The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วรรณคดีสมัยสุโขทัย_1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by warapon548, 2022-01-10 20:03:16

วรรณคดีสมัยสุโขทัย_1

วรรณคดีสมัยสุโขทัย_1

วรรณคดสี มยั สุโขทยั

วรรณคดสี มยั สุโขทยั

วรรณคดี หมายถึงหนงั สือท/ีแต่งข4ึนอยา่ งมีศิลปะ อาจเป็นร้อยแกว้ หรือร้อยกรอง มีความ
งดงามทางภาษา ถ่ายทอดความสะเทือนใจ ความนึกคิด และจินตนาการของผแู้ ต่งออกมาได้
อยา่ งครบถว้ น ทาํ ใหผ้ อู้ ่านเกิดจินตนาการ มีอารมณ์ร่วมไปกบั ผแู้ ต่งดว้ ย นอกจากน4นั
วรรณคดียงั ตอ้ งเป็นเร/ืองที/ดี ไม่ชกั จูงจิตใจไปในทางต/าํ ท4งั ยงั แสดงความรู้ ความคิด และ
สะทอ้ นความเป็นไปของสงั คมในแต่ละสมยั ดว้ ย
ซ/ึงในกาศึกษาวรรณคดีสมยั สุโขทยั จะมีท4งั หมด 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ สภาพบา้ นเมืองสุโขทยั
ความเจริญดา้ นวรรณคดี และวรรณคดีสาํ คญั

สภาพบ้านเมืองสมยั สุโขทยั

พ่อขุนศรีอนิ ทราทติ ย์
เดิมชื/อพอ่ ขนุ บางกลางหาว เมื/อสถาปนาเป็นปฐมบรมกษตั ริย์
ทรงพระนามวา่ “พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตย”์
การปกครองระยะแรกเป็นแบบพอ่ ปกครองลูก พระมหากษตั ริย์
มีความใกลช้ ิดกบั ราษฎรเป็นอยา่ งมาก จึงเรียกพระมหากษตั ริย์
วา่ “พอ่ ขนุ ”

พ่อขุนรามคาํ แหงมหาราช

สมยั พอ่ ขนุ รามคาํ แหง เป็นสมยั ท/ีอาณาจกั รสุโขทยั เจริญสูงสุด
มีการขยายอาณาเขต ประดิษฐอ์ กั ษรไทย ผลิตเคร/ืองสงั คโลก และ
มีการติดต่อคา้ ขายกบั อาณาจกั รใกลเ้ คียง
หลงั จากสมยั พอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช สถานการณ์บา้ นเมือง
เปลี/ยนแปลงไป ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพระมหากษตั ริยก์ บั ราษฎร
ต่างไปจากเดิม พระมหากษตั ริยม์ ีฐานะเป็น “ธรรมราชา” คือใช้
หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาเป็นหลกั ธรรมในการปกครอง

พระมหาธรรมราชาที@ ๑ (ลไิ ท)

พระองคท์ รงเป็นนกั ปราชท/ีรอบรู้ทางดา้ นการ
ปกครอง ศาสนา อกั ษรศาสตร์ และดา้ นอื/นๆ ทรง
รวบรวมอาณาจกั รสุโขทยั ใหเ้ ป็นปึ กแผน่ ข4ึนอีกคร4ัง
หน/ึง แมจ้ ะไม่ใหญ่โตเท่าสมยั พอ่ ขนุ รามคาํ แหง
มหาราช

พระมหาธรรมราชาท@ี ๒

อาณาจกั รสุโขทยั ตกเป็นประเทศราชอาณาจกั รอยธุ ยาแต่ใน พ.ศ. ๑๙๓๑ ไดร้ ับเอกราชใหม่

