The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564

ถอดบทเรียน

การบูรณาการ
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ปี 2564

โดย สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3



คำนำ

ตามที่สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ได้ดำเนินกิจกรรมการบูรณาการสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็ง ภายใต้โครงการศูนย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมในระดับพื้นที่
ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยกลุ่มการวิจัยและการพัฒนาระบบเครือข่าย ซึ่งได้ดำเนินการตาม
แนวทาง การขับเคลื่อนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกับพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จังหวัด ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ จำนวน 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครปฐม
กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ดำเนินการขับเคลื่อนประสานความร่วมมือของหน่วยงานทีม พม. จังหวัด (One Home) ร่วมดำเนิน
การโดยมีการบูรณาการร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค
ประชาสังคม เพื่อสนับสนุนให้ชุมชนแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มเปราะบางในชุมชน
เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ชุมชนมีความเข้มแข็ง อย่างยั่งยืน สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 3 จึงดำเนินการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงานการบูรณาการ
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ โดยมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ประสบการณ์ ความ
คิดเห็น และปัญหาอุปสรรค ในระหว่างการดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมการบูรณาการสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็ง เพื่อนำไปพัฒนาต่อยอดการดำเนินงานในพื้นที่อื่นต่อไป

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ขอขอบคุณ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วย
งานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ข้าราชการและเจ้าหน้าที่และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้
ให้ความร่วมมือในการขับเคลื่อนกิจกรรมการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งภายใต้โครงการศูนย์
บริการวิชาการพั ฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมในระดับพื้ นที่เป็นอย่างดีและหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564 เล่มนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถนำไป
พั ฒนาต่อยอดการดำเนินงานการพั ฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้ นที่อื่นต่อไป

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3



สารบัญ

หน้า
เรื่อง
1
ความหมายของการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้ม

แข็ง

7
ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัด

นครปฐม

10
ตำบลบ่อพลอย อำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี

13
ตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี

16
ตำบลบ่อสุพรรณ อำเภอสองพี่น้อง จังหวัด
สุพรรณบุรี

19
ตำบลตลาดกระทุ่มแบน อำเภอเมืองสมุทรสาคร

จังหวัดสมุทรสาคร

21
ตำบลจอมปลวก อำเภอบางคนที จังหวัด

สมุทรสงคราม

23
ตำบลป่าเด็ง อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี

26
ตำบลหนองตาแต้ม อำเภอปราณบุรี จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3



ความหมายของ
การบูรณาการสร้างเสริม

ชุมชนเข้มแข็ง

ชุมชนเข้มแข็ง หมายถึง ชุมชนที่สามารถ โดยให้สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตค่า
จัดการกันเองทั้งด้านข้อมูลแผนบริหารจัดการ
กลไกขับเคลื่อนทุนทางสังคมได้อย่างมีคุณภาพ นิยมประเพณีและทัศนคติของบุคคลในชุมชน
ส่งผลให้ชุมชนมีเศรษฐกิจดีครอบครัวอบอุ่น
ชุมชนเข้มแข็งมั่นคงยั่งยืนชุมชนมีภูมิต้านทาน เปิดโอกาสให้ชุมชนร่วมมือร่วมดำเนินการ
ต่อปัจจัยกระทบต่างๆ ภายใต้การบูรณาการ
ความร่วมมือและสนับสนุนของภาคีเครือข่ายและ ติดตามประเมินผลและร่วมรับผิดชอบหรือ
ภาคส่วนต่างๆ ทางสังคม
ร่วมใช้ผลประโยชน์จากการคําเนินงานชุมชน
การบูรณาการความร่วมมือและสนับสนุน
ของภาคีเครือข่าย หมายถึง การประสานความ หมายถึง ตำบลที่หน่วยงานในสังกัดพม. ใน
ร่วมมือของภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชา
สังคมเพื่ อสนับสนุนให้ชุมชนแก้ไขปัญหาและ จังหวัด (ทีม One Home) ได้ประสานกับ
พั ฒนาชุมชนอย่างมีเสรีภาพตามสิทธิและหน้าที่
ของชุมชนที่มีเป้าหมายหลักใน การตอบสนอง หน่วยงานท้องถิ่นท้องที่กำหนดเป็นตำบล
ความต้องการร่วมกันของประชาชน
พั ฒนาอย่างบูรณาการ (ตำบลเข้มแข็ง

ประเทศมั่นคง)

ภาคีเครือข่าย หมายถึง กลุ่มบุคคล

ในชุมชนซึ่งรวมตัวกันด้วยความสมัครใจเป็น

อาสาสมัครทำงานด้านสังคมในชุมชนนั้นๆ

ได้แก่ อาสาสมัครพั ฒนาสังคมและความ

มั่นคงของมนุษย์ (อพม.) สภาเด็กและ

เยาวชนกลุ่มสตรีกลุ่มผู้สูงอายุอาสาสมัคร

แรงงาน (อสร.) และอาสาสมัครสาธารณสุข

(อสม.)

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

1

TPMAP หมายถึง ระบบบริหารจัดการ 3. ด้านการศึกษา
ข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People - เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับบริการ
Map and Analytics Platform) สามารถระบุ เลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
ได้ว่า “คนจนเป้าหมาย” มีปัญหาอะไรบ้างใน - เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการ
แต่ละมิติ จากข้อมูลจำนวนคนในครัวเรือน ศึกษาภาคบังคับ 9 ปี
ยากจนที่ตกตัวชี้วัดความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) - เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4
ในแต่ละมิติ โดยตัวชี้วัดจปฐ. ที่นำมาใช้ในการ หรือเทียบเท่า
คำนวณดัชนีความยากจนหลายมิติ (MPI) - คนอายุ 15-59 ปี อ่าน เขียน
ประกอบด้วย ภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้

1. ด้านสุขภาพ ได้ 4. ด้านรายได้
- เด็กแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัม รายได้ - คนอายุ 15-59 ปี มีอาชีพและราย
ขึ้นไป ต่อปี
- ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ - คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพและ
ปลอดภัย และได้มาตรฐาน
- ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด - รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรือน
บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม
- คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกาย 5. ด้านการเข้าถึงบริการรัฐ
อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที - ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลจาก
ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน
2. ด้านความเป็นอยู่ - ผู้พิการ ได้รับการดูแลจาก
- ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่ ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน
อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร
- ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและ
บริโภคเพียงพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 5
ลิตรต่อวัน
- ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี
อย่างน้อยคนละ 45 ลิตรต่อวัน
- ครัวเรือนมีการจัดการบ้านเรือน
เป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

2

จากการที่กระทรวง พม. ได้ร่วมทำ ร่วมกับหน่วยงานทีม พม. จังหวัด
MOU การขับเคลื่อนบูรณาการพัฒนาคุณภาพ ทั้ง 8 จังหวัดคัดเลือกพื้นที่ในการดำเนิน
ชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ร่วมกับ 12 กิจกรรมการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
กระทรวงและ 1 หน่วยงาน ทำให้เกิดการบูรณา โดยมีเกณฑ์ในการคัดเลือกพื้นที่ ได้แก่ พื้นที่ที่มี
การขับเคลื่อนประเทศจึงมีการดำเนินการพั ฒนา เครือข่ายทางสังคมเข้มแข็ง มีการบูรณาการ
คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง ให้สามารถพึ่งพา ตามภารกิจหลักหรือยุทธศาสตร์ของกระทรวง
ตนเองได้ การพั ฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ต้องไม่เป็นพื้ นที่ที่เคยดำเนินการตำบลสร้างสุข
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน (Social Smart City) ในปี 2563 และเป็นพื้นที่
วิชาการ 3 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ที่มีแผนพัฒนาชุมชนท้องถิ่น โดยต้องมีแผน
มั่นคงของมนุษย์ได้ดำเนินกิจกรรมการบูรณา พัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
การสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ภายใต้โครงการ สุขภาพ และพัฒนาคนในชุมชน จำนวน 8 พื้นที่
ศูนย์บริการพั ฒนาสังคมและจัดสวัสดิการ ได้แก่
สังคมในระดับพื้นที่ ประจำปีงบประมาร พ.ศ.
2564 ในพื้นที่ความรับผิดชอบ 8 จังหวัด 1) ตำบลบ่อสุพรรณ อำเภอ
ได้แก่ จังหวัดนครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
เพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มี 2) ตำบลบ่อพลอย อำเภอบ่อพลอย
วัตถุประสงค์เพื่ อพั ฒนาและแก้ไขปัญหาความ จังหวัดกาญจนบุรี
ต้องการและความเดือดร้อนของประชาชน และ
ประชาชนได้รับประโยชน์จากการพั ฒนาอย่าง 3) ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมือง
เป็นรูปธรรม โดยกำหนดให้หน่วยงานในสังกัด นครปฐม จังหวัดนครปฐม
กระทรวง พม. ในพื้นที่ บูรณาการกับทุกภาค
ส่วนในการสร้างเสริมชุมชนเข็มแข็ง เพื่อเพิ่ม 4) ตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านคา
ศักยภาพของชุมชนในการพัฒนา และการ จังหวัดราชบุรี
จัดการตนเองอย่างยั่งยืน ตามยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ด้านการพัฒนาและ 5) ตำบลตลาดกระทุ่มแบน อำเภอ
เสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ ด้านการสร้าง กระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม และ
ยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงการพั ฒนา 6) ตำบลจอมปลวก อำเภอบางคนที
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ประเด็นที่ 2 จังหวัดสมุทรสงคราม
ผนึกกำลังทางสังคมจากทุกภาคส่วน และเสริม
สร้างธรรมาภิบาล รายละเอียดดังนี้ 7) ตำบลป่าเด็ง อำเภอแก่งกระจาน
จังหวัดเพชรบุรี

