นระเบียบเรียบร้อยดี เจ็ดนั้นมีมานะมั่นขยันงาน แปดอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมพร้อมรักไทย เก้าหลีกไกลอบายมุขทุกสถาน สิบยึดมั่นกตัญญูคู่ดวงมาน ทุกประการคือคนดีศรีบดินทร” ทั้งนี้ โรงเรียนในเครือบดินทรเดชา ได้ก�ำหนดแนวทางในการส่งเสริม พัฒนา และ ประเมินคุณลักษณะของคนดีศรีบดินทร ตลอดจนการยกย ่องเชิดชูเกียรติของลูกบดินทรที่ ประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดีศรีบดินทรไว้ดังนี้ แนวปฏิบัติในการส่งเสริมพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์“คนดีศรีบดินทร” ๑. นักเรียนมีสมุดบันทึกการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์“คนดีศรีบดินทร” ๒. นักเรียนศึกษาคุณลักษณะของคนดีศรีบดินทรทั้ง ๑๐ ประการ
คนดีศรีบดินทร 43 ภาพลักษณ์ของลูกบดินทร ชาวบดินทรเดชา มีวัฒนธรรมที่เกิดจากคุณธรรมของเจ้าพระยาบดินทรเดชา ปณิธาน ปรัชญา และอุดมการณ์ของโรงเรียน รวมทั้งวัฒนธรรมอันเป็นแบบอย ่างจากโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา หลอมรวมมาสู ่การประพฤติปฏิบัติเป็นวัฒนธรรมบดินทรเดชาที่ปรากฏ เป็นภาพลักษณ์ของลูกบดินทร ว่า... “งามสง่าสมศักดิ์ศรีประพฤติดีมีความรู้” l งามสง่าสมศักดิ์ศรี หมายถึง ลูกบดินทรความสง่างามด้วยบุคลิกภาพและกิริยา มารยาท สมเกียรติยศที่ได้ประดับพระเกี้ยวหรือเข็มมงกุฎขัตติยราชนารี l ประพฤติดี หมายถึง ลูกบดินทรเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม และมี ระเบียบวินัยตามคุณลักษณะของคนดีศรีบดินทร l มีความรู้ หมายถึง ลูกบดินทรเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน เฉลียวฉลาดรอบรู้ริเริ่มสร้างสรรค์ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และมีภาวะผู้น�ำ การปฏิบัติตนของลูกบดินทร ๑. ประพฤติตนตามปรัชญา คือ “ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดีและมีความรู้” ๒. ประหยัดทรัพยากรและรักษาทรัพย์สินของโรงเรียน ๓. หมั่นศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ๔. อนุรักษ์ศิลปะ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย ๕. อุทิศเวลาให้กับโรงเรียนและชุมชนภายนอก ๖. มีความสามัคคีมีความรัก เสียสละ ซื่อสัตย์ต่อหมู่คณะ ๗. มีน�้ำใจนักกีฬา เป็นผู้น�ำ - ผู้ตามที่ดี ๘. รู้จักป้องกันตนเองให้พ้นจากยาเสพติด โรคเอดส์และอบายมุข ปฏิบัติตนตามหลักค�ำสอน ของศาสนา ๙. ด�ำรงตนอยู่ในความพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
44 คนดีศรีบดินทร การท�ำความเคารพของลูกบดินทร ๑. การท�ำความเคารพของนักเรียนในโรงเรียน ๑.๑ นักเรียนทั้งชายและหญิงเมื่ออยู่ในแถวให้ใช้ค�ำว่า “แถวตรง” ๑.๒ การเคารพผู้ควรเคารพในทางศาสนาให้เคารพตามประเพณีนิยม ๒. การท�ำความเคารพในห้องเรียน ๒.๑ เมื่อผู้ควรเคารพเข้ามาในห้องเรียน ให้หัวหน้าห้องเป็นผู้บอกท�ำความเคารพ โดยใช้ค�ำว่า “นักเรียน ท�ำความเคารพ” แล้วไหว้และกล่าว “สวัสดีครับ/ค่ะ” ๒.๒ การเคารพผู้ควรเคารพในทางศาสนาให้กระท�ำความเคารพตามประเพณี ๓. การท�ำความเคารพของนักเรียนในโอกาสอื่น ๓.๑ ขณะยืนอยู่ เมื่อผู้ใหญ่ผ่านมายืนตรงแล้วไหว้ ๓.๒ เมื่อนักเรียนยืนสนทนากับผู้ใหญ่ให้ยืนในลักษณะส�ำรวม สุภาพ เสร็จแล้วแสดง ความเคารพด้วยการไหว้ ๓.๓ เมื่อเดินสวนทางกับผู้ใหญ่ให้หยุดหันหน้าไปทางผู้ใหญ่และไหว้เมื่อผู้ใหญ่ผ่าน ไปแล้วจึงเดินต่อ ๓.๔ เมื่อนักเรียนเดินผ่านผู้ใหญ่ ในขณะที่ผ่านให้ค้อมตัวเล็กน้อย ๓.๕ เมื่อนักเรียนไม่อยู่ในภาวะที่จะไหว้ได้ เช่น ถือของ ให้ยืนตรง เมื่อผู้ใหญ่ผ่าน ให้ค้อมตัวเล็กน้อย เมื่อผ่านผู้ใหญ่ในกรณีที่เดินแถว ให้ค้อมตัวผ่านไป ๓.๖ กรณีจ�ำเป็นที่ต้องเดินไปก่อนผู้ใหญ่ให้กล่าวค�ำขอโทษหรือขออนุญาตแล้วจึงเดิน ค้อมตัวผ่านไป และถ้าผู้ใหญ่เดินตามมาในระยะใกล้ควรหยุดให้ท่านเดินผ่าน ไปก่อน ๔. การท�ำความเคารพครูที่ปฏิบัติหน้าที่เวรประตูเช้า - เย็น เมื่อนักเรียนมาถึงให้หยุดและ ท�ำความเคารพด้วยการไหว้ถ้าถือของให้วางของก่อนแล้วไหว้ ๕. นักเรียนที่เป็นลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด สมาชิกผู้บ�ำเพ็ญประโยชน์หรือนักศึกษาวิชา ทหาร การแสดงความเคารพให้ปฏิบัติตามระเบียบ ๖. การท�ำความเคารพต้องให้เหมาะสมแก่เวลา สถานที่และบุคคล
คนดีศรีบดินทร 45 ระเบียบการปฏิบัติของลูกบดินทร ๑. ว่าด้วยเรื่องการแต่งกาย เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนในเครือบดินทรเดชาได้มีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการแต่งกายให้เป็นไปใน แนวทางเดียวกัน โดยอาศัยข้อมูลจากระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย เครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. ๒๕๕๑ กฎกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ก�ำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ โรงเรียนในเครือบดินทรเดชา จึงก�ำหนดระเบียบปฏิบัติของนักเรียน ดังนี้ ก. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ๑. นักเรียนชาย ก. ผม ให้ปฏิบัติตามระเบียบทรงผมในเครือบดินทรเดชา หรือตามประกาศของสถานศึกษา ข. เสื้อ เสื้อเชิ้ตสีขาว ผ้าขาวเกลี้ยงไม่บางเกินสมควร ตัดตัวตรง ไม่รัดรูป ผ่าอกตลอด และสาบที่อกตลบออกด้านนอกกว้าง ๓ เซนติเมตร ใช้กระดุมสีขาวกลมแบน ขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลาง ไม่เกิน ๑ เซนติเมตร แขนสั้นเพียงข้อศอก มีกระเป๋าทางอกซ้าย ๑ ใบ และมีสาบ ไหล่ ไม่มีจีบหรือเกล็ดหลัง ไม่อนุญาตให้ใช้ผ้าดิบหรือผ้าลินิน และเสื้อต้องมีขนาดพอเหมาะกับ ร่างกายตนเองเท่านั้น เก็บชายเสื้อในกางเกง และไม่ดึงชายเสื้อลงมาปิดแนวเข็มขัด ค. กางเกง ใช้ผ้าโทเรสีด�ำ ขาสั้นเพียงเหนือเข ่า เหนือกึ่งกลางลูกสะบ้าประมาณ ๕ เซนติเมตร เมื่อยืนตรงมีจีบข้างหน้าข้างละ ๒ จีบ ส่วนกว้างของขากางเกง เมื่อยืนตรงห่าง จากขาตั้งแต่ ๘ เซนติเมตรถึง ๑๒ เซนติเมตร ตามขนาดของขา ปลายขาพับชายเข้าข้างในกว้าง ๕ เซนติเมตร ผ่าตรงหน้าส�ำหรับติดซิปซ่อนไว้ข้างใน มีกระเป๋าด้านข้าง ห้ามมีกระเป๋าด้านหลัง ต้องตัดให้ยาวเพื่อคาดเข็มขัดได้ตรงเอว หูเข็มขัดไม่ใหญ่หรือเล็กเกินไป ไม่ใช้หูเข็มขัดคู่ ไม่อนุญาต ให้ใช้ผ้าเวสปอยท์ผ้าลายสอง ผ้าเสิร์ท ผ้ายีนส์และต้องสวมกางเกงที่มีขนาดเหมาะกับร่างกาย ตนเองเท่านั้น โดยความยาวของกางเกงประมาณกึ่งกลางลูกสะบ้า ง. เข็มขัด ใช้เข็มขัดหนังสีด�ำขนาดกว้างตั้งแต่ ๓.๕ ถึง ๔ เซนติเมตร หัวเข็มขัดสีเงินรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ให้มีเข็มส�ำหรับสอดรูเข็มขัดเพียงเข็มเดียว มีปลอกหนังสีเดียวกับเข็มขัด ส�ำหรับ สอดปลายเข็มขัด และไม่มีสลักลวดลายใดๆ ทั้งสิ้น จ. รองเท้า ผ้าใบหุ้มส้นสีด�ำล้วนชนิดผูก และที่ร้อยเชือกต้องให้เป็นสีด�ำมีรูร้อยเชือก ๔-๖ คู่ ห้ามสวมรองเท้ามีลวดลายหรือหนังกลับ ห้ามเหยียบส้นรองเท้าและต้องผูกเชือก ให้เรียบร้อย ฉ. ถุงเท้า สีขาวแบบไม่พับขอบ ความยาวไม่เกินครึ่งแข้ง ห้ามใช้ถุงเท้าที่ท�ำด้วยผ้า ลูกฟูกชนิดหนาหรือถุงเท้าที่มีลวดลาย ห้ามพับ หรือม้วนถุงเท้า