พระมหาธรรมราชาท@ี ๔

อาณาจกั รสุโขทยั ตกเป็นประเทศราชอาณาจกั รอยธุ ยา เม/ือพระองคส์ วรรคต ทางกรุงศรี
อยธุ ยาไม่ไดแ้ ต่งต4งั ผใู้ ดมาปกครองจน สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถข4ึนมาครอง
อาณาจกั รอยธุ ยาโดยสมบูรณ์

ความเจริญด้านวรรณคดี
• วรรณคดที เี@ ก่าแก่ทส@ี ุดและมีการบนั ทึกเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรที.
ปรากฏมาจนถึงปัจจุบนั คือ จารึกสมยั สุโขทยั
• พ่อขุนรามคาํ แหงมหาราชทรงประดษิ ฐ์ลายสือไท มาใชแ้ ละ
โปรดใหจ้ ารึกขอ้ ความบนศิลาจารึก
• ลกั ษณะของวรรณคดสี มยั สุโขทยั เป็ นการบรรยายสภาพ
บ้านเมือง วฒั นธรรม สังคม และอบรมศีลธรรม เป็ นวรรณคดี
ประยุกต์ ไม่ไดม้ ุ่งความบนั เทิง แต่งเป็นร้อยแกว้ ใชค้ าํ ไทย
โบราณ คาํ บาลีสนั สกฤตและภาษาเขมรปะปนกนั

ความเจริญด้านวรรณคดี

การประดษิ ฐ์อกั ษรไทย

ปรากฏขอ้ ความในศิลาจารึกหลกั ท7ี ๑ วา่ ลายสือไท หรือตวั หนงั สือไทยไม่เคยมีมาก่อน พอ่ ขนุ รามคาํ แหง
มหาราชทรงประดิษฐข์ Kึนมาเม7ือมหาศกั ราช ๑๒๐๕ ตรงกบั พทุ ธศกั ราช ๑๘๒๖ ดงั ขอ้ ความท7ีวา่

“เม4ือก่อนลายสือไทนีบ: ่มี ๑๒๐๕ ศก ปี มมะแม พ่อขุนรามคาํ แหงหาใคร่ใจในใจแลใส่ ลายสือไทนี:
ลายสือไทนีจ: งึ มเี พ4ือขุนผู้น:ันใส่ไว้”

นอกจากนKียงั ปรากฏหลกั ฐานในหนงั สือจินดามณีฉบบั สมเดจ็ พระ
เจา้ อยหู่ วั บรมโกศแต่งเมื7อ พ.ศ. ๒๒๗๕ วา่ พระร่วงทรงคิดแบบอกั ษรไทยเม7ือ
พ.ศ. ๑๘๒๖

วรรณคดสี ําคญั ในสมยั สุโขทยั

ศิลาจารึกหลกั ที- ๑ ผู้แต่ง
(ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาํ แหงมหาราช)
สันนิษฐานว่าพ่อขุนรามคาํ แหง
ประวตั ิ มหาราชทรงพระราชนิพนธ์ขนึM เอง

สนั นิฐานวา่ จารึกขKึนประมาณ พ.ศ. ๑๘๓๕
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงนาํ ศิลาจารึกของพอ่
ขนุ รามคาํ แหงมหาราชจากพระราชวงั เก่ากรุงสุโขทยั มา
กรุงเทพฯ พร้อมกบั พระแท่นมนงั ศิลาบาตร เม7ือ พ.ศ.๒๓๗๖
ทาํ คาํ อ่านแปลเป็นภาษาไทยใน พ.ศ.๒๕๒๑ ตามคาํ อ่านของ
ยอร์ช เซเดส์ ศิราจารึกหลกั ที- ๑ ปัจจุบันประดษิ ฐานอยู่ที-
พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร

วรรณคดสี ําคญั ในสมยั สุโขทยั

ลกั ษณะอกั ษรไทยสมยั พ่อขุนรามคาํ แหง

๑. อกั ษรสมยั พอ่ ขนุ รามคาํ แหงดดั แปลงมาจากอกั ษรขอมหวดั มีดงั น;ีคือ ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ญ ฎ ฐ
ณ ต ถ ท ธ น ป ผ พ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห และไดเ้ พPิมพยญั ชนะและวรรณยกุ ตใ์ หพ้ อกบั ภาษาไทย
ในสมยั น;นั ไดแ้ ก่ ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ และวรรณยกุ ตเ์ อก และโท
๒. สระและพยญั ชนะเขียนเรียงอยใู่ นบรรทดั เดียวกนั และสูงเสมอกนั เขียนสระไวห้ นา้ พยญั ชนะ
ยกเวน้ สระอะ สระอาเขียนอยขู่ า้ งหลงั ส่วนวรรณยกุ ตเ์ ขียนไวข้ า้ งบน

๓.สระอะเมืPอมีตวั สะกด ใชพ้ ยญั ชนะซอ้ นกนั เช่น น่งง (นงัP ) ขบบ (ขบั )
๔.สระเอีย ใช้ ย แทน เช่น สยง (เสียง) ถา้ ไม่มีตวั สะกดใชส้ ระอี โดยไม่มีไมห้ นา้
๕.สระอวั ทีPไม่มีตวั สะกด ใช้ วว เช่น ตวว (ตวั )
๖.สระอือและสระออทPีไม่มีตวั สะกด ไม่ใช้ อ เช่น ชีP (ชPือ) พ่ (พอ่ )
๗.สระอึ ใชส้ ระอิและสระอีแทน เช่น ขbิน (ข;ึน) จPีง (จPึง)
๘.ตวั ม ทีPเป็นตวั สะกดใชน้ ฤคหิต เช่น กลํ (กลม)
ฯลฯ

รูปแบบคาํ ประพนั ธ์

แต่งเป็ นความเรี ยงร้อยแกว้

จุดมุ่งหมาย

บนั ทึกเหตุการณ์ของกรุงสุโขทยั สภาพบา้ นเมืองและสดุดีพระเกียรติของพอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช

วรรณคดสี ําคญั ในสมยั สุโขทยั

ศิลาจารึกหลกั ทCี ๑ จารึกไว้ ๔ ด้าน เนืBอเรCืองย่อ

ด้านทCี ๑ กล่าวถึงพระราชประวตั ิของพอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช

ด้านทีC ๒ กล่าวถึงภูมิประเทศและศาสนา

ด้านทีC ๓ กล่าวถึงการสร้างพระแท่นมนงั ศิลาบาตรในดงตาลสาํ หรับพระสงฆแ์ สดงธรรม

ด้านทีC ๔ กล่าวถึงการก่อตGงั พระเจดียบ์ รรจุพระบรมสารีริกธาตุ การประดิษฐอ์ กั ษรไทย
และอาณาเขตของอาณาจกั รสุโขทยั

วรรณคดสี ําคญั ในสมยั สุโขทยั

คุณค่าของวรรณดคี

ด้านภาษาศาสตร์ ด้านประวตั ศิ าสตร์

เป็นตน้ กาํ เนิดของภาษาในดา้ นต่างๆ บนั ทึกสภาพบา้ นเมืองในอดีต และ
• ตวั อกั ษร • การใชค้ าํ ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา ความเชืIอ
• วธิ ีการเขียน • หลกั ภาษา กฎหมาย การปกครอง

ศิลาจารึกหลกั ที- ๑ มอี ทิ ธิพลต่อการแต่งวรรณคดสี มยั ต่างๆ มาหลายเรื-อง เช่น ลลิ ติ ตาํ นานพระแท่นมนัง
ศิลาบาตร ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพนั ธ์พงศ์

จารึกนครชุม
(ศิลาจารึกหลกั ทCี ๓)