8) ตำบลหนองตาแต้ม อำเภอ
ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

3

การขับเคลื่อนกิจกรรมการบูรณาการ เมื่อได้ข้อมูลจากการวิเคราะห์กลุ่มเปราะ
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งนั้นจำเป็นต้องมีกลไก บางแล้วนั้น มีการประชุมคณะทำงานบูรณาการ
การขับเคลื่อนโดยสมาชิกในชุมชน จึงมีการจัด สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตำบล ซึ่งสำนักงานส่ง
ตั้งคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดับ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ร่วมกับหน่วยงาน
ตำบลขึ้น ประกอบด้วยผู้นำในพื้นที่ หัวหน้า พม. จังหวัด ทั้ง 8 จังหวัด เสนอรายชื่อกลุ่ม
หน่วยงาน พม. ในจังหวัด ผู้อำนวยการ เปราะบางต่อคณะทำงานบูรณาการสร้างเสริม
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ผู้ ชุมชนเข้มแข็งตำบล พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้
แทนภาครัฐ ภาคเอกชน อาสาสมัคร และภาคี คณะทำงานฯ และสมาชิกในชุมชนได้ร่วมกัน
เครือข่ายในพื้นที่ ตามความเหมาะสมเพื่อทำ เสนอประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การ
หน้าที่ จัดทำแผนสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งระยะ ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ คนไทยตกหล่นไม่มี
3 ปี (2564-2566) เพื่อดำเนินการขับเคลื่อน สถานะทางทะเบียน ผู้สูงอายุที่ไม่ได้รับการดูแล
กิจกรรมภายใต้การบูรณาการทุกมิติ ให้คำ เด็กถูกทอดทิ้งหรือไม่ได้รับการศึกษาตามช่วง
ปรึกษา แนะนำ ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนิน วัย รวมถึงปัญหาความยากจน อีกทั้ง ที่ประชุม
งาน แก้ไขปัญหา และพัฒนาศักยภาพภายใต้ ได้มีการตรวจสอบข้อมูลรายชื่อ เสนอข้อเท็จ
การมีส่วนร่วมของชุมชน จริงและรายชื่อกลุ่มเปราะบางเพิ่มเติม เพื่อให้ได้
กลุ่มเปราะบางที่ต้องได้รับการแก้ไขปัญหา
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ พั ฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพอย่างแท้จริง
3 ร่วมกับหน่วยงาน พม. จังหวัด (One
Home) ทั้ง 8 จังหวัดร่วมกันสำรวจข้อมูล จากข้อมูลกลุ่มเปราะบางที่ต้องได้รับ
กลุ่มเปราะบางในพื้นที่ ใช้ข้อมูลจาก TPMAP แก้ไขปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพ
ของพื้นที่เป้าหมาย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ คณะทำงานบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
การศึกษา รายได้ ความเป็นอยู่ และด้านการเข้า ตำบล ร่วมกันวางแผนและกำหนดแนวทางการ
ถึงบริการภาครัฐ รวมกับข้อมูลกลุ่มเปราะบาง แก้ไขปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพ
รายครัวเรือนและข้อมูลการให้ความช่วยเหลือ โดยใช้
ของหน่วยงานทีม พม. จังหวัด (One Home)
โดยนำข้อมูลที่มีการทับซ้อนกันมาวิเคราะห์ตาม 1) แผนปฏิรูปสังคม 5 ประเด็น
ระบบ TPMAP ทั้ง 5 ด้าน เพื่อจัดลำดับการให้ คือ (1) การออม สวัสดิการ และการลงทุน
ความช่วยเหลือ 3 ระดับ คือ สีเขียว หมายถึง เพื่ อสังคม (2) การช่วยเหลือและเพิ่ มขีด
ตกเกณฑ์ 1 ด้าน สีเหลือง ตกเกณฑ์ 2 – 3 ความสามารถ กลุ่มคนผู้เสียเปรียบในสังคม
ด้าน และสีแดง ตกเกณฑ์ 4-5 ด้าน (3) การจัดการข้อมูลและองค์ความรู้ทาง
สังคม (4) การพั ฒนาระบบสร้างชุมชนเข้ม
แข็ง (5) การสร้างการมีส่วนร่วม การเรียนรู้
การับรู้และการส่งเสริมกิจกรรมทางสังคม

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

4

2) แนวคิด Productive Welfare โดยสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน
(Case Management / สมุดพกครอบครัว) วิชาการ 3 ได้คัดเลือกให้ ตำบลบ้านบึง อำเภอ
บ้านคา จังหวัดราชบุรี เป็นพื้นที่ต้นแบบในการ
3) แนวคิดบวร ดำเนินโครงการโครงการบูรณาการสร้างเสริม
4) แนวคิดโคกหนองนาโมเดล ชุมชนเข้มแข็ง
5) แนวคิดการขจัดความยากจนแบบ
ตรงเป้าหมาย กรณีศึกษาปะรเทศจีน (ดืองัน
ฮาตี)
6) แนวคิดสวัสดิการสังคม 7 ด้าน
ได้แก่ ด้านการศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยู่
อาศัย การทำงานและการมีรายได้ ความมั่นคง
ทางสังคม บริการทางสังคม และด้าน
นันทนาการ
คณะทำงานบูรณาการสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็งตำบล ทั้ง 8 พื้นที่ ได้ดำเนินการ
แก้ไขปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพ
กลุ่มเปราะบางในชุมชน โดยมีการบูรณาการ
ร่วมกันทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน อาสา
สมัครและภาคีเครือข่ายในตำบล โดยมีเป้าหมาย
ร่วมกันคือเพื่ อให้กลุ่มเปราะบางในตำบลมี
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นมีศักยภาพในการดูแล
ตนเองและครอบครัวได้
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 3 ได้ดำเนินโครงการบูรณาการสร้าง
เสริมชุมชนเข้มแข็ง ในพื้นที่ 8 จังหวัดในเขต
ความรับผิดชอบ และคัดเลือกพื้นที่จำนวน 1
พื้นที่ เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบในการดำเนิน
โครงการโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชน
เข้มแข็ง โดยใช้หลักเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้
1. ชุมชนมีการจัดทำฐานข้อมูลชุมชน
2. ชุมชนมีการจัดทำแผน
3. ชุนชนมีกลไกการขับเคลื่อนทุนทาง
สังคม
4. ชุมชนได้รับการแก้ไขปัญหาด้าน
เศรษฐกิจและสังคม

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

5

การดำเนินงานการบูรณาการสร้าง 7. มีการสื่อสารกันระหว่างหน่วยงาน
เสริมชุมชนเข้มแข็ง ในปีงบประมาณ 2564 พม. อปท. และคณะทำงาน อย่างสม่ำเสมอ แม้
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ได้ ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดโควิด-19 มีการ
รวบรวมปัจจัยความสำเร็จ ข้อจำกัด และข้อ ปรับการทำงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ใช้
เสนอแนะ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนิน การสื่อสารผ่านทางโทรศัพท์ กลุ่มไลน์ ในการ
กิจกรรมการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง แจ้งเหตุ พู ดคุย ปรึกษา ให้ความรู้ และประสาน
ในปีงบประมาณอื่นและเพื่ อขยายผลการดำเนิน งาน
กิจกรรมไปยังพื้นที่อื่น ดังนี้
ข้อจำกัด
ปัจจัยความสำเร็จ 1. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
1. การบูรณาการของหน่วยงาน One
โควิด-19 ส่งผลให้เกิดข้อจำกัดในการรวมกลุ่ม
Home ส่งผลให้การขับเคลื่อนงานเป้นไปอย่าง ทั้งการเดินทาง การรวมกลุ่มทำกิจกรรม การ
มีประสิทธิภาพ กระบวนการพู ดคุย ทำความ ลงพื้นที่ และการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง
เข้าใจ กำหนดแผนก่อนดำเนินงานทำให้การ
ทำงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2. ผู้นำและประชาชนในพื้นที่ ยังมี
ความไม่เข้าใจในกิจกรรมการบูรณาการสร้าง
2. อปท. ให้ความสำคัญกับงานด้าน เสริมชุมชนเข้มแข็ง
พัฒนาสังคม บุคลากรที่มีความมุ่งมั่นในการ
ทำงานด้านพัฒนาสังคม ยึดประโยชน์ที่กลุ่ม 3. บุคลากรที่สามารถทำงานผ่านระบบ
เปราะบางจะได้รับเป็นหลัก ส่งผลให้การขับ Online มีจำกัด
เคลื่อนงานมีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะ
3. การบูรณาการกับหน่วยงาน ควรมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อ
ภายนอกในกรณีที่พบข้อจำกัดที่หน่วยงาน พม.
ไม่สามารถดำเนินการได้จึงประสานหน่วยงานที่ เนื่อง เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะ
รับผิดชอบโดยตรงเพื่ อร่วมขับเคลื่อน บางมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

4. ได้รับการสนับสนุนจากภาคเอกชน
ในพื้ นที่

5. สร้างคนรุ่นใหม่ เพื่อร่วมขับเคลื่อน
งานด้านการพั ฒนาสังคมต่อเนื่องและ
สอดคล้องกับบริบทของพื้ นที่

6. การพัฒนาผู้นำผ่านการปฏิบัติงาน
จริง ส่งผลให้เกิดการขยายวิธีคิด ผู้นำ แกนนำ
ริเริ่มวางแผนดำเนินงานโดยมีเป้าหมายให้กลุ่ม
เปราะบางสามารถพึ่ งตนเองได้เป็นหลัก