46 คนดีศรีบดินทร ๒. นักเรียนหญิง ก. ผม ให้ปฏิบัติตามระเบียบทรงผมในเครือบดินทรเดชา หรือตามประกาศของสถานศึกษา กรณีนักเรียนหญิงที่ไว้ผมยาวให้รวบผม ใช้โบว์ชนิดผูก หรือโบว์ส�ำเร็จรูปตามแบบที่สถานศึกษา ก�ำหนด ขนาดความกว้าง ๑-๑.๕ นิ้ว โดยนักเรียนชั้น ม.๑ ใช้โบว์สีขาว ม.๒ ใช้โบว์สีน�้ำตาล ม.๓ ใช้โบว์สีน�้ำเงิน เป็นโบว์ชนิดผูกไม่อนุญาตให้ใช้โบว์ส�ำเร็จรูป ข. เสื้อ ใช้ผ้าขาวเกลี้ยง ไม่บางเกินควร เสื้อแบบคอพับในตัว (คอปกทหารเรือ) ลึกให้ พอสวมศีรษะได้สะดวก สาบตลบเข้าข้างใน ปกขนาด ๑๐ เซนติเมตร ใช้ผ้าสองชิ้นเย็บแบบ เข้าถ�้ำ แขนเสื้อยาวเหนือข้อศอก ปลายแขนจีบ ๖ จีบ กลับกันข้างละ ๓ จีบ ขอบแขน กว้าง ๓ เซนติเมตร ขนาดของตัวเสื้อตั้งแต่ใต้แขนถึงขอบล่างมีความกว้างพอเหมาะกับล�ำตัวไม่รัดเอว ริมขอบล่างด้านหน้าข้างขวาติดกระเป๋าทับพับชายเสื้อกว้างไม่เกิน ๒ เซนติเมตร ชายเสื้อยาว เพียงข้อมือเมื่อเหยียดตรง ผูกคอด้วยผ้าสีกรมท่าชายสามเหลี่ยมขนาดกว้างตั้งแต่ ๑๒-๑๕ เซนติเมตร ยาวตั้งแต่ ๖๐-๘๐ เซนติเมตร เงื่อนกะลาสีให้ผ้าที่ผูกอยู่ห่างจากคอประมาณ ๑ ฝ่ามือ และ ไม่สวมเสื้อไหล่ตก ไม่ใช้ผ้าดิบหรือผ้าลินิน และต้องสวมเสื้อทับใน ค. กระโปรง ใช้ผ้าสีกรมท่า เนื้อผ้าเรียบ ตัดแบบธรรมดา ด้านหน้าและหลังจับเป็นจีบ ข้างละ ๓ จีบ จีบลึก ๑.๕ นิ้ว หันจีบออกด้านนอก เย็บทับบนจีบจากใต้ขอบกระโปรงระหว่าง ๖-๑๐ เซนติเมตร เว้นระยะความกว้างตรงกลางพองาม ให้ชายกระโปรงคลุมเข่าเลยลงมา ประมาณ “ครึ่งหน้าแข้ง” ไม่สวมกระโปรงสั้น หรือยาวเกินไป ไม่ใช้ผ้าลินิน ผ้าเวสปอยท์ผ้าลาย สองหรือผ้าฝ้าย ง. รองเท้า ใช้รองเท้าหนังหุ้มส้นสีด�ำ มีสายรัดหลังเท้า ไม่มีลวดลาย ส้นสูง ไม่เกิน ๒ เซนติเมตร อนุญาตให้สวมรองเท้าพลศึกษา ในวันที่เรียนพลศึกษาเท่านั้น จ. ถุงเท้า ใช้ถุงเท้าสีขาว แบบเรียบไม่มีลวดลาย ห้ามใช้ถุงเท้าที่ท�ำด้วยผ้าลูกฟูกชนิด หนา และให้พับขอบถุงเท้าลงเหนือข้อเท้า กว้างประมาณ ๑.๕ นิ้ว ข. นักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑. นักเรียนชาย ก. ผม ให้ปฏิบัติตามระเบียบทรงผมในเครือบดินทรเดชา หรือตามประกาศของสถานศึกษา ข. เสื้อ เสื้อเชิ้ตสีขาวเกลี้ยงไม่บางเกินสมควร ต้องตัดตรง ไม่รัดรูป ผ่าอกตลอด และสาบที่อกตลบออกด้านนอกกว้าง ๓ เซนติเมตร ใช้กระดุมสีขาวกลมแบน ขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลางไม่เกิน ๑ เซนติเมตร แขนสั้นเพียงข้อศอก มีกระเป๋าทางอกซ้าย ๑ ใบ และมีสาบ ไหล่ไม่มีจีบหรือเกล็ดหลัง ไม่อนุญาตให้ใช้ผ้าดิบหรือผ้าลินิน การสวมเสื้อ ต้องเก็บชายเสื้อไว้ใน กางเกงให้มองเห็นเข็มขัดได้รอบตัว
คนดีศรีบดินทร 47 ค. กางเกง ใช้ผ้าโทเรสีด�ำ ขาสั้นเพียงเหนือเข ่า พ้นกึ่งกลางลูกสะบ้าประมาณ ๕ เซนติเมตร เมื่อยืนตรงห่างจากขาตั้งแต่ ๘ เซนติเมตรถึง ๑๒ เซนติเมตร ผ่าตรงหน้าส�ำหรับ ติดซิปซ่อนไว้ข้างใน มีกระเป๋าด้านข้าง ข้างละ ๑ ใบ ห้ามมีกระเป๋าด้านหลัง ต้องตัดให้ เป้ากางเกงยาวเพื่อคาดเข็มขัดได้ตรงเอว หูเข็มขัดกว้าง ๑ เซนติเมตร ไม่ใช้หูเข็มขัดคู่ และไม่มี ลวดลายใดๆ ทั้งที่สายเข็มขัดและหัวเข็มขัด โดยความยาวของกางเกงประมาณกึ่งกลางลูกสะบ้า จ. รองเท้า ผ้าใบหุ้มส้นสีด�ำล้วนชนิดผูก และที่ร้อยเชือกต้องให้เป็นสีด�ำมีรูร้อยเชือก ๔-๖ คู่ ห้ามสวมรองเท้ามีลวดลายหรือหนังกลับ ห้ามเหยียบส้นรองเท้าและต้องผูกเชือก ให้เรียบร้อย ฉ. ถุงเท้า สีขาวไม่พับขอบ ความยาวไม่เกินครึ่งแข้ง ห้ามใช้ถุงเท้าที่ท�ำด้วยผ้าลูกฟูก ชนิดหนา หรือถุงเท้าที่มีลวดลายหรือเครื่องหมายใดๆ ห้ามพับหรือม้วนถุงเท้า ๒. นักเรียนหญิง ก. ผม ให้ปฏิบัติตามระเบียบทรงผมในเครือบดินทรเดชา หรือตามประกาศของสถานศึกษา กรณี นักเรียนหญิงที่ไว้ผมยาวให้รวบผม และผูกด้วยโบว์พื้นเรียบร้อย ๑ นิ้ว โดยนักเรียน ชั้น ม.๔ ใช้โบว์สีขาว ม.๕ ใช้โบว์สีน�้ำตาล ม.๖ ใช้โบว์สีน�้ำเงิน เป็นโบว์ชนิดผูกไม่อนุญาตให้ใช้ โบว์ส�ำเร็จรูป ข. เสื้อ คอเชิ้ตผ้าขาวเกลี้ยง ใช้ผ้าหนาพอที่จะไม่เห็นเสื้อชั้นใน (ต้องสวมเสื้อทับใน) ที่ ปกเสื้อท�ำเป็นสาบตลบเข้าข้างในกว้าง ๓ เซนติเมตร ปลายแขนเสื้อยาว เหนือข้อศอกประมาณ ๔ เซนติเมตร ไม่มีสาบด้านหลังตัวเสื้อ ไม่มีเกล็ด ไม่รัดรูป และไม่สวมเสื้อไหล่ตก ไม่ใช้ผ้าดิบ หรือผ้าลินิน การสวมเสื้อต้องเก็บชายเสื้อไว้ในกระโปรงให้มองเห็นเข็มขัดได้รอบตัว ค. กระโปรง ใช้ผ้าสีกรมท่า ด้านหน้าและหลังจับเป็นจีบ ข้างละ ๓ จีบ หันจีบออก ด้านนอก ความลึกของจีบประมาณ ๑.๕ นิ้ว เย็บทับบนจีบจากใต้ขอบกระโปรงระหว่าง ๖-๑๐ เซนติเมตร และชายกระโปรงคลุมเข่าเลยเข่าลงมาประมาณครึ่งหน้าแข้ง ไม่สวมกระโปรงสั้น หรือยาวเกินไป สวมเสื้อระดับเอวไม่พับขอบ ไม่ใช้ผ้าลินิน ผ้าเวสปอยท์ผ้าลายสองหรือผ้าฝ้าย ง. เข็มขัด ใช้เข็มขัดสีด�ำไม่มีลวดลาย กว้างตั้งแต่ ๓.๕ - ๔ เซนติเมตร ยาวตามส่วน ขนาดของตัวนักเรียน หัวสี่เหลี่ยมผืนผ้า แบบชนิดหัวเข็มขัดใช้หนังสีด�ำหุ้ม มีปลอกหนังขนาด กว้าง ๑.๕ เซนติเมตรส�ำหรับสอดปลายเข็มขัด จ. รองเท้า ใช้รองเท้าหนังหุ้มส้นสีด�ำ แบบหัวมนชนิดมีสายรัดเท้า ไม่มีลวดลาย ส้นรองเท้าสูงไม่เกิน ๒ เซนติเมตร ฉ. ถุงเท้า ใช้ถุงเท้าสั้นสีขาว แบบเรียบไม่มีลวดลาย ห้ามใช้ถุงเท้าที่ท�ำด้วยผ้าลูกฟูก ชนิดหนาและให้พับขอบถุงเท้าลงเหนือข้อเท้ากว้างประมาณ ๑.๕ นิ้ว
48 คนดีศรีบดินทร เครื่องแบบพลศึกษา เสื้อ ทั้งชายและหญิงใช้เสื้อโปโลสีกรมท่า มีตราพระเกี้ยว หรือตรามงกุฎขัตติยราชนารี ที่กระเป๋าด้านซ้ายถูกต้องตามแบบของโรงเรียน ใช้สวมมาโรงเรียนในวันที่มีเรียนพลศึกษาเท่านั้น การสวมเสื้อพลศึกษาทั้งชายและหญิงไม่ต้องทับชายเสื้อไว้ในขอบกางเกงหรือกระโปรง กางเกง ใช้กางเกงวอร์มขายาวสีกรมท่า ตามแบบที่โรงเรียนก�ำหนด รองเท้า ใช้รองเท้าด�ำตามเครื่องแบบนักเรียน นักเรียนหญิงรองเท้าผ้าใบหุ้มส้นสีขาว ล้วนและถุงเท้าสีขาวแบบเรียบ นักเรียนที่ใช้รองเท้าขาวต้องเป็นผ้าใบขาวเรียบ ไม่มีลวดลาย และเป็นรองเท้าผ้าใบชนิดผูกเชือกเท่านั้น กระเป๋าส�ำหรับใส่หนังสือ นักเรียนทุกคนต้องใช้เป้ตามแบบที่ทางโรงเรียนก�ำหนด ส�ำหรับอุปกรณ์การเรียนอื่นๆ ให้ใช้กระเป๋าเสริมของทางโรงเรียนควบคู่ไปกับเป้ได้ ไม่อนุญาตให้ใช้กระเป๋าใส่หนังสือแบบอื่น เด็ดขาด เครื่องหมาย ปักอักษร บ.ด., บ.ด.๒, นมร.บ.ด., บ.ด.๔, บ.ด.น. หรือ บ.ด.ส. ของสถาบันไว้บนอกเสื้อ ด้านขวา ประมาณแนวกระดุมเม็ดที่ ๒ หรือห่างจากตะเข็บไหล่ประมาณ ๑๒ เซนติเมตร ปักด้วยไหมสีน�้ำเงินตามขนาดที่โรงเรียนก�ำหนด นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั้งชายและหญิง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี), โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒, โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔, โรงเรียน บดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี) นนทบุรีและโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี) สมุทรปราการ ติดเข็มพระเกี้ยวบนเสื้อเหนืออักษรย่อของโรงเรียนประมาณ ๑.๕ เซนติเมตร ส�ำหรับนักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งชายและหญิง โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา ติดเข็มมงกุฎ ขัตติยราชนารีทับอักษรย่อ นมร.บ.ด. ของโรงเรียน
49 คนดีศรีบดินทร ๑.๕ ๙ ๓.๕-๔ ๕ ๒๑ เครื่องแบบการแต่งกายนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น คนดีศรีบดินทร 49
50 คนดีศรีบดินทร ๑.๕ ๙ ๑ ม.๓ ม.๒ ๑ ๓ ๑.๕ เครื่องแบบการแต่งกายนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 50 คนดีศรีบดินทร
51 คนดีศรีบดินทร ๑.๕ ๙ ๓.๕-๔ ๒๑ ๕ เครื่องแบบการแต่งกายนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย คนดีศรีบดินทร 51
52 คนดีศรีบดินทร ๑.๕๑.๕ ๓.๕-๔ ๑ม.๔ ม.๕ ม.๖ ๓ ๑.๕ เครื่องแบบการแต่งกายนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 52 คนดีศรีบดินทร