ประวตั ิ

ศิลาจารึกหลกั น-ี แต่เดิมไม่มีผใู้ ดทราบวา่ อยทู่ >ีใด สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ ทรงพยายามสืบหาอยนู่ าน จนเม>ือ พ.ศ. ๒๔๖๔ เสดจ็ กลบั จาก
เชียงใหม่ มาประทบั ท>ีเมืองกาํ แพงเพชร ทรงทราบวา่ ศิลาจารึกหลกั น-ีอยใู่ นวดั พระบรมธาตุ
มีฐานทาํ ดว้ ยศิลาแลง

จารึกนครชุม ถูกนาํ ลงมากรุงเทพฯ เม>ือ พ.ศ. ๒๔๒๙ และต-งั อยทู่ ี>
พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติพระนคร กรุงเทพฯ จนถึง พ.ศ. ๒๔๕๑ จึงไดส้ ่งมายงั หอพระสมุด
แห่งชาติ กรุงเทพฯ

ผู้แต่ง

จารึกนครชุมเป็ นพระราชนิพนธ์ของพระมหาธรรมราชาที4 ๑ (ลไิ ท) จารึกดว้ ยอกั ษรไทย
สมยั สุโขทยั สนั นิษฐานวา่ จารึกเมIือ พ.ศ. ๑๙๐๐ มีลกั ษณะเป็นหินทรายแป้ง แทรกสลบั หินดินดาน
แผน่ รูปใบเสมา จารึกมีจาํ นวน ๒ ดา้ น

รูปแบบคาํ ประพนั ธ์

เป็นร้อยแก้วทม4ี ลี กั ษณะเป็ นภาษาไทยแท้ เป็ นประโยคส:ันๆ กะทดั รัด บางตอนมีเสียงสมั ผสั
คลอ้ งจองกนั ระหวา่ งวรรค เหมือนกบั ศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช

จุดมุ่งหมาย

เพ7ือกล่าวถึงการสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุ ซ7ึงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที7เมืองนครชุม
(กาํ แพงเพชร) และเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระมหาธรรมราชาที7 ๑ (ลิไท)

ประวตั ิ

กล่าวถึงพระราชประวตั ิของพระหมาธรรมราชาท7ี ๑ (ลิไท) เมื7อขKึนครองราชยใ์ น เมืองสุโขทยั จากนKนั
จึงกล่าวถึงการสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุ เมืองนครชุม และการปลูกตน้ พระศรีมหาโพธ^ิ รวมทKงั กล่าวถึง
พระสทั ธรรมอนั ตรธาน ๕ จากนKนั จึงเป็นการวรรเสริญพระเกียรติของพระมหาธรรมราชาที7 ๑ (ลิไท) วา่ เป็น
กษตั ริยท์ 7ีทรงทศพิธราชธรรม และเป็นกษตั ริยท์ 7ีมีความรู้ความเช7ียวชาญ ในพระพทุ ธศาสนา

คุณค่าของวรรณดคี ด้านศาสนา
ด้านประวตั ศิ าสตร์

เป็นศิลาจารึกที7ทาํ ใหท้ ราบถึงพระราช เป็นศิลาจารึกที7ทาํ ใหท้ ราบถึงแนวคิดความเชื7อทาง
ประวตั ิของพระมหาธรรมราชาที7 ๑ (ลิไท) พระพทุ ธศาสนาในรัชกาลของพระธรรมราชาท7ี ๑
ตKงั แต่ครองราชยร์ วมทKงั เหตุการณ์หลงั การ (ลิไท)
สวรรคตของพอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช ท7ี
เมืองสุโขทยั แตกแยกเป็นเมืองเลก็ เมืองนอ้ ย
จนพระมหาธรรมราชาที7 ๑ (ลิไท) ไดท้ รง
รวบรวมเมืองเหล่านKีใหม้ าเป็นส่วนหน7ึงของ
เมืองสุโขทยั อีกครKัง