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

6

ตำบลดอนยายหอม
อำเภอเมืองนครปฐม
จังหวัดนครปฐม

การคัดเลือกพื้ นที่เป้าหมาย งาน One Home จังหวัดนครปฐม จัดประชุม
ดำเนินการโดยทีม พม. จังหวัด ชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณาการ
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้ นที่เทศบาลตำบล
นครปฐม (One Home) ร่วมกันคัดเลือกพื้นที่ ดอนยายหอม โดยหน่วยงานทีม พม. จังหวัด
เทศบาลตำบลดอนยายหอม อำเภอเมือง นครปฐม (One Home) ได้ชี้แจงบทบาท
นครปฐม จังหวัดนครปฐม ในการดำเนินการบู ภารกิจของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้ประชาชนใน
รณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง โดยเทศบาล พื้ นที่เข้าใจการทำงานของแต่ละหน่วยงานของ
ตำบลดอนยายหอมเป็นพื้ นที่ตำบลต้นแบบในปี พม. ในจังหวัดนครปฐม พร้อมทั้งได้สร้างความ
2563 มีการจัดตั้งศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็ก เข้าใจแนวทางการขับเคลื่อนกิจกรรมการบูรณา
ระดับตำบล ดำเนินงานด้านการพัฒนาสังคม การสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง รับฟังข้อมูล
ร่วมกับทีม พม. จังหวัดนครปฐม (One สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ และพิจารณาตั้ง
Home) มาอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นถึงวิสัย คณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งเทศบาล
ทัศน์ของคณะผู้บริหาร แกนนำในท้องถิ่นที่ให้ ตำบลดอนยายหอม โดยที่ประชุมได้มีการเสนอ
ความสำคัญกับการพั ฒนาคุณภาพชีวิตของ รายชื่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาค
ประชาชนในพื้ นที่ เอกชน และภาคประชาสังคม ร่วมเป็นคณะ
ทำงานเพื่ อขับเคลื่อนกิจกรรมการบูรณาการ
การศึกษาข้อมูลพื้ นฐานทางสังคม เพื่ อ สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง เพื่อจัดตั้งคณะทำงาน
วิเคราะห์ประเด็นปัญหาในชุมชน สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในเทศบาลตำบลดอน
ยายหอม
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ
3 ร่วมกับสำนักงานพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครปฐม และหน่วย

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

7

ดำเนินการคัดเลือกกลุ่มเปราะบางที่จะ 3. โครงการบ้านสบายเพื่อตายาย
ได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยพู ดคุยกับ (สร้างบ้าน) จำนวน 2 หลัง ดำเนินการช่วย
ผู้นำในพื้ นที่เพื่ อค้นหากลุ่มเปราะบางในตำบล เหลือผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาทางสังคมด้านที่
ดอนยายหอมมีการค้นหาครัวเรือนที่เปราะบาง อยู่อาศัย ซึ่งคณะทำงาน โดยศูนย์คุ้มครองคน
เพื่อที่จะได้รับการช่วยเหลือจากภาครัฐ นำ ไร้ที่พึ่งจังหวัดนครปฐม ประสานความช่วย
ข้อมูลมาจาก TPMAP ซึ่งได้ข้อมูลมาจากการ เหลือจากการเคหะแห่งชาติ เพื่อรับการสนับสนุน
ลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐส่วนหนึ่ง งบประมาณโครงการบ้านสบายเพื่อตายาย ใน
และอีกส่วนหนึ่งคือการให้ความช่วยเหลือของ การสร้างบ้านใหม่ให้ผู้สูงอายุ จำนวน 2 หลัง
กระทรวงพั ฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ โดยรวบรวมข้อมูลผู้ประสบปัญหาจาก 4. จัดทำแผนจัดกิจกรรมอบรมนวัต
ทุกหน่วยงานและแยกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับ กรทางสังคม โดยจะจัดขึ้นทุกวันเสาร์บูรณาการ
สีแดง คือกลุ่มเปราะบางมาก เป็นกลุ่มที่มีบุคคล ร่วมกับนักศึกษาคณะสังคมสงเคราะห์จาก
ในภาวะพึ่งพิงมากกว่า 2 คน ระดับสีเหลือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เข้ามาร่วมกิจกรรม
คือกลุ่มเปราะบางปานกลาง เป็นกลุ่มที่มีบุคคล ดังกล่าวด้วย ทำให้เยาวชนในพื้นที่มีความเข้าใจ
ในภาวะพึ่งพิง1-2 คน ระดับสีเขียว คือกลุ่ม งานด้านจิตอาสาเพิ่มมากขึ้น เมื่อจบหลังสูตร
เปราะบางน้อย เป็นกลุ่มที่มีรายได้ต่อปีน้อยกว่า แล้วเยาวชนมีความเข้าใจในงานจิตอาสาพั ฒนา
100,000บาท การสำรวจข้อมูลเพิ่มเติมจากที่ สังคม สามารถชี้เป้า เฝ้าระวัง ประสานความ
ประชุม โดยพิจารณาเป็นรายหมู่บ้าน จากความ ช่วยเหลือได้
เห็นของผู้นำในพื้นที่ทั้งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เทศ
บาลฯ และอพม. โดยเทศบาลตำบลดอนยาย ปัจจัยความสำเร็จ
หอมมีกลุ่มเปราะบางทั้งหมด 63 ครัวเรือน 1.ทีม พม. จังหวัดนครปฐม (One Home) ให้
แบ่งเป็น กลุ่มสีแดง 18 ครัวเรือน กลุ่มสี ความร่วมมือกันอย่างดี ลงพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ
เหลือง 28 ครัวเรือน กลุ่มสีเขียว 17 ครัวเรือน ส่งผลให้ได้รับความไว้วางใจจากประชาชนใน
พื้นที่ได้รับข้อมูลเชิงลึกมากขึ้น และสามารถเข้า
การบูรณาการ แก้ไขปัญหา และช่วยเหลือ ถึงเยาวชนกระตุ้นให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของ
1. ผู้ประสบปัญหาทางสังคมในพื้นที่ ชุมชน
2.เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลดอนยายหอมและผู้นำ
เทศบาลตำบลดอนยายหอม จำนวน 30 ราย มี ในท้องถิ่นเล็งเห็นถึงการทำงานของทีม พม.
การคัดเลือก 6 ราย เพื่อพัฒนาเชิงลึก มีการ จังหวัดนครปฐม (One Home) ที่มีเป้าหมายใน
จัดทำสมุดพกครอบครัว การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในตำบล ไม่ได้
มองว่าการทำงานร่วมกันเป็นการเพิ่ มภาระงาน
2. คัดเลือกกลุ่มเปราะบางที่มีสภาพ แต่มองว่าเป็นการช่วยเหลือประชาชนให้เข้าถึง
ปัญหา ความเป็นอยู่ที่ยากลำบาก เพื่อช่วย บริการของรัฐ
เหลือให้ครบทุกมิติ จำนวน 6 ราย

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

8

3. มีกระบวนการพู ดคุย วางแผน
กำหนดเป้าหมายก่อนดำเนินงาน ทำให้มีทิศทาง
การขับเคลื่อนงานร่วมกัน

4. มีภาคธุรกิจ เอกชน (CSR) ให้การ
สนับสนุน

5. เกิดกระบวนการสร้างคนรุ่นใหม่ มา
ขับเคลื่อนงานสังคมต่อ

ข้อจำกัด
1. ในพื้นที่เทศบาลตำบลดอนยายหอม

มีการเลือกตั้งนายก 2 รอบ และเพิ่งมีการเลือก
ตั้งนายกแล้วเสร็จไปเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม
2564 ทำให้มีข้อจำกัดในการรวมคน การขับ
เคลื่อน เนื่องจากประเด็นทางการเมืองท้องถิ่น
เป็นเรื่องเปราะบางของทุกพื้ นที่

2. สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)
นครปฐมเป็นพื้นที่สีแดงเข้ม มีการควบคุม
สูงสุด มีข้อจำกัดทั้งการเดินทาง การรวมกลุ่ม
ทำกิจกรรม การลงพื้นที่ และการช่วยเหลือกลุ่ม
เปราะบาง

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

9

ตำบลบ่อพลอย
อำเภอบ่อพลอย
จังหวัดกาญจนบุรี

การคัดเลือกพื้ นที่เป้าหมาย ระดับตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงในพื้ นที่ตำบล
ดำเนินการพิ จารณาคัดเลือกพื้ นที่ บ่อพลอย โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัด
กาญจนบุรีเป็นประธานในการประชุม
ดำเนินการกิจกรรมการบูรณาการสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็ง โดยทีม พม. จังหวัดกาญจนบุรี ได้มีการแนะนำหน่วยงาน บทบาท
(One Home) เลือกพื้นที่ตำบลบ่อพลอย ภารกิจของสำนักงานพั ฒนาสังคมและความ
อำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเป็น มั่นคงของมนุษย์จังหวัดกาญจนบุรี และแนะนำ
พื้นที่ที่มีความเข้มแข็งของผู้นำท้องถิ่น ท้องที่ หน่วยงานในทีม ONE Home โดยให้แต่ละ
มีทีมทำงานที่เข้มแข็ง ผู้บริหารให้ความสำคัญ หน่วยงานนำเสนอบทบาท ภารกิจตามลำดับ
กับงานพัฒนาสังคม การพัฒนาคุณภาพชีวิต ดังนี้ ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัด
ของประชาชนให้เข้าถึงสวัสดิการของรัฐ กาญจนบุรี บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัด
กาญจนบุรี ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัด
การศึกษาข้อมูลพื้ นฐานทางสังคม เพื่ อ กาญจนบุรี สถาบันเพาะกล้าคุณธรรม
วิเคราะห์ประเด็นปัญหาในชุมชน สำนักงานเคหะจังหวัดสุพรรณบุรี และ
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 และ
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อพลอยนำ
3 ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาสังคมและความ เสนอสถานการณ์ทางสังคมของพื้นที่ และเพิ่ม
มั่นคงของมนุษย์จังหวัดกาญจนบุรี และหน่วย เติมการทำงานในด้านต่างๆ เช่น การศึกษา ด้าน
งาน One Home จังหวัดกาญจนบุรี จัด สุขภาพ ด้านที่อยู่อาศัย ด้านการประกอบ
ประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณา อาชีพ/รายได้ และด้านสวัสดิการสังคม
การสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้ นที่ตำบล
บ่อพลอย ซึ่งผู้นำในพื้นที่ให้ความสำคัญทุก