คนดีศรีบดินทร 53 ระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียน ของโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา เพื่อปลูกฝังและอบรมให้ลูกบดินทรเป็นผู้มีระเบียบและปฏิบัติตนถูกต้องเหมาะสม กับสภาพนักเรียน และเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาต่อในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของแต่ละโรงเรียนโดยด�ำเนินการในรูปของคณะกรรมการ โดยอาศัย ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงก�ำหนด ให้ใช้ระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียนของโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา ดังนี้ ระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียนของโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา ภาคที่ ๑ ข้อก�ำหนดทั่วไป ข้อ ๑ โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนที่กระท�ำผิดดังนี้ (๑) ว่ากล่าวตักเตือน (๒) ท�ำทัณฑ์บน (๓) ตัดคะแนนความประพฤติ (๔) ท�ำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ ๒ โรงเรียนก�ำหนดให้นักเรียนทุกคนมีคะแนนความประพฤติคนละ ๑๐๐ คะแนน ตลอด เวลาที่ศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อ ๓ เมื่อนักเรียนกระท�ำความผิด โดยถูกตัดคะแนน จะมีผลต่อนักเรียน ดังนี้ (๑) เมื่อนักเรียนถูกตัดคะแนนรวมถึง ๓๐ คะแนน เชิญผู้ปกครองมารับทราบผล การลงโทษตามข้อ ๑ (๒) และ/หรือ (๒) ตัดคะแนนรวมถึง ๕๐ คะแนน เชิญผู้ปกครองมารับทราบผลการลงโทษตาม ข้อ ๑ (๔) หมายเหตุ คะแนนพฤติกรรมที่ถูกตัดมีผลต่อการพิจารณาให้ศึกษาต่อระดับชั้น ม.๔ และ มีผลต่อการประเมินคุณลักษณะอันประสงค์ของทุกปี ข้อ ๔ เมื่อนักเรียนกระท�ำความผิด ให้ครูผู้พบเห็นลงโทษได้ทันทีตามระเบียบการหรือแจ้ง การกระท�ำความผิดนั้นๆ เพื่อให้งานกิจการนักเรียนลงโทษ ข้อ ๕ ในกรณีนักเรียนกระท�ำความผิด และถูกตัดคะแนนไปแล้ว โรงเรียนอาจใช้วิธีการซ่อม พฤติกรรม โดยก�ำหนดค่าของคะแนนไว้เฉพาะกับกิจกรรมนั้นเป็นกรณีไปก็ได้ ข้อ ๖ ความผิดที่ไม ่ได้ก�ำหนดไว้ชัดแจ้งในระเบียบ ให้คณะกรรมการงานกิจการนักเรียน ใช้ดุลยพินิจพิจารณาลงโทษตามความหนักเบาของการกระท�ำความผิด แล้วเสนอต่อ ผู้อ�ำนวยการเพื่อสั่งการต่อไป
54 คนดีศรีบดินทร ภาคที่ ๒ ความผิดและการลงโทษ ลักษณะของการกระท�ำผิด ๑.๑) มีหรือใช้เครื่องประดับมีค่า หรือไม่เหมาะสมต่อการเป็น นักเรียน ๑.๒) ผิดระเบียบเกี่ยวกับการแต่งกาย ทุกประเภท เช่น ไว้เล็บยาว ตกแต่งเล็บแฟชั่น ต่อเล็บ ท�ำสีเล็บ การสักลาย แต่งหน้าเกินความเหมาะสม ๑.๓) ทรงผมผิดระเบียบแก้ไขได้เช่น ซอย ต่อผม กัดหรือเคลือบ สีผม โกนผม ๑.๔) ทรงผมผิดระเบียบแก้ไขยาก เช่น ซอย กัดหรือเคลือบสี สีผม โกนผม ๑.๕) ไม่ประดับเข็ม (ม.ปลาย) ๑.๖) ใช้กระเป๋าผิดระเบียบ ๒.๑) มาโรงเรียนสายโดยไม่มีเหตุ จ�ำเป็น ๒.๒) หนีแถว หรือหนีการประชุม หนีการเข้าร่วมกิจกรรมที่ โรงเรียนจัด ๒.๓) หนีเรียน (ไม่เข้าเรียน) ๒.๔) หนีโรงเรียน (หนีออกนอกบริเวณโรงเรียน) ๒.๕) ใช้เครื่องมือสื่อสารและ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิด ในเวลาเรียนและในเวลา ร่วมกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน โดยไม่ได้รับอนุญาต การลงโทษ ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน ตักเตือน ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน ตัดไม่เกิน ๒๐ คะแนน ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน ตัดไม่เกิน ๑๐ คะแนน ตัดไม่เกิน ๑๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๒๐ คะแนน ตัดไม่เกิน ๒๐ คะแนน การติดตามแก้ไข ยึดและเชิญผู้ปกครอง มารับคืนภายใน ๗ วัน ถ้าเกินจากนี้ทางโรงเรียน จะไม่รับผิดชอบ ให้โอกาสแก้ไข ๑ วัน ให้โอกาสแก้ไข ๑ วัน รายงานตัวตามก�ำหนด เพื่อแก้ไขแจ้งผู้ปกครอง รับทราบ ให้แก้ไขทันที ยึดและเชิญผู้ปกครอง มารับคืนภายใน ๗ วัน มาสายมากกว่า ๕ ครั้ง เชิญผู้ปกครองมา รับทราบ แจ้งผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบ ยึดและเชิญผู้ปกครอง มารับคืนภายใน ๗ วัน ประเภทความผิด ๑. การแต่งกาย ๒. การเรียน
คนดีศรีบดินทร 55 ลักษณะของการกระท�ำผิด ๒.๖) ไม่มีอุปกรณ์การเรียน ไม่น�ำกระเป๋ามาโรงเรียน ๒.๗) ก่อความร�ำคาญในห้องเรียน ๒.๘) เล่นบนอาคารเรียน ๒.๙) กระท�ำความผิดในการสอบ หรือทุจริตในการสอบ ๓.๑) แสดงวาจาล้อเลียน ส่อเสียด ด่าทอ และใช้ค�ำหยาบ ๓.๒) ใช้วาจาก้าวร้าวต่อบุคคลอื่น ๓.๓) แสดงท่าล้อเลียน ส่อเสียด ข่มขู่อาฆาต เพื่อให้เกิดความ กลัวหรือประสงค์ร้าย ๓.๔) มีพฤติกรรมข่มขู่ เพื่อเรียกร้อง ทรัพย์สินอื่นใด ๓.๕) แสดงกิริยาตามข้อ ๓.๑, ๓.๒, ๓.๓ ต่อครู ๓.๖) อยู่ร่วมเหตุการณ์ทะเลาะวิวาท (เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่า เข้าไปเพื่อ ระงับเหตุนั้น) ๓.๗) พกพาอาวุธหรือสิ่งของซึ่งอาจ ใช้เป็นอาวุธเข้ามาในโรงเรียน - หากอาวุธดังกล่าวเป็นอาวุธ ปืนหรือวัตถุระเบิด การลงโทษ - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๔๐ คะแนน - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน ตัดไม่เกิน ๑๐ คะแนน ตัดไม่เกิน ๒๐ คะแนน ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน - ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน การติดตามแก้ไข ติดตามพฤติกรรม แจ้งครูที่ปรึกษา ติดตามพฤติกรรม ถ้ามีอุปกรณ์การเล่น ให้ยึด เชิญผู้ปกครองรับทราบ แจ้งครูที่ปรึกษา ติดตามพฤติกรรม เชิญผู้ปกครองรับทราบ และหาทางแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ เพื่อร่วมแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ เพื่อร่วมแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ เพื่อร่วมแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ เพื่อร่วมแก้ไข - ยึดอาวุธ - เชิญผู้ปกครองรับทราบ - เชิญผู้ปกครองรับทราบ มติของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน ประเภทความผิด ๓. ความประพฤติ
56 คนดีศรีบดินทร ลักษณะของการกระท�ำผิด ๓.๘) ร่วมทะเลาะวิวาทหรือยุยง ส่งเสริมให้เกิดการทะเลาะ วิวาท - หากการทะเลาะวิวาท เกิดขึ้นภายนอกโรงเรียน - หากมีอาวุธหรือพกพาอาวุธ เข้ามาในเหตุการณ์ ๓.๙) ท�ำร้ายจิตใจผู้อื่นให้ได้รับ ความอับอายหรือเสียชื่อเสียง ๓.๑๐) ท�ำร้ายร่างกายหรือร่วมท�ำร้าย ผู้อื่น ๓.๑๑) จัดท�ำเผยแพร่หรือมีไว้ใน ครอบครอง ซึ่งคลิปวิดีโอ ที่ผิดกฎหมายหรือผิดศีลธรรม อันดีงาม ๔.๑) ครอบครอง ตัดต่อ แต่งเติม ดัดแปลงภาพหรือสื่อวีดีโอ ที่ส่อลักษณะลามกอนาจาร ๔.๒) แสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสม ทางเพศ การลงโทษ - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๔๐ คะแนน - ผู้ปกครองรับไป ท�ำกิจกรรม - ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน - ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๒๐ คะแนน - ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน - ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน ตัดไม่เกิน ๒๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน การติดตามแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ เพื่อร่วมแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ มติของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน เชิญผู้ปกครองรับทราบ มติของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน แจ้งครูที่ปรึกษาติดตาม พฤติกรรม เชิญผู้ปกครองรับทราบ มติของคณะกรรมการ กลุ่มงานกิจการนักเรียน เชิญผู้ปกครองรับทราบ มติของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน เชิญผู้ปกครองรับทราบ เพื่อร่วมกันแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ (ในกรณีท�ำซ�้ำ) ประเภทความผิด ๔. พฤติกรรม ทางเพศ