ไตรภูมพิ ระร่วง วรรณคดสี ําคญั ในสมยั สุโขทยั

ผู้แต่ง

พระมหาธรรมราชาท4ี ๑ (ลไิ ท) พระราชนิพนธ์ไวเ้ มIือ พ.ศ. ๑๘๙๖

ประวตั ิ

ไตรภูมิพระร่วงฉบบั เก่าท7ีสุด บนั ทึกไวใ้ นใบลานดว้ ยอกั ษรขอม โดยพระมหาช่วยวดั ปากนKาํ หรือ
วดั กลาง จงั หวดั สมุทรปราการ ในสมยั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช เดมิ เรียก เตภูมกิ ถา หรือ ไตรภูมิ
กถา ต่อมาสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ เปลย-ี นชื-อใหม่ว่า ไตรภูมพิ ระร่วง
เพื-อเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระร่วงเจ้าแห่งสุโขทยั

รูปแบบคาํ ประพนั ธ์

ความเรียงร้อยแกว้

จุดมุ่งหมาย

มี ๒ ประการ เพ7ือเทศนาโปรดพระมารดา เป็นการเจริญธรรมกตญั `ูประการหน7ึง อีกประการหน7ึง เพ7ือ
ใชส้ งั7 สอนประชาชนใหม้ ีคุณธรรม เขา้ ใจพทุ ธศาสนา และช่วยกนั ดาํ รง พทุ ธศานาไวใ้ หม้ นั7 คง

เนืBอเรืCองย่อ

• เริ7มตน้ บางแผนบอกผู้แต่ง วนั เดือน ปี ทอ-ี ต่ง ทม-ี าของเรื-อง และจุดมุ่งหมายในการแต่ง
• เนืMอเรื-องอธิบายภูมทิ Mงั ๓ ภูมิ คือ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ
• ตอนต่อไปกล่าวถึงการไดก้ าํ เนิดและสภาพความเป็นไหแห่งภูมินKนั ๆ อยา่ งละเอียด

ด้านศาสนา

เป็นหนงั สือสอนศีลธรรม กล่าวถึงบาปบุญ คุณโทษ การเกิด การตาย เก7ียวกบั ภูมิทKงั ๓

ด้านภาษาและวรรณคดี ด้านสังคมและวฒั นธรรม

• ใชพ้ รรณนาโวหาร ทาํ ใหจ้ ินตนาการเห็น • สอนใหท้ าํ บุญและบาป มีเมตตากรุณา
ภาพ รักษาศีล เช7ือในกฎแห่งกรรม
• วรรณคดียคุ หลงั นาํ เอาความเช7ือต่างๆ มา • เร7ืองราวและความคิดในไตรภูมิถูกนาํ ไป
อา้ งอิง ถ่ายทอดเป็นภาพจิตรกรรมในโบสถ์ วหิ าร
เพื7อใหป้ ระชาชนเกรงกลวั ต่อบาป

สุภาษติ พระร่วง

ผู้แต่ง

ยงั ไม่มีขอ้ สรุปท7ีแน่นอนวา่ ใครเป็นผแู้ ต่ง แต่สนั นิษฐานวา่ อาจแต่งขKึนในสมยั พอ่ ขนุ รามคาํ แหง
มหาราช หรือหลงั สมยั สุโขทยั กเ็ ป็นได้ และในปัจจุบนั อาจมีการดดั แปลงหรือแต่งเติมจนคลาดเคลื7อนจาก
ของเดิมไปบา้ ง

ประวตั ิ

สุภาษิตพระร่วง เรียกอีกอยา่ งหน7ึงวา่ บญั ญตั ิพระร่วง ปรากฏหลกั ฐานเก่าแก่ที7สุดคือ จารึกอยู่
ท7ีผนงั ระเบียงดา้ นหนา้ พระมหาเจดียอ์ งคเ์ หนือของวดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลารามในรัชกาลท7ี ๓ แห่ง
กรุงรัตนโกสินทร์ และพิมพค์ รKังแรกในประชุมจารึกวดั พระเชตุพนฯ ฉบบั หอพระสมุดวชิรญาณ
รวบรวม