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

10

ในการประชุมนี้มีการนำเสนอร่างคณะ สำนักงานพั ฒนาสังคมและความมั่นคง
ทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตำบลบ่อพลอย ของมนุษย์จังหวัดกาญจนบุรี นำเสนอข้อมูล
เพื่ อให้ผู้เข้าร่วมประชุมพิ จารณาและให้ข้อเสนอ การพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai people Map
แนะเพิ่ มเติมเกี่ยวกับรายชื่อบุคคลและ/หรือ and Analysis Platform: TPMAP) ทั้ง 5
หน่วยงานที่จะร่วมเป้นคณะทำงาน เพื่อให้ ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านการ
สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ ให้คำนึงถึงความ เงิน ด้านความเป็นอยู่ และด้านการเข้าถึงบริการ
ต้องการของกลุ่มเปราะบางทุกกลุ่ม ทำให้คณะ รัฐ กลุ่มครัวเรือนในตำบลบ่อพลอยตกเกณฑ์
ทำงานมีองค์ประกอบครบถ้วน แบ่งบทบาทชัด จำนวน 65 ครัวเรือน ซึ่งอยู่ในระดับสีเขียว คือ
แจงทั้งในส่วนของที่ปรึกษา อำนวยการ และ ตกเกณฑ์ 1 ด้าน จากทั้งหมด 5 ด้าน ดังได้
ปฏิบัติการสำหรับปัญหาในแต่ละด้าน กล่าวไปแล้ว โดยตกเกณฑ์ด้านการศึกษา
จำนวน 62 ครัวเรือน และตกเกณฑ์ด้านสุขภาพ
คณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง 3 ครัวเรือน พบว่าข้อมูลบางส่วนมีความคลาด
ตำบลบ่อพลอย โดยคณะทำงานสร้างเสริม เคลื่อน เช่น ปัจจุบันกลุ่มเปราะบางไม่อยู่ในพื้นที่
ชุมชนเข้มแข็งตำบลบ่อพลอย ประกอบด้วย ไม่ใช่กลุ่มเปราะบางที่ต้อวงการความช่วยเหลือ
หลายภาคส่วน มีที่ปรึกษา จำนวน 31 คน เป็นผู้ ที่ประชุมจึงได้ทำการหารือร่วมกัน โดยนำข้อมูล
บริหารหน่วยงานระดับจังหวัด ในส่วนของคณะ การให้ความช่วยเหลือจากหน่วยงานทีม One
ทำงานยังแบ่งเป็น 9 ส่วน ประกอบด้วย Home จังหวัดกาญจนบุรี รวมไปถึงข้อมูลผู้
ประสบปัญหาและต้องการความช่วยเหลือจาก
1) คณะทำงานอำนวยการ ผู้นำในชุมชน ซึ่งผู้นำชุมชนได้คัดกรองข้อมูลให้
2) คณะทำงานปฏิบัติงานด้าน เกิดความชัดเจน ถูกต้อง เพื่อรวบรวมเสนอต่อ
เศรษฐกิจ ที่ประชุมคณะทำงานฯ พิจารณาจัดลำดับการให้
3) คณะทำงานปฏิบัติงานด้าน ความช่วยเหลือ รวมทั้งกำหนดแนวทางการ
สวัสดิการสังคม ดำเนินการพั ฒนาตามบทบาทภารกิจของหน่วย
4) คณะทำงานปฏิบัติงานด้านที่อยู่ งานที่เกี่ยวข้องโดยจัดทำเป็นแผนพั ฒนา
อาศัย คุณภาพชีวิตรายครัวเรือน
5) คณะทำงานปฏิบัติงานด้านผู้สูง
อายุ
6) คณะทำงานปฏิบัติงานด้านคน
พิ การ
7) คณะทำงานปฏิบัติงานด้านเด็กและ
เยาวชน
8) คณะทำงานปฏิบัติงานด้านความ
มั่นคง
9) คณะทำงานปฏิบัติงานด้าน
คุณธรรมจริยธรรม

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

11

การบูรณาการ แก้ไขปัญหา และช่วยเหลือ 6) ส่งเสริมให้ 18 ครอบครัว มีทุน
การดำเนินการภายหลังจากทราบ ประกอบอาชีพ 3,000 บาท ส่งเสริมให้มีการจด
บัญชีรับ-จ่าย
สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ จึงได้กำหนด
ยุทธศาสตร์ ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา ปัจจัยความสำเร็จ
คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง ลงพื้นที่เพื่อจัด 1. มีกลุ่มไลน์ "ตำบลต้นแบบสร้าง
เก็บข้อมูลของพื้นที่ โดย อพม. ร่วมเป็นกลไก
เพิ่มในการทำงานในพื้นที่ จัดเก็บสมุดพกครัว เสริมสุข" เพื่อส่งข่าวสาร ข้อมูล ประสานงาน
เรือน จำนวน 63 ครัวเรือน แบ่งกลุ่มเปราะบาง ระหว่างทีม One Home กับคณะทำงานใน
ตามความต้องการได้รับความช่วยเหลือและ พื้ นที่ตำบลบ่อพลอย
พัฒนา เพื่อให้เข้าถึงสวัสดิการ ทั้ง 7 ด้าน
ดังนี้ 2. ผู้นำให้ความสำคัญกับงานด้าน
พัฒนาสังคม งานพัฒนาคุณภาพชีวิต
1) ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
ระยะเร่งด่วน จำนวน 35 ครอบครัว ประสาน 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การ
เจ้าหน้าที่ อบต.บ่อพลอย เพื่อสอบข้อเท็จจริง สนับสนุน มีบุคลากรที่มีความมุ่งมั่น เอาธุระงาน
ตามแบบคำขอรับความช่วยเหลือผู้ประสบ ด้านพัฒนาสังคม และการแก้ไขปัญหาที่ตรง
ปัญหาทางสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคม ตามความต้องการ และสภาพปัญหาของกลุ่ม
และความมั่นคงของมนุษย์ จำนวน 35 เปราะบาง ทำให้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนได้รับ
ครอบครัว เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาระยะเร่ง การแก้ไข
ด่วน
4. One Home เป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพ
2) อบรมพัฒนาศักยภาพผู้นำ อพม. ทำให้เกิดความร่วมมือในทีม มีการกำหนดเจ้าภาพ
จำนวน 100 คน เติมความรู้ ติดอาวุธทาง หลัก เจ้าภาพรอง เจ้าภาพร่วม
ปัญญา ให้ข้อมูลช่องทางการประสานความช่วย
เหลือกลุ่มเปราะบาง (ถ้าไม่มา เราจะไปหา) นำไป ข้อจำกัด
สู่บริการเชิงรุก 1. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด

3) สร้างบ้านผู้พิการ จำนวน 2 หลัง เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ทำให้มีข้อจำกัด
ซึ่งเป็นกลุ่มเปราะบาง จากข้อมูล TPMAP ในการจัดกิจกรรม การลงพื้นที่ โดยเฉพาะเมื่อมี
ประชาชนในพื้นที่ตำบลบ่อพลอยติดเชื้อไวรัสโค
4) ดำเนินการให้ชาวบ้านได้รับสิทธิ วิด-19 หลายราย ต้องระงับกิจกรรมและการลงพื้น
ทางกฎหมาย (บัตรประจำตัวประชาชน) จำนวน ที่ทันที
2 ราย ซึ่งเป็นผู้สูงอายุ 1 ราย และเป็นผู้พิการ 1
ราย 2. ไม่มีงบประมาณโดยตรงในการช่วยเหลือ
พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง แต่สามารถ
5) สร้างห้องฟอกไตให้ผู้ป่วยโรคไตได้ ประสานงบประมาณ จนเกิดการช่วยเหลือกลุ่มเปราะ
ใช้ ไม่ต้องมีภาระการเดินทาง โดยบูรณาการกับ บางได้
งบซ่อมบ้าน

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

12

ตำบลบ้านบึง
อำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี

การคัดเลือกพื้ นที่เป้าหมาย ศึกษาข้อมูลพื้นฐานทางสังคม เพื่อวิเคราะห์
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ประเด็นปัญหาในชุมชน

ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ
ของมนุษย์จังหวัดราชบุรี และหน่วยงาน One 3 ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
Home จังหวัดราชบุรี ร่วมประชุมพิจารณาคัด ของมนุษย์จังหวัดราชบุรี และหน่วยงาน One
เลือกตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี Home จังหวัดราชบุรี จัดประชุมชี้แจงบทบาท
เป็นพื้นที่ดำเนินการกิจกรรมการบูรณาการสร้าง ภารกิจของหน่วยงาน และแนวทางการขับเคลื่อน
เสริมชุมชนเข้มแข็ง เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีผู้นำ การบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้นที่
ทางการทั้งในส่วนของท้องถิ่นและท้องที่ความเข้ม ตำบลบ้านบึง ร่วมกับ ผู้นำท้องที่/ผู้นำท้องถิ่น/
แข็ง ให้ความสำคัญกับการจัดสวัสดิการ การ ผู้นำชุมชน/อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความ
พัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนในพื้นที่ มี มั่นคงของมนุษย์ (อพม.)/ภาคีเครือข่ายในพื้นที่/
องค์กรชุมชนหลากหลาย เช่น กลุ่มออมบุญวันละ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อสร้างความ
บาทตำบลบ้านบึง กลุ่มอาชีพ สภาองค์กรชุมชน เข้าใจแนวทางการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการ
ตำบลบ้านบึง ประกอบกับองค์การบริหารส่วน สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้นที่ เปิดโอกาสให้ผู้นำ
ตำบลบ้านบึงให้ความสำคัญกับงานด้านสวัสดิการ ชุมชน เครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
สังคม มีเครือข่ายด้านสวัสดิการสังคมในระดับ และประชาชนในพื้นที่ รวมหารือเกี่ยวกับสภาพ
พื้นที่ เช่น ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ศูนย์ ปัญหาด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลบ้านบึง
พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ รวมทั้งได้ร่วมกันเสนอรายชื่อเพื่อแต่งตั้งคณะ
ศูนย์บริการคนพิการ เป็นต้น และมีความร่วมมือ ทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในตำบลบ้านบึง
ของภาคีเครือข่าย และอาสาสมัครพัฒนาสังคม
(อพม.) ครอบคลุมทั้งพื้นที่ตำบล

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564

13 สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

เพื่ อเริ่มดำเนินการวางแผนแก้ไขและพั ฒนา การบูรณาการ แก้ไขปัญหา และช่วยเหลือ
คุณภาพชีวิตของกลุ่มเปราะบาง 1. การมอบเงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มี