คนดีศรีบดินทร 57 ลักษณะของการกระท�ำผิด ๔.๓) กระท�ำอนาจาร ๔.๔) อยู่ในที่ลับตาสองต่อสอง ในลักษณะชู้สาว ๔.๕) มีพฤติกรรมทางเพศถึงขั้น มีเพศสัมพันธ์ ๕.๑) เข้าไปในแหล่งอบายมุขหรือ สถานที่ไม่เหมาะสมกับ สภาพนักเรียน ๕.๒) มีอุปกรณ์การพนันหรือเล่น การพนัน หรือเข้าไปอยู่ในแหล่ง ที่เล่นเกมส์การพนัน ๕.๓) สูบหรือมีบุหรี่ทุกประเภท ในครอบครอง รวมทั้งอุปกรณ์ ที่ใช้เสพ ๕.๔) ดื่มหรือมีเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์หรือมึนเมา ๕.๕) เสพหรือมีสิ่งเสพติดใน ครอบครอง รวมทั้งอุปกรณ์ ที่ใช้เสพ ๕.๖) จ�ำหน่ายยาเสพติดหรือ สิ่งเสพติด (ประเภท ๑-๕) ๖.๑) ท�ำให้ทรัพย์สินของผู้อื่นหรือ สาธารณสมบัติเสียหาย ๖.๒) น�ำทรัพย์สินของผู้อื่นไปใช้ โดยพลการ การลงโทษ - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๔๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๔๐ คะแนน ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน ตัดไม่เกิน ๒๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๔๐ คะแนน ด�ำเนินการตาม กฎหมาย ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน การติดตามแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบ เพื่อแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ เพื่อแก้ไข หรือด�ำเนินการ แก้ไขตามกฎหมาย ก�ำหนด เชิญผู้ปกครองรับทราบ มติของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน ด�ำเนินการตามกฎหมาย เชิญผู้ปกครองรับทราบ และชดใช้ค่าเสียหาย หากเสื่อมสภาพต้อง ชดใช้ ประเภทความผิด ๕. อบายมุข และสิ่งเสพติด ๖. เกี่ยวกับ ทรัพย์สิน
58 คนดีศรีบดินทร ลักษณะของการกระท�ำผิด ๖.๓) ขีดเขียนหรือท�ำให้เกิดความ เสียหายใดๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน ส่วนรวม ๖.๔) ยักยอกทรัพย์, ลักทรัพย์, ฉ้อโกงทรัพย์, กรรโชกทรัพย์ ๗.๑) น�ำอาหารและอุปกรณ์ รับประทานออกนอกโรงอาหาร โดยไม่ได้รับอนุญาต ๗.๒) ไม่เก็บภาชนะหลังรับประทาน อาหารเสร็จแล้ว ๗.๓) รับประทานอาหารบน อาคารเรียน ๗.๔) สั่งซื้ออาหารและเครื่องดื่มจาก ภายนอกเข้ามารับประทาน ในโรงเรียน ๗.๕) ท�ำให้เกิดความสกปรกหรือ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ๗.๖) ขึ้นและลงอาคารนอกเหนือ จากเวลาที่ก�ำหนดโดยไม่ได้รับ อนุญาต ๗.๗) ยื่นส่วนใดส่วนหนึ่งของ ร่างกายออกนอกช่องลมตาม อาคารหรือเล่นโหนราวบันได อาจก่อให้เกิดอันตราย ๗.๘) ออกไปนอกอาคารตามกันสาด ของอาคารเรียน ๘.๑) ปลอมแปลงลายเซ็นผู้อื่น ๘.๒) แก้ไขเอกสารของโรงเรียน ผู้ปกครองหรือบุคคลอื่น หรือท�ำเอกสารปลอม การลงโทษ ตัดไม่เกิน ๒๐ คะแนน ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๑๐ คะแนน - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน ตัดไม่เกิน ๑๐ คะแนน - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน - ตัดไม่เกิน ๑๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน การติดตามแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ ร่วมแก้ไขหรือชดใช้ราคา เชิญผู้ปกครองรับทราบ มติของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน แจ้งครูที่ปรึกษาติดตาม พฤติกรรม แจ้งครูที่ปรึกษาติดตาม พฤติกรรม แจ้งครูที่ปรึกษาติดตาม พฤติกรรม แจ้งครูที่ปรึกษาติดตาม พฤติกรรม ต้องแก้ไขให้อยู่ในสภาพ คงเดิมหรือชดใช้ราคา แจ้งครูที่ปรึกษาติดตาม พฤติกรรม แจ้งครูที่ปรึกษาติดตาม พฤติกรรม แจ้งครูที่ปรึกษาติดตาม พฤติกรรม เชิญผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบ ประเภทความผิด ๗. ความสะอาด และการใช้ อาคาร ๘. ด้านเอกสาร
คนดีศรีบดินทร 59 ลักษณะของการกระท�ำผิด ๘.๓) น�ำเอกสารที่โรงเรียนออกให้ไปใช้ ในทางที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็น ไปตามที่โรงเรียนมอบหมาย ๘.๔) ปกปิดการติดต่อระหว่าง ผู้ปกครองกับโรงเรียนด้วย ประการใดๆ หรือให้ข้อมูล ที่เป็นเท็จ น�ำยานพาหนะส่วนตัว เช่น รถยนต์ ฯลฯ มาโรงเรียน ๑๐.๑) เดินรับประทานอาหารหรือ ส่งเสียงดังในที่สาธารณะ ๑๐.๒) พูด เขียน หรือกระท�ำการ ในสิ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อชื่อเสียงของโรงเรียน ๑๐.๓) ให้หรือยินยอมให้ผู้อื่น สวมเครื่องแบบของโรงเรียน ๑๐.๔) กระท�ำการใดๆ ท�ำให้เสื่อมเสีย ชื่อเสียงของโรงเรียนอย่าง ร้ายแรง การกระท�ำใดใดที่เสื่อมเสียชื่อเสียงของ ตนเองหรือผู้อื่น โดยใช้สังคมออนไลน์เช่น - Facebook - Worid wide web - Line - X - Instargram - Tik Tok - Discord ฯลฯ ความผิดอื่นใดที่มิได้ระบุไว้โดยชัดแจ้ง การลงโทษ - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน ตัดไม่เกิน ๒๐ คะแนน - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๕ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน มติของ คณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน - ตักเตือน - ตัดไม่เกิน ๓๐ คะแนน - ท�ำทัณฑ์บน - ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม มติของ คณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน อยู่ในดุลยพินิจของ คณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน การติดตามแก้ไข เชิญผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบ เพื่อร่วมกันแก้ไข แจ้งครูที่ปรึกษาติดตาม พฤติกรรม เชิญผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบ มติของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน แจ้งครูที่ปรึกษา ติดตามพฤติกรรม เชิญผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบ เชิญผู้ปกครองรับทราบมติ ของคณะกรรมการ งานกิจการนักเรียน ตามมติคณะกรรมการ กลุ่มงานกิจการนักเรียน ก�ำหนด ประเภทความผิด ๙. ด้านยานพาหนะ ๑๐. ด้านชื่อเสียง ของโรงเรียน ๑๑. ด้านการ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และ สังคมออนไลน์ ในทางเสื่อมเสีย ต่อชื่อเสียงของ โรงเรียนและ ผู้อื่น ๑๒. ความผิดที่ อยู่ในการพิจารณา ของคณะกรรมการ
60 คนดีศรีบดินทร แนวปฏิบัติทั่วไปของลูกบดินทร จากปรัชญาที่ว่า “ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดีและมีความรู้” ลูกบดินทรต้องปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติที่ก�ำหนดไว้เพื่อประโยชน์ในการประพฤติตนให้เหมาะสมในการเรียนดังนี้ ๑. เรื่องทั่วไป ลูกบดินทร ต้องปฏิบัติตามแนวปฏิบัติดังนี้ ๑. เมื่อนักเรียนสวมเครื่องแบบนักเรียน ต้องแต่งกายให้ถูกต้องตามกฎระเบียบของ โรงเรียน และมีบัตรประจ�ำตัวนักเรียนติดตัวทุกครั้งเพื่อใช้ติดต่อทุกหน่วยงานของ โรงเรียน ๒. เมื่อนักเรียนอยู่ในเครื่องแบบนักเรียน จะต้องประพฤติตนให้เรียบร้อยส�ำรวมและ ใช้วาจาที่สุภาพ อ่อนน้อม ๓. เมื่อนักเรียนมาถึงโรงเรียนแล้ว ไม่อนุญาตให้ออกนอกบริเวณโรงเรียนแม้ว่า ยังไม่ถึงเวลาเข้าเรียน ๔. นักเรียนต้องมาโรงเรียนให้ทันตามเวลาที่ก�ำหนด ๕. การมาโรงเรียนในวันหยุด ๕.๑ นักเรียนจะต้องยื่นบัตรประจ�ำตัวนักเรียน ให้ครูหรือยามตรวจสอบ ๕.๒ กรณีนักเรียนมาท�ำกิจกรรมหรืองานที่ได้รับมอบหมายจากครูนักเรียนจะต้อง ได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองเป็นลายลักษณ์อักษร ๕.๓ การท�ำกิจกรรมให้แต่งกายสุภาพ ถ้าไม่สุภาพไม่อนุญาตให้เข้าโรงเรียน ควร เคารพต่อสถานที่ ไม่น�ำบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่นักเรียนเข้ามาในโรงเรียนโดย ไม่ได้รับอนุญาต ๕.๔ การเข้า - ออกโรงเรียนให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ๕.๕ ไม่อนุญาตให้ขึ้นอาคารเรียน ๕.๖ ไม่ท�ำให้เกิดความเสียหาย เช่น ท�ำลายทรัพย์สิน เล่นผิดสถานที่ฯลฯ ๖. การติดต่อราชการในโรงเรียน นักเรียนต้องแต่งกายเครื่องแบบนักเรียนที่ถูกต้องตาม ระเบียบโรงเรียน ๗. การเข้าโรงเรียนของนักเรียนในช่วงไม่มีการเรียนการสอน นักเรียนต้องแต่งกายตาม ที่โรงเรียนก�ำหนดหรือแต่งกายสุภาพ