จุดมุ่งหมาย

เพ7ือสง7ั สอนประชาชน

เนืBอเรCืองย่อ

เร7ิมตน้ กล่าวถึงพระร่วงเจา้ กรุงสุโขทยั ทรงมุ่งประโยชนใ์ นกาลภายหนา้ จึงทรงบญั ญตั ิสุภาษิต
สาํ หรับสอนประชาชนขKึนไว้ สุภาษิตบทแรก คือ “เมื-อน้อยให้เรียนวชิ า ให้หาสินเม-ือใหญ่” มีสุภาษิตทKงั หมด
๑๕๘ บท บทสุดทา้ ยเป็นโคลงกระทู้

รูปแบบคาํ ประพนั ธ์

แต่งดว้ ยสุภาษติ ตอนตน้ แต่งดว้ ยร่ายสุภาพ จบแบบโคลงสองสุภาพ ตอนทา้ ยเป็นโคลงกระทูห้ น7ึงบท

คุณค่าของวรรณคดี

สุภาษิตพระร่วงเป็นคติโลกและคติธรรม ใชถ้ อ้ ยคาํ คลอ้ งจองกนั สาํ นวนกะทดั รัดจบั ใจจึง
มีผจู้ ดจาํ ไวไ้ ดม้ าก และนาํ ไปอา้ งไวใ้ นวรรณคดีเร7ืองอ7ืน ๆ เช่น กาพยม์ หาชาติ ร่ายยาวมหา
เวสสนั ดรชาดก เสภาเร7ืองขนุ ชา้ งขนุ แผน
สุภาษิตพระร่วงแสดงถึงชีวติ และค่านิยมเชิงสงั คมของคนไทยไวห้ ลายแง่มุม เช่น ยกยอ่ ง
ความสาํ คญั ของการศึกษา รักความสงบ มีมารยาทเรียบร้อย และสุภาพอ่อนนอ้ ม

ตาํ รับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ (นางนพมาศ)

ผู้แต่ง

นางนพมาศ เป็นธิดาของพระศรีมโหสถกบั นางเรวดี บิดาเป็นพราหมณ์ปุโรหิตในรัชกาล
พระร่วงเจา้ ซ7ึงสนั นิษฐานกนั วา่ เป็นพระยาลิไทย นางนพมาศไดร้ ับการอบรมสง7ั สอนจากบิดาทKงั
ทางจริยศึกษาและพทุ ธิศึกษา มีความรู้สูงทKงั ภาษาไทยและสนั สกฤต พระพทุ ธศาสนา ศาสนา
พราหมณ์ การแต่งกาพยก์ ลอน โหราศาสตร์ การขบั ร้องและการช่างสตรี นางนพมาศไดถ้ วายตวั รับ
ราชการในพระร่วงเจา้ มีความดีความชอบพิเศษ เช่น ประดิษฐโ์ คมลอยพระประทีปเป็นรูปดอกบวั
ไดร้ ับตาํ แหน่งเป็นสนมเอก มีบรรดาศกั ด^ิเป็นทา้ วศรีจุฬาลกั ษณ์