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน รายได้น้อย และผู้ไร้ที่พึ่ง จำนวน 77 ราย เพื่อ
วิชาการ 3 ประชุมร่วมกับทีม พม. จังหวัด เป็นการบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า
ราชบุรี (One Home) เพื่ อซักซ้อมการนำ ของประชาชนกลุ่มเปราะบาง และให้สามารถ
เสนอข้อมูลต่อคณะทำงานสร้างเสริมชุมชน ดำรงชีวิตอยู่ได้ตามความจำเป็นขั้นพื้ นฐาน
เข้มแข็งตำบลบ้านบึง และการสร้างความ ทั้งนี้กลุ่มเปราะบางทั้งหมด ได้รับการคัดเลือก
เข้าใจเรื่องการจัดเก็บข้อมูลกลุ่มเปราะบางใน จากองค์บริการส่วนตำบล ร่วมกับกำนัน ผู้ใหญ่
ตำบลด้วยสมุดพกครอบครัว บ้านของแต่ละชุมชน ในเวทีวิเคราะห์กลุ่มเปราะ
บางและวางแผนการช่วยเหลือรายครัวเรือนใน
เวทีวิเคราะห์กลุ่มเปราะบางศูนย์ ตำบลบ้านบึง
พั ฒนาราษฎรบนพื้ นที่สูงจังหวัดราชบุรี เป็น
เจ้าภาพหลักในการขับเคลื่อนการค้นหากลุ่ม 2. การรวมกลุ่มฝึกอาชีพเลี้ยงไก่ไข่
เปราะบางในพื้ นที่ โดยทำการแบ่งพื้ นที่รับผิด จำนวน 10 ครัวเรือน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้
ชอบรายหมู่บ้านให้กับหน่วยงาน One ประชาชนในตำบล เลี้ยงไก่ไว้บริโภคในครัวเรือน
Home ลงพื้ นที่สำรวจกลุ่มเปราะบาง ทั้ง เอง เป็นการลดรายจ่ายในครัวเรือน โดยมี
จาก TPMAP รายชื่อผู้ที่ได้การให้ความช่วย การพาไปเรียนรู้และศึกษาดูงานที่ศูนย์สร้างสุข
เหลือของหน่วยงาน พม. และจากการชี้เป้า เกษตรชนบท ตำบลดอนแร่ ของนายสุพจน์
จากผู้นำในพื้ นที่ จำนวน 189 ครัวเรือน เมื่อ สิงห์โตศรี
ได้รายชื่อและข้อมูลของกลุ่มเปราะบาง
จำนวน 189 ราย ได้มีการจัดเวทีเพื่ อจัด 3. ซ่อมแซมบ้าน จำนวน 2 หลัง
ลำดับและจัดทำแผนพั ฒนาคุณภาพชีวิตราย ซ่อมแซมบ้าน โดยใช้งบประมาณของสำนักงาน
ครัวเรือน วางแผนการให้ความช่วยเหลือก พั ฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
ลุ่มเปราะบางโดยมีผู้ใหญ่บ้านแต่ละหมู่บ้านมา ราชบุรี และเงินบริจาคจากภาคเอกชนในจังหวัด
ให้ข้อเท็จจริงเพื่ อจัดกลุ่มตามปัญหาทาง ราชบุรี
สังคม 5 ด้าน คือ ด้านสุขภาพ ด้านความ
เป็นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ และด้าน 4. ให้คำแนะนำเรื่องการจดทะเบียน
การเข้าถึงบริการรัฐ บัตรประจำตัวคนพิการ จำนวน 2 ราย
เนื่องจากยังมีคนพิการในตำบล ที่ยังไม่ได้รับ
การจดทะเบียนบัตรประจำตัวผู้พิการ ทางทีม
One Home จังหวัดราชบุรี จึงได้เข้าไปให้คำ
แนะนำ พร้อมชี้แจงรายละเอียดสิทธิที่จะได้รับ

5. การมอบถุงยังชีพ จำนวน 112 ราย
6. สร้าง อพม. เพิ่ม 88 ราย

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

14

7. เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน ปัจจัยความสำเร็จ
สวัสดิการสังคมที่ต่อเนื่องยั่งยืน จึงมีการ 1. การประสานความร่วมมือกันเป็น
อบรม อพม.เพิ่ม จำนวน 88 ราย ครอบคลุม
พื้นที่ 14 หมู่บ้าน ของตำบลบ้านบึง อย่างดีระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค
ประชาสังคมในพื้ นที่
8. การจัดทำแผนพัฒนาคนไร้ที่พึ่ง 19
ครัวเรือน โดยมอบเงินสงเคราะห์ครัวเรือนละ 2. ผู้นำให้ความสำคัญกับงานด้าน
2,000 บาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในครอบครัว พัฒนาสังคม งานพัฒนาคุณภาพชีวิต

9. การช่วยเหลือครอบครัวผู้ยากไร้ ผู้ 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การ
สูงอายุ 1 คน ต้องเลี้ยงดูหลานอีก 4 คน โดย สนับสนุน มีบุคลากรที่มีความมุ่งมั่น เอาธุระงาน
รายได้ไม่เพียงพอ และได้ให้การช่วยเหลือคือให้ ด้านพัฒนาสังคม และมีการปรับปรุงข้อมูลผู้
เงินสงเคราะห์ 2,000 บาท และหาที่เรียนให้กับ ด้อยโอกาสทุกปี (ผ่านเวทีประชาคม) จึงมีฐาน
หลาน 2 คน โดยเป็นโรงเรียนประจำเพื่อลดค่า ข้อมูลที่เชื่อถือได้และเป็นปัจจุบัน
ใช้จ่ายของครอบครัว
4. การมีฐานข้อมูลกลุ่มเปราะบางที่
10. การเข้าถึงบริการของรัฐกรณี ประสบปัญหาในพื้ นที่
หญิงสาวอายุ 17 ปี มีปัญหาพัฒนาการด้านสติ
ปัญญาตั้งแต่กำเนิด เข้ารับการฝังยาคุมกำเนิด 5. การแก้ไขปัญหาที่ตรงตามความ
เพื่ อป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึ งประสงค์ ต้องการ และสภาพปัญหาของกลุ่มเปราะบาง
หากเกิดการโดนล่วงละเมิด ทำให้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนได้รับการแก้ไข

6. One Home เป็นกลไกที่มี
ประสิทธิภาพ ทำให้เกิดความร่วมมือในทีม

ข้อจำกัด
1. งานส่วนใหญ่เป็นการช่วยเหลือใน

ระดับปัจเจก ยังไม่เห็นในเชิงกลไก การขับ
เคลื่อนในระยะยาว

2. ทรัพยากรในพื้นที่ไม่เพียงพอ ทั้ง
ด้านงบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ หากสามารถ
บูรณาการไปยังภาคเอกชนก็จะสามารถดำเนิน
งานได้ดีมากขึ้น

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

15

ตำบลบ่อสุพรรณ
อำเภอสองพี่ น้อง
จังหวัดสุพรรณบุรี

การคัดเลือกพื้ นที่เป้าหมาย ภาคี เครือข่ายในพื้นที่ เพื่อสร้างความเข้าใจ
สำนักงานพั ฒนาสังคมและความมั่นคง แนวทางการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการสร้าง
เสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้นที่ แบ่งบทบาทการ
ของมนุษย์จังหวัดสุพรรณบุรี และหน่วยงาน ทำงาน ตั้งคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ทีม One Home จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกัน ตำบลบ่อสุพรรณและนำเสนอประเด็นปัญหาของ
พิจารณาคัดเลือกในที่ประชุม กำหนดให้ตำบล ชุมชน ร่วมกันค้นหากลุ่มเปราะบาง วิเคราะห์
บ่อสุพรรณ อำเภอสองพี่น้อง เป็นพื้นที่เป้า ปัญหาของชุมชน เพื่อแบ่งกลุ่มเปราะบางและ
หมายขับเคลื่อนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง วางแนวทางการแก้ไขปัญหา
เนื่องจากเป็นพื้ นที่ที่มีความเข้มแข็งของผู้นำ
ชุมชน มีความร่วมมือของภาคีเครือข่าย มีการ การวิเคราะห์ข้อมูล และประเด็นปัญหาในชุมชน
ดำเนินงานของหลายหน่วยงานมาอย่างต่อ วิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเปราะบางตำบลบ่อ
เนื่องและผู้บริหารท้องถิ่นมีวิสัยทัศน์และให้ความ
สำคัญในการช่วยเหลือด้านสังคมใหกับ สุพรรณ ด้วยกระบวนการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ประชาชนในพื้ นที่ ร่วมกันของคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ตำบลบ่อสุพรรณ ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ และ
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน ผู้นำชุมชน ทั้งในภาพรวม และรายบุคคล พบว่า
วิชาการ 3 ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาสังคมและ ปัญหาที่เกิดขึ้น คือ ยาเสพติดความปลอดภัยใน
ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุพรรณบุรี และ ชีวิตและทรัพย์สิน การใช้สารเคมีในการเกษตร
หน่วยงานทีม One Home จังหวัดสุพรรณบุรี สังคมผู้สูงอายุในพื้นที่ ที่อยู่อาศัย การว่างงาน
จัดประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการบู ของคนในพื้ นที่ทำให้ต้องออกไปหางานทำนอก
รณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้ นที่ตำบล พื้ นที่
บ่อสุพรรณ ร่วมกับผู้นำชุมชน หน่วยงาน