คนดีศรีบดินทร 61 ๘. การน�ำอุปกรณ์มาโรงเรียน ๘.๑ อุปกรณ์การเรียน l นักเรียนจะต้องน�ำกระเป๋าหรือเป้ที่ใส่อุปกรณ์การเรียนครบถ้วนตามแบบ ที่โรงเรียนก�ำหนดเท่านั้น l ไม่อนุญาตให้น�ำกระเป๋าเป้หรืออุปกรณ์การเรียนใดๆ วางทิ้งไว้ตามสถานที่ ต่างๆ ยกเว้นห้องเรียน หรือสถานที่ที่โรงเรียนจัดเตรียมไว้ให้ l ไม่อนุญาตให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนทุกชนิดไว้ที่โรงเรียน ๘.๒ อุปกรณ์อื่นๆ ที่ไม่ได้ใช้ในการเรียน l ไม่อนุญาตให้นักเรียนน�ำมาโรงเรียน ยกเว้นได้รับอนุญาตจาก กลุ่มงานกิจการนักเรียน l ไม่อนุญาตให้นักเรียนน�ำอุปกรณ์หรือของมีค่าของฟุ่มเฟือยมาโรงเรียน ถ้าสูญหายทางโรงเรียนจะไม่รับผิดชอบ ๙. การท�ำความเคารพ ๙.๑ ก่อนออกจากบ้านและกลับถึงบ้านควรท�ำความเคารพบิดา มารดา หรือ ผู้ปกครอง ๙.๒ เมื่อพบครูให้นักเรียนท�ำความเคารพ ๙.๓ ขณะที่เริ่มพิธีการหน้าเสาธง l นักเรียนเข้าแถวให้เรียบร้อย ตามที่โรงเรียนก�ำหนด l ร่วมพิธีการด้วยอาการส�ำรวมเป็นระเบียบและตั้งใจกระท�ำอย่างแท้จริง l ให้นักเรียนหยุดการกระท�ำใดๆ จนกว่าจะเสร็จพิธี ๙.๔ เมื่อมีครูเข้ามาในห้องเรียน หัวหน้าห้องเป็นผู้บอกท�ำความเคารพ นักเรียน ทุกคนจะปฏิบัติตามด้วยการประนมมือพร้อมกล่าวค�ำว่า “สวัสดีครับ/ค่ะ” เมื่อหมดคาบเรียน หัวหน้าห้องจะต้องบอกว่า “นักเรียนท�ำความเคารพ” นักเรียนทุกคนจะปฏิบัติตาม ด้วยการประนมมือไหว้ พร้อมกล่าวค�ำว่า “ขอบคุณครับ/ค่ะ” ๙.๕ นักเรียนจะต้องแสดงความเคารพต่อผู้สอนด้วยกิริยามารยาทที่สุภาพและมี ความตั้งใจเรียน ๙.๖ เมื่อมีผู้มาเยือนโรงเรียนให้นักเรียนทุกคนแสดงความเคารพพร้อมกล่าวค�ำว่า “สวัสดีครับ/ค่ะ” และอ�ำนวยความสะดวกในฐานะที่เป็นเจ้าของบ้าน ๙.๗ ขณะที่นักเรียนเข้ารับของหรือรางวัลจากผู้ใหญ่ในพิธีการให้นักเรียนท�ำความ เคารพตามประเพณีนิยม
62 คนดีศรีบดินทร ๑๐. การท�ำเวร ๑๐.๑ นักเรียนต้องท�ำเวรห้องเรียนทุกเช้า พร้อมเปิดหน้าต่างห้องเรียน บริเวณที่จะต้องท�ำความสะอาด คือ l กระดานด�ำ รางชอล์ก l โต๊ะ เก้าอี้ครู l ป้ายนิเทศ l โต๊ะ เก้าอี้นักเรียน l บริเวณหน้าห้อง ๑๐.๒ ทุกครั้งที่ออกจากห้องเรียนจะต้องช่วยกันส�ำรวจห้องเรียนให้อยู่ในสภาพ ที่เรียบร้อย และปิดไฟ ปิดพัดลมทุกครั้งที่ออกจากห้องเรียน ๑๐.๓ เมื่อหมดเวลาคาบสุดท้ายในแต่ละวันนักเรียนจะต้องปฏิบัติหน้าที่ดังนี้ l ยกเก้าอี้ไว้บนโต๊ะ l ปิดหน้าต่าง l ปิดไฟ l ปิดพัดลม ๑๑. การเล่นภายในโรงเรียน ๑๑.๑ นักเรียนจะต้องเล่นตามสถานที่และเวลาที่โรงเรียนก�ำหนดเท่านั้น ๑๑.๒ ห้ามเล่นในสิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ตนเองและผู้อื่น ๑๒. การท�ำกิจกรรมอื่นๆ ในคาบเรียน ๑๒.๑ นักเรียนต้องมีหนังสืออนุญาตจากครูที่ให้นักเรียนท�ำกิจกรรม โดยแจ้ง ล่วงหน้าต่อครูประจ�ำวิชาของคาบสอนซึ่งขอท�ำกิจกรรม และเมื่อได้รับ อนุญาตแล้วจึงจะไปท�ำกิจกรรมได้ ๑๒.๒ การท�ำกิจกรรมอื่นในโรงเรียน นักเรียนต้องขออนุญาตจากทางโรงเรียน และเมื่อได้รับอนุญาตจึงจะท�ำกิจกรรมได้ ๑๓. การติดต่อกับบุคคลภายนอกของนักเรียน ๑๓.๑ ผู้ปกครองหรือบิดา มารดา มาพบนักเรียนให้ปฏิบัติตามที่โรงเรียนก�ำหนด คือ พบฝ่ายประชาสัมพันธ์หรืองานกิจการนักเรียน ๑๓.๒ ถ้าผู้อื่นที่มิใช่ผู้ปกครอง หรือบิดา มารดา ต้องติดต่อกับงานกิจการนักเรียน ก่อนทุกครั้ง ๑๔. การขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน ให้นักเรียนปฏิบัติดังนี้ ๑๔.๑ เมื่อผู้ปกครองสามารถมารับนักเรียนด้วยตนเองติดต่อได้ ที่งานกิจการนักเรียน
คนดีศรีบดินทร 63 ๑๔.๒ เมื่อผู้ปกครองไม่สามารถมารับนักเรียนด้วยตนเองได้ให้ผู้ที่มารับน�ำส�ำเนา หลักฐานต่อไปนี้มาด้วย l จดหมายของผู้ปกครอง l ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวผู้ปกครองพร้อมลายเซ็นรับรองและส�ำเนาบัตร ประจ�ำตัวของผู้มารับ l บัตรขออนุญาตของงานกิจการนักเรียน ใบขออนุญาตออกนอก บริเวณโรงเรียน ๑๔.๓ กรณีบัตรอนุญาตพิเศษ ให้อนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียนได้ ๑๕. การหยุดเรียน ๑๕.๑ เมื่อหยุดเรียน ๑ - ๓ วัน ส่งใบลากับครูที่ปรึกษาและน�ำส่งครูผู้สอนประจ�ำ วิชาที่ตนขาดเรียน เพื่อเป็นหลักฐานในการพิจารณาผ่อนผันจ�ำนวนคาบ เรียนที่ขาดไปเป็นรายวิชา ๑๕.๒ ถ้าหยุดเรียนมากกว่า ๓ วัน ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ ๑๕.๑ และแจ้งให้ โรงเรียนทราบ พร้อมทั้งปฏิบัติดังนี้ l กรณีลาป่วย ส่งใบลาพร้อมใบรับรองแพทย์ในวันแรกที่กลับมาเรียน ต่อครูที่ปรึกษา เพื่อแจ้งนายทะเบียน l กรณีลากิจ ส่งใบลาล่วงหน้าอย่างน้อย ๑ วัน ต่อครูที่ปรึกษาและครู ประจ�ำวิชา ๑๖. การขึ้น - ลง อาคาร ๑๖.๑ การขึ้นอาคารเรียน l ขึ้นอาคารเรียนเวลา ๐๖.๓๐ น. (อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ของโรงเรียน) l เวลาพักกลางวัน ม.ต้น และ ม.ปลาย ไม่อนุญาตให้นักเรียนขึ้นอาคาร เรียน เว้นแต่กรณีที่ต้องติดต่อครู ๑๖.๒ การลงอาคารเรียน l หมดคาบเรียนสุดท้าย ยกเว้นได้รับอนุญาตจากครูที่รับผิดชอบให้ ท�ำกิจกรรมอยู่บนอาคารเรียน l กรณีการสอบ นักเรียนที่สอบเสร็จก่อนเวลาที่ก�ำหนดให้นักเรียนลงจาก อาคารเรียนทุกครั้ง l อาคารเรียนจะปิดเวลา ๑๖.๓๐ น. (อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามบริบท ของโรงเรียน)
64 คนดีศรีบดินทร ๑๗. การเข้าห้องเรียน ๑๗.๑ นักเรียนต้องเข้าห้องเรียนตรงตามเวลาที่โรงเรียนก�ำหนดในตารางสอน ๑๗.๒ ไม่อนุญาตให้เข้าห้องเรียนขณะที่มีนักเรียนระดับชั้นอื่นมีการเรียนการสอน อยู่ในห้องเรียนนั้นๆ ๑๗.๓ ไม่อนุญาตให้นักเรียนออกนอกห้องขณะที่มีการเรียน ยกเว้นผู้สอนอนุญาต โดยมีบัตรอนุญาต ๑๗.๔ กรณีไม่มีครูสอน หัวหน้าห้อง รองหัวหน้าห้อง หรือตัวแทน แจ้งผู้รับผิดชอบ ทันที ๑๗.๕ นักเรียนที่ท�ำกิจกรรมภายนอกห้องเรียนจะต้องมีใบอนุญาตจากผู้สอนใน คาบนั้นๆ ๑๘. การปฏิบัติตนในด้านอื่นๆ ๑๘.๑ การใช้ห้องน�้ำ ขอให้ช่วยรักษาความสะอาดเพื่อส่วนรวม และช่วยกันรักษา สาธารณสมบัติ ๑๘.๒ ในห้องเรียนเมื่อลุกจากเก้าอี้ต้องเก็บเก้าอี้ไว้ใต้โต๊ะให้เรียบร้อย ถ้าเคลื่อน ย้ายเก้าอี้หรือโต๊ะให้ยกขึ้น ห้ามลากไปกับพื้นเพราะจะเกิดเสียงดังรบกวน ผู้อื่นและท�ำให้พื้นเสียหาย ๑๘.๓ ห้ามเล่นกีฬาทุกชนิดบนอาคารเรียนและห้องเรียน ให้เล่นกีฬาสนามต่างๆ ตามประเภทของกีฬานั้นๆ ๑๘.๔ ระเบียบเวลาจ�ำหน่ายอาหารนักเรียนตามเวลาที่โรงเรียนก�ำหนด ๒. การติดต่องานต่างๆ นักเรียนต้องแต่งกายด้วยเครื่องแบบนักเรียนที่ถูกระเบียบของโรงเรียน และแสดงบัตร ประจ�ำตัวเมื่อต้องติดต่อฝ่ายต่างๆ ทุกครั้ง s การติดต่อกลุ่มบริหารงบประมาณ ๑. เมื่อนักเรียนต้องช�ำระค่าธรรมเนียมต่างๆ ตลอดจนการบริจาคเงินทุกประเภท ๒. ทุกครั้งที่มีการจ่ายเงินนักเรียนต้องได้รับใบเสร็จรับเงิน นักเรียนต้องเก็บใบเสร็จ รับเงินเพื่อเป็นหลักฐานทุกครั้งที่ติดต่องานการเงิน s การติดต่อกลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารวิชาการท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนของครู และนักเรียน จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาเกณฑ์ต่างๆ ให้เข้าใจ เพื่อปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้องดังนี้