ประวตั ิ

หนงั สือเรืQองตาํ รับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ มีชQืออยา่ งอืQนวา่ เรวดนี พมาศ หรือนางนพมาศสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรม
พระยาดาํ รงราชานุภาพ ทรงวนิ ิจฉยั ไวใ้ นคาํ นาํ ฉบบั พิมพค์ รGังแรก เมืQอ พ.ศ. ๒๔๕๗ วา่ เรืQองราวของหนงั สืออาจมีจริงแต่
สาํ นวนภาษาคงจะแต่งขGึนใหม่ระหวา่ งรัชกาลทีQ ๒ กบั รัชกาลทQี ๓ โดยเฉพาะนิทานแทรกเรQือง นางนกกระตอ้ ยตีวดิ นางนก
กระเรียน และนางชา้ ง ซQึงเป็นขอ้ ความเปรียบเทียบบริภาษความประพฤติของนางใน สนั นิษฐานวา่ เป็นพระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเดจ็ พระนงัQ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชวนิ ิจฉยั วา่ นพมาศ เดิมคงหมายถึงพิธี ๙ เดือน คือ เวน้ เขา้ พรรษา
๓ เดือน ขอ้ ความทQียนื ยนั แจง้ ชดั ใหเ้ ห็นวา่ หนงั สือเรQืองนGีมีผแู้ ต่งเติมเพิQมขอ้ ความขGึนใหม่ภายหลงั คือ ตอนทีQวา่ ดว้ ยชนชาติฝรQัง
หลายชาติซQึงยงั ไม่ไดเ้ ขา้ มาในประเทศไทยสมยั กรุงสุโขทยั โดยเฉพาะอยา่ งยงQิ คาํ วา่ อเมริกนั กเ็ พิQงเกิดขGึนครGังกรุงศรีอยธุ ยา
เพราะฝรQังช่างทาํ แผนทQีคนหนQึงไปทาํ แผนทQีใหป้ รากฏรู้ไดช้ ดั วา่ เป็นทวปี หนQึงต่างหาก มิใช่อินเดียฝ่ ายตะวนั ตกอยา่ งทีQเขา้ ใจกนั
มาแต่ก่อน จึงไดเ้ รียกทวปี นGนั วา่ อเมริกา นอกจากนGียงั มีขอ้ ความกล่าวถึงปื นใหญ่ซQึงยงั ไม่มีในสมยั นGนั ดว้ ย

เนืBอเรCืองย่อ

เริ7มตน้ กล่าวถึงประเทศ ภาษา และชนชาติต่าง ๆ เช่น ชมพปู ระเทศ มชั ฌิมประเทศ ปัจจนั ต
ประเทศ และสิงหลประเทศ แบ่งเป็นภาษาต่าง ๆ เช่น มคธพากย์ สยามพากย์ หริภุญชยั พากย์ กมั พชุ พากย์
และกล่าวถึงชนชาติต่าง ๆ เช่น ไทย ลาว เขมร พม่า รามญั และมะริกนั (อเมริกนั ) ต่อจากนKนั ยอพระเกียรติ
พระร่วงเจา้ และสภาพความเป็นอยขู่ องสุโขทยั ประวตั ินางนพมาศตKงั แต่เยาวว์ ยั การศึกษา การเขา้ รับ
ราชการ ความดีความชอบในขณะรับราชการ โดยประดิษฐโ์ คมรูปดอกบวั พานหมากสองชKนั รับแขกเมือง
และพานดอกไมส้ าํ หรับบูชาพระรัตนตรัย บรรยายถึงคุณธรรมของนางสนม ตลอดจนพระราชพิธีต่าง ๆ
เช่น พระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป พระราชพิธีคเชนทรัศวสนาน พระราชพิธีจรดพระนงั คลั

คุณค่าของวรรณคดี

หนงั สือเรื7องนางนพมาศใหค้ วามรู้ทางขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นอนั มาก
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงใชเ้ ป็นหลกั ฐานสาํ คญั ในการทรงพระราชนิพนธ์พระ
ราชพิธีสิบสองเดือน ความสาํ คญั อีกประการหน7ึงกค็ ือการแสดงใหเ้ ห็นศิลปะการช่างสตรี เช่น การ
ประดิษฐโ์ คมลอย การจดั ดอกไม้ หนงั สือนKีเช7ือกนั วา่ ไดม้ ีการดดั แปลงแต่งเติมภาษาและสาํ นวนผดิ
แผกไปจากของเดิมเป็นอนั มาก


Click to View FlipBook Version