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

16

ได้มีการใช้ข้อมูลจากการค้นหากลุ่ม - โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา
เปราะบางในพื้ นที่จริงมาประกอบการคนหากลุ่ม การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
เปราะบางเพิ่มเติมจากข้อมูล TPMAP และ
ข้อมูลการให้ความช่วยเหลือของหน่วยงาน พม. - โครงการสร้างเสริมเครือข่าย
จังหวัดสุพรรณบุรี เนื่องจากยังมีกลุ่มเปราะ คุ้มครองเด็กในระดับตำบล
บางที่ตกสำรวจอยู่ เพื่อที่จะได้ดำเนินการแก้ไข
ได้อย่างเป็นรูปธรรม - โครงการพัฒนาศักยภาพสภาเด็ก
และเยาวชนตำบลบ่อสุพรรณ
บูรณาการดำเนินงานระดับพื้นที่ คณะ
ทำงานดำเนินการสรุปรวบรวมข้อมูลในพื้ นที่ - โครงการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์
เพื่ อจัดทำร่างแผนการพั ฒนาตำบลเข้มแข็ง 3. ซ่อมแซมบ้านคนพิการ จำนวน 1
ก่อนจะดำเนินการจัดทำแผนร่วมกันโดยคณะ หลัง ใช้งบประมาณ จำนวน 40,000 บาท
ทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งจังหวัด เพื่ อปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะกับคนพิ การ
สุพรรณบุรี พื้นที่ตำบลบ่อสุพรรณ ดำเนินการ 4. สนับสนุนออกบัตรประจำตัวคน
จัดทำสมุดพกครอบครัว จำนวน 29 ครัวเรือน พิการรายใหม่ จำนวน 25 ราย และต่อบัตร
แบ่งเป็นผู้สูงอายุและพิการ จำนวน 6 ราย เป็น จำนวน 41 รายเนื่องจากยังมีคนพิการในตำบล
ผู้สูงอายุ จำนวน 18 ราย เป็นคนพิการ จำนวน ที่ยังไม่ได้รับการจดทะเบียนบัตรประจำตัวผู้
4 ราย และเป็นครอบครัวยากไร้ จำนวน 3 ราย พิการ ทางทีม One Home จังหวัด
สุพรรณบุรี จึงได้เข้าไปให้คำแนะนำ พร้อมชี้แจง
การบูรณาการ แก้ไขปัญหา และช่วยเหลือ รายละเอียดสิทธิที่จะได้รับ
1. การมอบเงินสงเคราะห์ผู้มีรายได้ 5. เงินกู้ยืมคนพิการ จำนวน 1 ราย
จำนวน 30,000 บาท
น้อยและผู้ไร้ที่พึ่ง กรณีฉุกเฉิน จำนวน 7 ราย 6. กลุ่มเปราะบางผู้สูงอายุ
เพื่ อบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า - สร้างความรู้ความเข้าใจ โดยจัดทำ
ของประชาชนกลุ่มเปราะบาง และให้สามารถ สื่อประชาสัมพันธ์ เตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
ดำรงชีวิตอยู่ได้ตามความจำเป็นขั้นพื้ นฐาน - เงินกู้ยืมกองทุนผู้สูงอายุ จำนวน 11
ทั้งนี้กลุ่มเปราะบางทั้งหมด ได้รับการคัดเลือก ราย เป็นเงิน 297,000 บาท
จากองค์บริการส่วนตำบลบ่อสุพรรณ ร่วมกับ - ซ่อมแซมบ้านผู้สูงอายุ จำนวน 1
กำนัน ผู้ใหญ่บ้านของแต่ละชุมชน ในเวที หลัง 2 ราย จำนวน 120,000 บาท
วิเคราะห์กลุ่มเปราะบางและวางแผนการช่วย - เงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะยาก
เหลือรายครัวเรือนในตำบลบ่อสุพรรณ ลำบาก จำนวน 23 ราย

2. มอบเงินสงเคราะห์เด็ก จำนวน 20
ครอบครัว สำหรับกลุ่มเปราะบางประสบปัญหา
ทางสังคม และมีการดำเนินงานในโครงการ
ต่างๆ ดังนี้

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

17

7. จัดตั้งศูนย์บริการคนพิการในพื้นที่ ปัจจัยความสำเร็จ
ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อสุพรรณ 1. หน่วยงานในพื้นที่ หน่วยงาน พม.
และแกนนำอาสา รวม 9 คน จัดตั้งศูนย์บริการ
คนพิการ เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน จังหวัดสุพรรณบุรี (One Home) มีการบูรณา
ประสานงาน และให้การช่วยเหลือคนพิการ อยู่ การข้อมูลและความช่วยเหลือ ทำงานเป็นเนื้อ
ระหว่างจัดทำแผนในการให้บริการคนพิ การใน เดียวกัน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะ
พื้นที่ต่อไป เบื้องต้นใช้เป็นจุดให้บริการรับเบี้ย บาง
คนพิการ และรับเบี้ยต่างๆ
2. พื้นที่ตำบลบ่อสุพรรณเป็นพื้นที่ที่มี
8. จัดกิจกรรมในกลุ่มแม่วันใสร่วมกับ ศักยภาพ สามารถขับเคลื่อนงานโดยใช้ชุมชน
บ้านพักเด็ก ผลิตน้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยา เป็นหลัก
อเนกประสงค์ ส่งเสริมอาชีพ ทำขนม จักรสาน
ตะกร้าจากพลาสติก ทำกล้วยฉาบ ในกลุ่มแม่วัย ข้อจำกัด
ใส 1. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค

ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) นครปฐม
เป็นพื้นที่สีแดงเข้ม มีการควบคุมสูงสุด มีข้อ
จำกัดทั้งการเดินทาง การรวมกลุ่มทำกิจกรรม
การลงพื้นที่ และการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง

2. ตำบลบ่อสุพรรณมีพื้นที่กว้าง มี
18 หมู่บ้าน ประชากรกว่า 18,000 คน และเป็น
พื้นที่ติด 3 จังหวัด คือ จังหวัดนครปฐม
กาญจนบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี ส่งผลให้มี
กลุ่มเปราะบางที่ไม่ได้รับการสำรวจในขั้นตอน
แรก

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

18

ตำบลตลาดกระทุ่มแบน
อำเภอเมืองสมุทรสาคร
จังหวัดสมุทรสาคร

การคัดเลือกพื้ นที่เป้าหมาย ในชุมชน สภาพปัญหาของกลุ่มเปราะบาง เพื่อ
สำนักงานพั ฒนาสังคมและความมั่นคง วางแผนในการดำเนินการแก้ไขปัญหา เนื่องจาก
ลักษณะเป็นชุมชนเมืองที่มีความแออัด มีปัญหา
ของมนุษย์จังหวัดสมุทรสาคร และหน่วยงาน ที่ต้องการความช่วยเหลือหลากหลาย จึงได้มี
พม. จังหวัดสมุทรสาคร ร่วมพิจารณาคัด การจัดตั้งคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
เลือกพื้ นที่จากการนำเสนอในที่ประชุมอำเภอละ เทศบาลเมืองกระทุ่มแบน มีองค์ประกอบของ
2 พื้นที่ นำเสนอความโดดเด่นของแต่ละพื้นที่ หน่วยงาน ภาคี เครือข่าย อำเภอ เทศบาลเมือง
วิเคราะห์ศักยภาพ จนได้พื้นที่ที่ตรงกับความ กระทุ่มแบน ผู้นำชุมชน และเครือข่าย อพม.
ต้องการ คือ พื้นที่ตำบลตลาดกระทุ่มแบน ด้วย
เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพที่ มีเครือข่ายและหน่วย การบูรณาการ แก้ไขปัญหา และช่วยเหลือ
งานภาครัฐขับเคลื่อนงานในพื้นที่ อาทิ สภาเด็ก รวมบูรณาการเพื่ อช่วยเหลือกลุ่มเปราะ
ศูนย์พัฒนาครอบครัว และกองทุนสวัสดิการ
ชุมชน บางในชุมชน จำนวน 127 ครัวเรือน และกลุ่ม
เปราะบางที่ต้องการรับความช่วยเหลืออย่างเร่ง
การวิเคราะห์ข้อมูล และประเด็นปัญหาในชุมชน ด่วน 40 ครัวเรือน โดยปัญหาที่พบส่วนใหญ่
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน คือ ปัญหาด้านรายได้ ซึ่งได้ให้ความช่วยเหลือ
เบื้องต้นเป็นเงินสงเคราะห์ครอบครัว ประมาณ
วิชาการ 3 ร่วมกับหน่วยงานทีม พม. จังหวัด 30 ครัวเรือน เพื่อเป็นการบรรเทาปัญหาความ
สมุทรสาคร (One Home) ลงพื้นที่สร้างความ เดือดร้อนเฉพาะหน้าของประชาชนกลุ่มเปราะบาง
เข้าใจการดำเนินกิจกรรมกับผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามความจำเป็น
เทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ผู้นำในท้องถิ่น และ
ภาคีเครือข่าย จัดเวที Focus Group ร่วมกับ
กลุ่มเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์สถานการณ์

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

19

ขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้กลุ่มเปราะบางทั้งหมด ได้รับ ปัจจัยความสำเร็จ
การวิเคราะห์ ตรวจสอบ และ คัดเลือกร่วมกัน 1. บุคลากรทุกหน่วยงานมีความมุ่งมั่น
ในเวทีวิเคราะห์กลุ่มเปราะบางและวางแผนการ
ช่วยเหลือรายครัวเรือนในเทศบาลเมือง ตั้งใจทำงาน มีแนวคิด เป้าหมายร่วมกัน
กระทุ่มแบน กลุ่มเปราะบางซึ่งเป็นผู้สูงอายุ ผู้ 2. เครือข่ายในพื้นที่ให้ความร่วมมือ
พิการ และเด็ก มีที่อยู่อาศัยมีสภาพไม่เหมาะกับ
การอยู่อาศัย จึงได้มีการจัดทำแผนในการ ทำให้สามารถให้ความช่วยเหลือได้ทันท่วงที
ซ่อมแซมที่อยู่อาศัยร่วมกับ พอช. โดยขับ 3. มีการปรับกระบวนการให้สอดคล้อง
เคลื่อนร่วมกับขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด
สมุทรสาคร ในปีงบประมาณ 2565 ได้บรรจุใน กับสถานการณ์
แผนเพื่อช่วยเหลือซ่อมแซมบ้านเพิ่มอีก จำนวน
12 หลัง ข้อจำกัด
1. พื้นที่ตลาดกระทุ่มแบนมีการระบาด
เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ส่งผล
ให้ไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนดไว้ โควิดหนัก ต่อเนื่อง
จึงต้องปรับเปลี่ยนการดำเนินงานไปตาม 2. การใช้ระบบการทำงานแบบ
สถานการณ์ เช่น การช่วยเหลือเด็กกำพร้าจาก
ครอบครัวที่ติดเชื้อไวรัส Online มีข้อจำกัด ทั้งจากวัสดุอุปกรณ์หรือ
โควิด-19 สนับสนุนเครื่องอุปโภค บริโภค ให้ บุคลากรบางส่วนที่ไม่มีความถนัดการทำงาน
กับครัวเรือนที่ต้องกักตัว โดยรับแจ้งผ่านช่อง แบบ Online
ทาง 1300 Facebook ของสำนักงาน พมจ.
การใช้ระบบ Online เข้ามาช่วยการทำงานแต่
บุคลากรบางส่วนของหน่วยงาน One Home
ไม่มีความถนัดในการใช้เทคโนโลยี แต่บุคลากร
ทุกคนมีความมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกลุ่ม
เปราะบางที่ประสบปัญหาอย่างเต็มที่