คนดีศรีบดินทร 65 ๑. ต้องเข้าเรียนในห้องเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนแต่ละวิชา ๒. ต้องเรียนซ�้ำเมื่อผลการเรียนเป็น “มส.” เพราะว่าเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ แต่มี เวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๖๐ ของเวลาเรียนในแต่ละวิชา ๓. ถ้าผลการเรียนเป็น “๐” มีสิทธิขอลงทะเบียนสอบแก้ตัวโดยปฏิบัติตามเกณฑ์ ที่โรงเรียนก�ำหนด ๔. นักเรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมทุกประเภทตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีเปลี่ยนแปลงกิจกรรม ติดต่อที่กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและปฏิบัติตาม ระเบียบของโรงเรียน s การติดต่องานทะเบียน ๑. การลงทะเบียนเรียน ๒. การเปลี่ยนชื่อ นามสกุลของนักเรียนและผู้ปกครอง ๓. การแก้ไข วัน เดือน ปีเกิด ๔. การเปลี่ยนชื่อตัว ยศ ของผู้ปกครอง ๕. การพักการเรียน การไปต่างประเทศ การขอใบรับรอง การขอระเบียนสะสม การสอบแก้ตัวและการลาออก s การติดต่องานกิจการนักเรียน ๑. เมื่อนักเรียนมาโรงเรียนหลังเวลา ๐๘.๐๐ น. ให้ติดต่อห้องงานกิจการนักเรียน เพื่อขออนุญาตเข้าเรียน ๒. เมื่อผู้ปกครองต้องการพบนักเรียนหรือน�ำนักเรียนออกจากโรงเรียน ๓. เมื่อนักเรียนต้องการปิดประกาศเอกสารของกิจกรรม ต้องได้รับอนุญาตโดยมี ลายเซ็นรับรองจากงานกิจการนักเรียน s การใช้บริการห้องสมุด เปิดบริการตั้งแต่เวลา ๐๖.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ทุกวัน เว้นวันหยุดราชการ ๐๗.๓๐ - ๑๒.๓๐ น. ทุกวันเสาร์ที่มีการเรียนซ่อมเสริม ๑. นักเรียนจะต้องใช้บัตรประจ�ำตัวนักเรียนในการยืม-คืนหนังสือ ๒. ปฏิบัติตามกฎระเบียบการใช้ห้องสมุดของโรงเรียน s การใช้บริการห้องพยาบาล งานพยาบาลเป็นงานที่มุ่งเน้นให้นักเรียนทุกคนมีสุขภาพดีเปิดบริการให้กับนักเรียน ด้านการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การดูแลผู้ป่วยที่มีอาการเป็นไข้เล็กน้อย การใช้บริการให้ปฏิบัติ ตามข้อปฏิบัติของแต่ละโรงเรียน ๓. การถือแนวปฏิบัติทั่วไปของโรงเรียนขึ้นอยู่กับความเหมาะสม โดยให้ถือตามบริบท หรือ นโยบายของแต่ละโรงเรียน
66 คนดีศรีบดินทร ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ความหมายของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ความหมายของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกระบวนการด�ำเนินงานดูแลช่วยเหลือ นักเรียนอย่างมีขั้นตอน พร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือการท�ำงานที่ชัดเจน โดยมีครูที่ปรึกษา เป็นบุคลากรหลักในการด�ำเนินการดังกล่าว และมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครู ที่เกี่ยวข้อง หรือบุคคลภายนอก รวมทั้งการสนับสนุนส่งเสริมจากโรงเรียน การดูแลช่วยเหลือ หมายรวมถึงการส่งเสริม การป้องกัน และการแก้ไขปัญหาโดยมี วิธีการ และเครื่องมือส�ำหรับครูที่ปรึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการด�ำเนินงานพัฒนา นักเรียน ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และปลอดภัยจากสารเสพติด
คนดีศรีบดินทร 67 กฎกระทรวง ก�ำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ�ำกัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๓๖ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้ กระท�ำได้โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ออกกฎกระทรวงไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ นักเรียนและนักศึกษาไม่ประพฤติตน ดังต่อไปนี้ (๑) หนีเรียนหรือออกนอกสถานศึกษาโดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน (๒) เล่นการพนัน จัดให้มีการเล่นการพนัน หรือมั่วสุมในวงการพนัน (๓) พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิด (๔) ซื้อ จ�ำหน่าย แลกเปลี่ยน เสพสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สิ่งมึนเมา บุหรี่ หรือยาเสพติด (๕) ลักทรัพย์กรรโชกทรัพย์ข่มขู่ หรือบังคับขืนใจเพื่อเอาทรัพย์บุคคลอื่น (๖) ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ท�ำร้ายร่างกายผู้อื่น เตรียมการหรือกระท�ำการใดๆ อันน่าจะ ก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยหรือขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน (๗) แสดงพฤติกรรมทางชู้สาวซึ่งไม่เหมาะสมในที่สาธารณะ (๘) เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณี (๙) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเที่ยวเตร่หรือรวมกลุ่ม อันเป็นการสร้าง ความเดือดร้อนให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น ข้อ ๒ ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษา ก�ำหนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียน และนักศึกษาได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงนี้ ให้ไว้ณ วันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ จาตุรนต์ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้คือ โดยที่มาตรา ๖๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ บัญญัติให้นักเรียนและนักศึกษาต้องประพฤติตนตามระเบียบ ของโรงเรียนหรือสถานศึกษาและตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง จึงจ�ำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
68 คนดีศรีบดินทร ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๕ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียน และนักศึกษาไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน และนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓ ข้อ ๔ ในระเบียบนี้ “ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความว่า ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อ�ำนวยการ อธิการบดีหรือหัวหน้าของโรงเรียนหรือสถานศึกษาหรือต�ำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นของโรงเรียน หรือสถานศึกษานั้น “กระท�ำความผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับของสถานศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติ ของนักเรียนและนักศึกษา “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระท�ำความผิด โดย มีความมุ่งหมายเพื่อการอบรมสั่งสอน ข้อ ๕ โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่กระท�ำความผิด มี๔ สถาน ดังนี้ (๑) ว่ากล่าวตักเตือน (๒) ท�ำทัณฑ์บน (๓) ตัดคะแนนความประพฤติ (๔) ท�ำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ ๖ ห้ามลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาด้วยวิธีการรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้ง หรือ ลงโทษด้วยความโกรธหรือด้วยความพยาบาท โดยให้ค�ำนึงถึงอายุของนักเรียนหรือนักศึกษา และความร้ายแรงของพฤติการณ์ประกอบการลงโทษด้วย
คนดีศรีบดินทร 69 การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให้เป็นไปเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติ ไม่ดีของนักเรียนหรือนักศึกษาให้รู้ส�ำนึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต่อไป ให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือที่ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมาย เป็นผู้มีอ�ำนาจในการลงโทษนักเรียน นักศึกษา ข้อ ๗ การว่ากล่าวตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษากระท�ำความผิดไม่ร้ายแรง ข้อ ๘ การท�ำทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับ สภาพนักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาหรือ กรณีท�ำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง และเกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา หรือฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษา หรือได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือนแล้ว แต่ไม่เข็ดหลาบ การท�ำทัณฑ์บนให้ท�ำเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบ ความผิดและรับรองการท�ำทัณฑ์บนไว้ด้วย ข้อ ๙ การตัดคะแนนความประพฤติให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนน ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษาก�ำหนด และให้ท�ำบันทึกข้อมูลไว้เป็น หลักฐาน ข้อ ๑๐ ท�ำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษา กระท�ำความผิดที่สมควรต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนด ข้อ ๑๑ ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้และให้มี อ�ำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ อดิศัย โพธารามิก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
70 คนดีศรีบดินทร ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ๑. มีความรักชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม ๓. กตัญญูต่อพ่อแม่ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ ๔. ใฝ่หาความรู้หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม ๕. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม ๖. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน ๗. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง ๘. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ ๙. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ท�ำ รู้ปฏิบัติตามพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๑๐. รู้จักด�ำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชด�ำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๙) รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจ�ำเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจ�ำหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี ๑๑. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออ�ำนาจฝ่ายต�่ำ หรือกิเลส มีความละอาย เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา ๑๒. ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ๑. รักชาติศาสน์กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์ ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการท�ำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ เกณฑ์พิจารณาสรุปผลการประเมินรวมทุกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แต่ละระดับการศึกษา ระดับ เกณฑ์การประเมิน ดีเยี่ยม (๓) ๑ ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จ�ำนวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต�่ำกว่าระดับดี ดี(๒) ๑ ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จ�ำนวน ๑-๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต�่ำกว่าระดับดีหรือ ๒ ได้ผลการประเมินระดับดีจ�ำนวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต�่ำกว่าระดับ ผ่าน หรือ ๓ ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จ�ำนวน ๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะ ใดได้ผลการประเมินต�่ำกว่าระดับ ผ่าน ผ่าน (๑) ๑ ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จ�ำนวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต�่ำกว่าระดับ ผ่าน หรือ ๒ ได้ผลการประเมินระดับดีจ�ำนวน ๔ คุณลักษณะ และ ไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต�่ำกว่าระดับ ผ่าน ไม่ผ่าน (๐) มีผลการประเมินคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งได้ระดับ ๐ เกณฑ์การพิจารณาอาจเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับแนวปฏิบัติและแนวทางการวัดและประเมินผลของแต่ละโรงเรียนก�ำหนด
คนดีศรีบดินทร 71 บทบาทหน้าที่ของสภานักเรียน ๑. เป็นผู้น�ำนักเรียนและมีส่วนร่วมในการด�ำเนินกิจกรรมเพื่อส่วนรวม ชุมชน และสังคม อีกทั้งชักชวนนักเรียนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียน ๒. ปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของตนเองและเพื่อนนักเรียน โดยใช้กระบวนการ ประชาธิปไตยและแนวทางสันติวิธี ๓. สืบสานความรู้ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของชาติ ๔. คิดริเริ่มโครงการที่เป็นประโยชน์สามารถปฏิบัติได้จริง และส่งผลต่อการพัฒนาโรงเรียน ๕. ประสานกับบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์และความก้าวหน้าที่นักเรียน ควรจะได้รับ ๖. รับผิดชอบกิจกรรมต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากทางโรงเรียน ๗. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์รวมทั้งเสนอแนวความคิดในการพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอน ๘. ดูแลทุกข์สุขของนักเรียน และร่วมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียน บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ๑. ร่วมสนับสนุนกิจกรรมของสถานศึกษาโดยผ่านความเห็นชอบจากผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ๒. ร่วมสร้างสายใยเชื่อมสัมพันธ์อันดีระหว่างครูและผู้ปกครอง ๓. สนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอนของสถานศึกษา ๔. ให้ข้อคิดเห็นและเสนอแนะต่อสถานศึกษาในเรื่องต่างๆ ที่จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียนและ สถานศึกษา ๕. จัดการประชุมกรรมการและผู้ปกครองในห้องเรียนตามความเหมาะสมอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง ๖. จัดท�ำท�ำเนียบนักเรียนและผู้ปกครอง ส่งมอบส�ำเนาให้เลขานุการกรรมการเครือข่าย ผู้ปกครองระดับชั้นเรียนและระดับโรงเรียน ๗. กรรมการเครือข่ายผู้ปกครองในระดับโรงเรียนจะต้องรวบรวมข้อมูลและกิจกรรมของแต่ละ ระดับชั้น น�ำเสนอโรงเรียนเพื่อด�ำเนินการต่อไป ๘. ให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองระดับโรงเรียนจัดการประชุมใหญ่คณะกรรมการ เครือข่ายผู้ปกครองทุกระดับ ตามความเหมาะสมอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง
72 คนดีศรีบดินทร คําสั่งโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ ที่ ๐๕๙/๒๕๖๗ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการจัดทําหนังสือ “คนดีศรีบดินทร” ปการศึกษา ๒๕๖๗ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เพื่อใหการจัดทําหนังสือ “คนดีศรีบดินทร” ปการศึกษา ๒๕๖๗ บรรลุตามวัตถุประสงคเปนแนวปฏิบัติรวมกัน ของนักเรียน ครู และผูปกครอง โดยกลุมบริหารงานบุคคลและกลุมบริหารทั่วไปของโรงเรียนในเครือบดินทรเดชาเปน ผูดําเนินการ อาศัยอํานาจตามความมาตรา ๓๙ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ และมาตรา ๒๗ แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงขอแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการ ดังนี้ ๑. คณะกรรมการอํานวยการ ๑) นางธัญมัย แฉลมเขตต ผูอํานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ ๒) นายสมพร สังวาระ ผูอํานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๓) นายกรวิทย เลิศศิริโชติ ผูอํานวยการโรงเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๒ ๔) นายมิตรชัย สมสําราญกุล ผูอํานวยการโรงเรียน กรรมการ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา ๕) นางบุศรินทร แสงใหญ ผูอํานวยการโรงเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) สมุทรปราการ ๖) นางสายไหม ดาบทอง ผูอํานวยการโรงเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) นนทบุรี หนาที่ ใหคําปรึกษา แนะนํา มอบนโยบายใหแกคณะกรรมการดําเนินงาน ๒. คณะกรรมการดําเนินงาน ๒.๑ ฝายพิธีการ ๑) นายสุริยันต ลาภเย็น รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล ประธานกรรมการ และกลุมบริหารทั่วไป โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ ๒) นางสาวฐิติภัทร ทองมา รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล รองประธานกรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๓) นายสุรพงษ รัตนทรัพยศิริ รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล รองประธานกรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๒ /๔) นางสิรินทรทิพย...
คนดีศรีบดินทร 73 /๒๒) นางรัชนี... - ๒ - ๔) นางสิรินทรทิพย คชรินทร รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล รองประธานกรรมการ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา ๕) นายวัชรพงษ อักษรดี รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล รองประธานกรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) นนทบุรี ๖) นายประเสริฐ อุยคัชชะ รองผูอํานวยการกลุมบริหารวิชาการ รองประธานกรรมการ และกิจการนักเรียน โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) สมุทรปราการ ๗) นายคมสันต ภาคภูมิ หัวหนางานกิจการนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ ๘) นางสาวฐาปนีย รักภูบาล หัวหนาสํานักงานกิจการนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ ๙) นางสาวณัฐวดี เพชรอาวุธ หัวหนากลุมบริหารงานบุคคล กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๑๐) วาที่ ร.ต.อานันท เชยสุวรรณ หัวหนางานวินัยและความประพฤตินักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๑๑) นางสาวทัศอร คิดปญญาเลิศ ผูชวยผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล กรรมการ และฝายกิจการนักเรียน โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๒ ๑๒) นายอมร หินไธสง ผูชวยหัวหนาฝายกิจการนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๒ ๑๓) นายประพันธ เอื้อประเสริฐ ผูชวยรองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล กรรมการ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา ๑๔) นางสาวปทมา ศรีสมพงษ หัวหนาสํานักงานกลุมบริหารทั่วไป กรรมการ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา ๑๕) นางสาวมารุณี ทองอันตัง หัวหนางานบุคคล กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) นนทบุรี ๑๖) นายเดชา ลิ่มเชย หัวหนางานกิจการนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) นนทบุรี ๑๗) นายธีระยุทธ พรมชวย หัวหนางานกิจการนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) สมุทรปราการ ๑๘) นางสาวศิริลักษณ คํานึงถึง คณะกรรมการกิจการนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) สมุทรปราการ ๑๙) นายนิรันดร วัฒนกลาง คณะกรรมการกิจการนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) สมุทรปราการ ๒๐) นายวุฒินันท รอบรู ผูปกครองเครือขาย กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ ๒๑) ผูปกครองเครือขายระดับชั้น ม.๑ - ม.๖ ผูปกครองเครือขาย กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี)
74 คนดีศรีบดินทร - ๓ - ๒๒) นางรัชนี สําลีพันธุ ผูปกครองเครือขาย กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๒ ๒๓) นางพรรณวิไล สมประสงค ผูปกครองเครือขาย กรรมการ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา ๒๔) นางสาวกรรณชนก แกวปานกัน ผูปกครองเครือขาย กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) นนทบุรี ๒๕) นางสายทอง อุนจิตร ผูปกครองเครือขาย กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) สมุทรปราการ ๒๖) นายกฤษณ ศรีเคลือบ ประธานนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ ๒๗) นางสาวกุลณัชญา สิงหเสนี ประธานนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๒๘) นางสาวรัชยา ชื่นสงวน ประธานนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๒ ๒๙) นางสาวจิณณพัต พูลคลองตัน ประธานนักเรียน กรรมการ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา ๓๐) นายกรกฤต หลั่งไพบูลย ประธานนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) นนทบุรี ๓๑) นายจิรวัฒน อุนจิตร ประธานนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) สมุทรปราการ ๓๒) นายพลเทพ นวลทอง หัวหนางานสารสนเทศกิจการนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ ๓๓) นางสาววิไลลักษณ แซตัง งานสํานักงานกิจการนักเรียน กรรมการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ และเลขานุการ หนาที่ ๑. ยกรางระเบียบและแนวปฏิบัติของนักเรียนในเครือบดินทรเดชา ใหเปนแนวเดียวกัน ๒. กําหนดเกณฑพิจารณาคนดีศรีบดินทร ๓. ประสานผูเกี่ยวของในการจัดทําหนังสือ “คนดีศรีบดินทร” ปการศึกษา ๒๕๖๗ ทั้งนี้ขอใหคณะกรรมการทุกทานปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปดวยความเรียบรอย บรรลุตามวัตถุประสงคกอใหเกิด ประโยชนตอโรงเรียนในเครือบดินทรเดชาทุกประการ ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ สั่ง ณ วันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ (นางธัญมัย แฉลมเขตต) ผูอํานวยการโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔
คนดีศรีบดินทร 75 ภาพกิจกรรม ในเครือโรงเรียนบดินทรเดชา
76 คนดีศรีบดินทร ภาพกิจกรรม โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
ภาพกิจกรรม โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ คนดีศรีบดินทร 77
ภาพกิจกรรม โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา 78 คนดีศรีบดินทร
ภาพกิจกรรม โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔ คนดีศรีบดินทร 79
ภาพกิจกรรม โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี 80 คนดีศรีบดินทร
คนดีศรีบดินทร 81 ภาพกิจกรรม โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ
ภาพกิจกรรม เครือข่ายผู้ปกครอง โรงเรียนในเครือบดินทรเดชา 82 คนดีศรีบดินทร
ภาพกิจกรรมเครือข่ายผู้ปกครอง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) คนดีศรีบดินทร 83
ภาพกิจกรรมเครือข่ายผู้ปกครอง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ 84 คนดีศรีบดินทร
ภาพกิจกรรมเครือข่ายผู้ปกครอง โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา คนดีศรีบดินทร 85
ภาพกิจกรรมเครือข่ายผู้ปกครอง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔ 86 คนดีศรีบดินทร
คนดีศรีบดินทร 87 ภาพกิจกรรมเครือข่ายผู้ปกครอง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี
88 คนดีศรีบดินทร ภาพกิจกรรมเครือข่ายผู้ปกครอง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