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

20

ตำบลจอมปลวก
อำเภอบางคนที
จังหวัดสมุทรสงคราม

การคัดเลือกพื้ นที่เป้าหมาย การวิเคราะห์ข้อมูล และประเด็นปัญหาในชุมชน
ประชุมแนวทางการขับเคลื่อนการ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ

ทำงานการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง 3 และหน่วยงานทีม พม. จังหวัดสมุทรสงคราม
ร่วมกับ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ (One Home) ประชุมชี้แจงแนวทางการทำงาน
3 ดำเนินการคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ขับเคลื่อนชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกับองค์การบริหาร
โดย หน่วยงานทีม พม. จังหวัดสมุทรสงคราม ส่วนตำบลจอมปลวก ผู้นำชุมชน เพื่อสร้างความ
(One Home) ร่วมกันพิจารณาเลือกพื้นที่ เข้าใจแนวทางการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการ
ตำบลจอมปลวก อำเภอบางคนที เนื่องจาก สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้นที่ พิจารณาเพิ่ม
เป็นพื้นที่ที่ ผู้นำชุมชน อาสาสมัครพัฒนาสังคม เติมองค์ประกอบจัดตั้งคณะทำงานสร้างเสริม
และความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) องค์กร ชุมชนเข้มแข็งตำบลจอมปลวก ซึ่งมีองค์
ชุมชน และภาคีเครือข่ายอื่นๆ มีความเข้มแข็ง มี ประกอบครอบคลุมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การขับเคลื่อนดำเนินงานของหลายหน่วยงาน ภาคี เครือข่าย ผู้นำชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่ และ
เช่น Thailand Community Network อาสาสมัคร รวม 17 คน โดยมีนายกองค์การ
Appraisal Program : TCNAP) โดย สสส. บริหารส่วนตำบลจอมปลวกเป็นประธาน
ซึ่งเป็นข้อมูลครัวเรือนในทุกมิติ เช่น รายได้ ที่
อยู่อาศัย การศึกษา การเจ็บป่วย เป็นต้น เพื่อ พร้อมทั้งหารือแนวทางการพั ฒนาเชิง
นำมาบูรณาการข้อมูลร่วมกัน อีกทั้งผู้บริหาร พื้นที่ ค้นหากลุ่มเปราะบางอย่างน้อย 35 ราย
องค์การบริหารส่วนตำบลจอมปลวกให้ความ โดยประสานขอข้อมูลจากทุกหมู่บ้าน มีกลุ่มเปราะ
สำคัญกับการพั ฒนาคุณภาพชีวิตของคนใน บาง 58 ราย ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ผู้พิการ มี
ตำบล ความต้องการส่วนใหญ่เป็นเงินสงเคราะห์

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

21

การบูรณาการ แก้ไขปัญหา และช่วยเหลือ ปัจจัยความสำเร็จ
ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ งจังหวัด 1. เครือข่ายให้ความร่วมมืออย่างดี
2. บุคลากรทุกหน่วยงานมีความมุ่ง
สมุทรสาคร (ศคพ.) ช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางใน
ตำบลจอมปลวกเป็นเงินสงเคราะห์ จำนวน 14 มั่นตั้งใจทำงาน เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา
ราย และสภาองค์กรชุมชนตำบลจอมปลวก ได้
รับงบประมาณจากสถาบันพั ฒนาองค์กรชุมชน ข้อจำกัด
(พอช.) ดำเนินการซ่อมแซมบ้านให้กลุ่มเปราะ 1. สถานการณ์การแพร่ระบวดของโรค
บาง จำนวน 10 หลัง นอกจากนี้ยังได้ดำเนิน
การสำรวจปัญหาด้านที่อยู่อาศัย ปัญหาด้าน โควิด 19 ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามเป็น
สุขภาพ ปัญหาด้านการศึกษา ปัญหาด้านราย พื้ นที่ติดต่อกับสมุทรสาครซึ่งมีการระบวดอย่าง
ได้ และปัญหาด้านการประกอบอาชีพระดับ หนัก ส่งผลให้มีข้อจำกัดในกาจัดกิจกรรม
บุคคลและครอบครัว ซึ่งจะสำรวจครอบคลุมทั้ง
6 หมู่บ้าน 2. กลุ่มเปราะบางส่วนใหญ่เป็นผู้สูง
อายุ กับเป้าหมายที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตแล้ว
ให้กลุ่มเปราะบางสามารถพึ่งตนเองได้ มีความ
ท้าทายสูง

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

22

ตำบลป่าเด็ง
อำเภอแก่งกระจาน
จังหวัดเพชรบุรี

การคัดเลือกพื้ นที่เป้าหมาย การวิเคราะห์ข้อมูล และประเด็นปัญหาในชุมชน
สำนักงานพั ฒนาสังคมและความ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ

มั่นคงของมนุษย์จังหวัดเพชรบุรีร่วมกับ 3 ร่วมกับหน่วยงานทีม พม. จังหวัดเพชรบุรี
หน่วยงาน พม. จังหวัดเพชรบุรี ร่วมกันคัด (One Home) จัดประชุมชี้แจงแนวทางการขับ
เลือกพื้ นที่เป้าหมายเพื่ อดำเนินกิจกรรมกา เคลื่อนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งใน
รบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง เพื่ อ พื้นที่ตำบลป่าเด็ง ร่วมกับ ผู้นำในพื้นที่ท้องที่
การบูรณาการงานตามภารกิจหลักและ อาสาสมัครพั ฒนาสังคมและความมั่นคงของ
ยุทธศาสตร์ของกระทรวง พม. จึงได้คัด มนุษย์ (อพม.) ภาคีเครือข่ายและหน่วยงานที่
เลือกพื้ นที่ตำบลป่าเด็ง เนื่องจากเป็นพื้ นที่ที่ เกี่ยวข้องในพื้นที่ พร้อมทั้งสร้างความเข้าใจ
มีผู้นำ เครือข่ายทางสังคมที่่เข้มแข็ง มีอาสา แนวทางการขับเคลื่อนกิจกรรมการบูรณาการ
สมัครพั ฒนาสังคมและความมั่นคงของ สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้นที่ พู ดคุยแลก
มนุษย์ (อพม.) รวม 15 คน จากทั้ง 10 เปลี่ยนสถานการณ์ ประเด็นปัญหาทางสังคมที่
หมู่บ้าน มีศูนย์พั ฒนาสวัสดิการสังคม ซึ่ง เกิดขึ้นในพื้ นที่และร่วมกันพิ จารณาจัดตั้งคณะทำ
เป็นองค์กรสาธารณะประโยชน์ จัดตั้งตามพ งานบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งจังหวัด
ระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการ เพชรบุรี
สังคมฯ ที่ดำเนินการมาแล้ว3 – 4 ปี อีกทั้ง
มีกองทุนสวัสดิการชุมชน ที่มีระเบียบ
กำหนดประเภทสวัสดิการเรื่องการดูแลผู้
ด้อยโอกาส

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

23

เนื่องจากพื้นที่ตำบลป่าเด็ง ไม่มีข้อมูล 3. จัดตั้งกลุ่มพลังงานทดแทน โดยใช้
กลุ่มเปราะบางใน TPMAP จึงใช้ข้อมูลผู้ประสบ พลังงานหมุนเวียนเนื่องจากชาวบ้านยังไม่มี
ปัญหาและต้องการความช่วยเหลือจากผู้นำ ไฟฟ้าใช้หลายครัวเรือน เนื่องจากเป็นพื้นที่ห่าง
ชุมชน จึงได้ดำเนินงานเริ่มจากการจัดเวทีขาย ไกล ประชาชนบางส่วนไม่มีไฟฟ้าใช้ จึงพาไป
ความคิด โดยหน่วยงานทีม พม. จังหวัด เรียนรู้ดูงานเรื่อง โซล่าเซล ที่บางเลน จัดตั้ง
เพชรบุรี (One Home) แนะนำบทบาทภารกิจ เป็นคณะทำงานเพื่อให้คำแนะนำ ช่วยช่อม ให้กับ
ของหน่วยงานและรับฟังปัญหาของชุมชน ประชาชนในพื้นที่ (ปี 2561 ดำเนินไป 3 ครัว
เพื่ อให้ประชาชนในพื้ นที่ทราบได้ว่าปัญหาที่ตน เรือน รวม 2 ปี ดำเนินการไปแล้ว 70 ครัว
ประสบอยู่สามารถแจ้งกับหน่วยงานใดได้บ้าง เรือน) นอกจากนี้ยังเกิดการเชื่อมร้อยเป็นเครือ
เพื่อขอรับความช่วยเหลือ เมื่อทีม One Home ข่ายกับศูนย์พลังงานทดแทนบางเลน จังหวัด
ได้ทราบปัญหาแล้วจึงได้เตรียมความพร้อม นครปฐม ทำให้ได้รับการสนับสนุนทั้งองค์ความ
วางแผนแก้ไขปัญหา โดยมีการบูรณาการร่วม รู้ และการระดมทรัพยากร
กับหน่วยงานอื่นภายนอกกระทรวง พม. จัดรูป
แบบสวัสดิการให้กับกลุ่มเปราะบางและสร้าง 4. การพัฒนากลุ่มอาชีพ (เกษตรกร)
โอกาสในการพั ฒนาคุณภาพชีวิตตามแผน คือการจัดตั้งธนาคารต้นกล้า เพื่อลดปัญหาและ
พั ฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือน ค่าใช้จ่ายในการซื้อต้นกล้า เนื่องจากเกษตรกร
ในพื้ นที่มีรายได้มาจากการเกษตรเพี ยงอย่าง
การบูรณาการ แก้ไขปัญหา และช่วยเหลือ เดียว และเป็นบางส่วนเป็นพื้นที่แห้งแล้ง ไม่มี
1. ประชากรในพื้นที่ส่วนใหญ่ประสบ น้ำในการเกษตรโดยจะต้องใช้น้ำตามฤดูกาล
เท่านั้น และการจัดตั้งธนาคารต้นกล้านี้ จะมีกล้า
ปัญหาในครัวเรือนประมาณ 1000 กว่าคน โดย ไม้ทุกชนิดที่เกษตรกรสามารถนำไปปลูกเพื่ อ
แบ่งเป็นผู้ยากไร้ประมาณ 260 ราย สร้างรายได้ได้ เช่น พืชระยะสั้น ไม้ผล เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีการสนับสนุนให้เกษตรกรปลูก
2. ในประชากร 46 ครัวเรือน จะมีผู้ที่ กาแฟเพื่อส่งขายเป็นวิสาหกิจชุมชน แบรนด์
ได้รับเงินสงเคราะห์จากรัฐรายละ 2000 บาท “ป่าเด็งคอฟฟี่” พัฒนากาแฟที่มีอัตตลักษณ์
ทั้งหมด 37 ราย ซึ่งกองทุนสวัสดิการป่าเด็งจะ เป็นของต้นเอง “กาแฟทุเรียน” เป็นเมนูที่มีให้หา
เป็นผู้ดูแลกลุ่มเปราะบางดังกล่าว โดยดำเนิน ดื่มได้ตามฤดูกาล
การดังนี้ หากผู้ใดที่พร้อมจสมัครเข้าเป็นสมาชิก
ก็จะให้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของกลุ่ม แต่ถ้าหาก
ผู้ใดไม่พร้อมที่จะสมัครเป็นสมาชิกของกลุ่มก็จะ
ให้สมัครเป็นสมาชิกของกลุ่มโดยไม่ต้องจ่ายเงิน
สมทบเนื่องจากมีฐานะยากจน ไม่สามารถชำระ
เงินสมทบได้

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

24

5. การจัดการขยะ เนื่องจากอปท.ใน ปัจจัยความสำเร็จ
พื้ นยังไม่มีวิธีการจัดการกับขยะที่เกิดจากชาว 1. หน่วยงานทีม พม. จังหวัดเพชรบุรี
บ้าน คือไม่มีการเข้าไปเก็บขยะ เพราะพื้นที่ที่ชาว
บ้านอาศัยอยู่นั้นปัจจุบันอยู่ในเขตอุทยานแห่ง (One Home) มีความสัมพันธ์อันดีกับองค์การ
ชาติแก่งกระจาน ทำให้ชาวบ้านในพื้นที่ไม่รู้จักวิธี บริหารส่วนตำบลป่าเด็งและผู้นำในชุมชน
ที่จะจัดการกับขยะ ชาวบ้านส่วนใหญ่จะกำจัด
ขยะโดยการเผา ทางศูนย์ฯจัดอบรมให้ความรู้ 2. แกนนำในชุมชนจิตสำนึกในการดูแล
กับชาวบ้านในเรื่องของการจัดการขยะ โดย ชุมชน ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพเพื่อให้
วิทยากรจากศูนย์สิรินาถราชินี อ.ปรานบุรี ผลสัมฤทธิ์ของงานออกมาดี และตรงกับเป้า
จ.ประจวบคีรีขันธ์ และจัดทำเตาเผาขยะไร้มลพิษ หมาย
เพื่ อเอาไว้ให้ชาวบ้านใช้เผาขยะที่เหลือจากการ
แยกขยะ และไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม 3. หน่วยงานทีม พม. จังหวัดเพชรบุรี
(One Home) มีความเข้มแข็งและความพร้อม
6. ประสานความช่วยเหลือซ่อมบ้านผู้ ในการบูรณาการร่วมกัน
เดือดร้อนที่อยู่อาศัย โดยมีสภาองค์กรชุมชน
ตำบลป่าเด็งขับเคลื่อน เชื่อมงบประมาณจาก ข้อจำกัด
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ซึ่งเป็นหน่วยงาน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ในสังกัดกระทรวง พม. และมีแผนในการช่วย
เหลือแก้ปัญหาต่อเนื่องในปี 2565 จำนวน 46 ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) มีข้อ
หลัง ดัวย ต่อยอดด้วยการพัฒนาโครงการ จำกัดทั้งการเดินทาง การรวมกลุ่มทำกิจกรรม
บ้านมั่นคงชนบทซึ่งจะมีการสนับสนุนด้านที่อยู่ การลงพื้นที่ และการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง
อาศัยไปพร้อมๆ กับการพัฒนาพื้นที่ทำกิน

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

25

ตำบลหนองตาแต้ม
อำเภอปราณบุรี
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

การคัดเลือกพื้ นที่เป้าหมาย การวิเคราะห์ข้อมูล และประเด็นปัญหาในชุมชน
สำนักงานพั ฒนาสังคมและความ วิเคราะห์ข้อมูลจาก TP Map ประกอบ

มั่นคงของมนุษย์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ กับข้อมูลสถานการณ์ในพื้ นที่พบว่ามีกลุ่มครัว
หน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. จังหวัด เรือนที่ตกเกณฑ์ยากจน จำนวน 147 ครัวเรือน
ประจวบคีรีขันธ์ ร่วมพิจารณาคัดเลือกตำบล ประสบปัญหาใน 5 ด้าน คือ ด้านสุขภาพ ด้าน
หนองตาแต้ม อำเภอปราณบุรี ความเป็นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ และ
เป็นพื้ นที่เป้าหมายโครงการบูรณาการสร้าง ด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ หากแบ่งตาม
เสริมชุมชนเข้มแข็ง เนื่องจากเป็นตำบลที่มี ประเภทสามารถแบ่งได้เป็น 3 สี คือ สีเขียว
ความเข้มแข็ง ทั้งในด้านผู้นำและบุคลากร เจ้า เหลือง แดง หมายถึงตกเกณฑ์ยากจนจำนวน
หน้าที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจทำงาน ผู้นำมีวิสัยทัศน์ 1 ด้าน 2 – 3 ด้าน และ 4 – 5 ด้าน ตามลำดับ
ในการทำงาน มีการทำงานร่วมกับ หน่วยงาน ข้อมูลของตำบลหนองตาแต้ม เป็นครัวเรือนสี
ทีม พม. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (One Home) เขียว จำนวน 113 ครัวเรือน สีเหลือง จำนวน
สม่ำเสมอ และมีการบูรณาการงานหลายหน่วย 32 ครัวเรือน สีแดง จำนวน 2 ครัวเรือน
งานทำให้ง่ายต่อการทำงานในพื้นที่ โดยมีการ
ชี้แจงเกี่ยวกับโครงการให้กับหน่วยงานในพื้ นที่
ทราบ ดำเนินการจัดตั้งคณะทำงานสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็งตำบลหนองตาแต้ม โดยมีผู้
บริหารหน่วยงานทีม one home พม. และนาย
อำเภอเป็นที่ปรึกษา รวมทั้งผู้นำในท้องถิ่น

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

26

การคัดเลือกครอบครัวที่ต้องได้รับ ปัจจัยความสำเร็จ
การพั ฒนาโดยดำเนินการคัดเลือกร่วมกันใน 1. พื้นที่มีต้นทุนเข้มแข็ง ผู้นำมีความ
คณะทำงาน และคณะทำงานย่อย ที่มีผู้นำชุมชน
ผู้ใหญ่ กำนัน ซึ่งอยู่ในพื้นที่ รู้ข้อมูลจริง จึงได้ เข้าใจและให้ความสำคัญกับงานสวัสดิการสังคม
คัดเลือกเป้าหมาย 35 ราย เพื่อดำเนินการขับ 2. คณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้ม
เคลื่อนร่วมกัน พบว่าส่วนใหญ่มีปัญหาความ
ยากจน ที่อยู่อาศัย และที่ดินทำกิน โดย แข็งตำบลหนองตาแต้ม สามารถบูรณาการงาน
สำนักงานพั ฒนาสังคมและความมั่นคงของ และงบประมาณได้อย่างดี
มนุษย์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ได้พั ฒนาการเก็บ
ข้อมูลสมุดพกครอบครัวผ่านระบบ Google 3. หน่วยงานทีม พม. จังหวัด
Form เพื่อความสะดวกต่อการจัดเก็บข้อมูล ประจวบคีรีขันธ์ (One Home) มีความร่วมมือ
และประมวลผลอีกด้วย กันเป็นกลไกขับเคลื่อนที่มีประสิทธิภาพ

การบูรณาการ แก้ไขปัญหา และช่วยเหลือ ข้อจำกัด
1. ให้การช่วยเหลือตามสภาพปัญหา สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค

ของผู้ประสบปัญหาของแต่ละบ้าน เช่น เครื่อง ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) มีข้อ
อุปโภคบริโภค เงินสงเคราะห์ จำกัดทั้งการเดินทาง การรวมกลุ่มทำกิจกรรม
การลงพื้นที่ และการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง
2. ซ่อมแซมบ้านให้ผู้เดือดร้อนที่อยู่
อาศัยบ้านพอเพียง จำนวน 5 หลัง

3. มอบเงินสงเคราะห์ให้กับครอบครัวที่
มีเด็ก จำนวน 10 ครอบครัว โดยบ้านพักเด็ก
และครอบครัวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

4. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึงจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ มองเงินสงเคราะห์ช่วยเหลือ
15 ราย

ถอดบทเรียนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

27


Click to View FlipBook Version