ฉลากโภชนาการ
FOOD LABEL
อ.รชั ดาวลั ย์ จติ รพรกลุ วศิน วท.ม.(โภชนศาสตร)์
สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายหลกั การอ่านฉลากโภชนาการได้
2. สามารถเลอื กซือ้ อาหารที่เหมาะสมกบั ความตอ้ งการ และภาวะ
โภชนาการของตนเองได้
Photo : https://www.bodybuilding.com/content/from-here-to-macros-4-steps-to-better-nutrition.html
เน้อื หาประจําบท
1. นยิ ามของฉลากอาหาร และวตั ถปุ ระสงคก์ ารแสดง
2. นิยามของฉลากโภชนาการ การแสดงฉลาก ประโยชน์ รปู แบบ
และวธิ ีการอ่านฉลากโภชนาการ
3. ฉลากโภชนาการแบบ GDA
4. ฉลากไฟจราจร
ฉลากอาหาร
นิยาม
“รปู รอยประดิษฐ์ เครื่องหมาย หรือขอ้ ความใดๆ ที่แสดงไว้ท่ี
อาหาร ภาชนะบรรจอุ าหารหรือหบี ห่อของภาชนะบรรจอุ าหาร”
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
ฉลากอาหาร (ตอ่ )
• ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบับที่ 194 พ.ศ. 2543 เร่ือง
ฉลากอาหารไดก้ าํ หนดให้
“อาหารทกุ ชนิดที่ผผู้ ลิตไมไ่ ดเ้ ป็ นผขู้ ายอาหารน้ันใหก้ ับผบู้ ริโภค
โดยตรงตอ้ งแสดงฉลากบนภาชนะบรรจุ โดยกาํ หนดใหแ้ สดงขอ้ มลู
ท่ีสามารถแบ่งกลมุ่ ตามวัตถปุ ระสงคก์ ารแสดง”
• ระบขุ อ้ ความเป็ นภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศ
วตั ถปุ ระสงคก์ ารแสดง
• ขอ้ มลู ความปลอดภยั ประกอบดว้ ย วนั ทีผ่ ลิต/หมดอายุ วิธกี ารเก็บ
รักษา วิธปี รงุ และคาํ เตอื นตา่ งๆ
• ข้อมูลคว ามค้มุ ค่า ป ระก อบด้วย ชื่อ/ ประเภทขอ งอา หา ร
ส่วนประกอบซ่ึงเรียงลําดับตามปริมาณที่ใชจ้ ากมากไปนอ้ ย และ
ปริมาณอาหาร (นา้ํ หนกั หรอื ปริมาตร) ในภาชนะบรรจุ
• ขอ้ มลู เพอ่ื การโฆษณา ไดแ้ ก่ รปู ภาพและขอ้ ความกล่าวอา้ งตา่ งๆ
• ขอ้ มลู เพ่ือแสดงความเช่ือม่ัน ไดแ้ ก่ ยี่หอ้ อาหาร ชื่อและที่อย่ขู อง
ผผู้ ลิต ผจู้ าํ หนา่ ยหรือผนู้ าํ เขา้ เครื่องหมาย อย. และตราสัญลักษณ์
ตา่ ง ๆ
Photo : http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2202/food-label
การแสดงฉลากโภชนาการ
คอื การแสดงขอ้ มลู โภชนาการของอาหารนั้นๆ บนฉลากในรปู ของ
ชนดิ และปรมิ าณของสารอาหาร ในรปู ของ
"กรอบขอ้ มลู โภชนาการ" ซงึ่ ระบุ
– ชนดิ สารอาหาร
– ปริมาณสารอาหาร
ตามรปู แบบเงอ่ื นไขท่กี าํ หนด โดยอาจมี
ขอ้ ความกลา่ วอา้ ง เชน่ แคลเซียมสงู เสริมไอโอดีน
หัทยา กองจันทึก, 2546
ทําไมจึงตอ้ งมีการแสดงฉลากโภชนาการ
ขาด เชน่ ขาดโปรตีน โรคขาดไอโอดนี โรคโลหติ จางจากการขาด
ธาตเุ หล็ก
เกนิ เชน่ โรคอว้ น โรคเบาหวาน โรคโคเลสเตอรอลสงู ในเลอื ด โรค
ความดันโลหติ สงู
ดงั น้นั การเลือกบริโภคให้ถกู ต้องเหมาะสมกับภาวะ
โภชนาการของแต่ละคน จงึ เป็ นสง่ิ สาํ คญั ยง่ิ ในการดแู ลสขุ ภาพ
หัทยา กองจันทึก, 2546
ประโยชนข์ องฉลากโภชนาการ
ฉลากโภชนาการช่วยใหผ้ บู้ ริโภค
1. เลือกรบั ประทานอาหารใหเ้ หมาะสมกับความตอ้ งการของตนเองได้
เชน่ หากตอ้ งการคมุ นา้ํ หนกั ควรผลิตภณั ฑท์ ี่มพี ลังงาน นา้ํ ตาล ไขมนั
นอ้ ย
2. ชว่ ยใหผ้ บู้ ริโภคหลกี เลย่ี งสารอาหารที่ไมต่ อ้ งการ หรอื ตอ้ งการจํากัด
การบรโิ ภค
3. ผบู้ รโิ ภคสามารถเปรียบเทียบเลือกซอ้ื ผลติ ภณั ฑอ์ าหารชนิดเดียวกัน
โดยเลือกย่หี อ้ ท่มี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการดกี วา่ ได้
สมาคมนักกาํ หนดอาหาร, 2555
หวั ใจของการแสดงฉลากโภชนาการ
• การกลา่ วอา้ งตอ้ งเป็ นความจริง
เชน่ บอกวา่ มวี ิตามนิ เอ ตอ้ งมจี รงิ
• ไมท่ าํ ใหเ้ ขา้ ใจผิด
การใหข้ อ้ มลู ทวั่ ไปบนฉลากวา่ "แคลเซยี มเป็ นส่วนประกอบสาํ คัญของ
กระดกู และฟัน" นั้น ผบู้ ริโภคเห็นแลว้ ก็จะเขา้ ใจว่าอาหารทร่ี ะบขุ อ้ ความนี้มี
แคลเซยี มอยมู่ าก ดังน้ัน จะระบขุ อ้ ความใหค้ วามรเู้ กีย่ วกับหนา้ ที่ของ
แคลเซยี มเชน่ นี้ไดก้ ็ต่อเมอ่ื อาหารนน้ั "ม"ี แคลเซยี มอยา่ งนอ้ ย 10% ของ
Thai RDI เทา่ นั้น
หทั ยา กองจนั ทึก, 2546
• ขอ้ มลู นนั้ ใหค้ วามรทู้ างโภชนาการที่ถกู ตอ้ งแก่ผบู้ รโิ ภค
แตถ่ า้ มจี ริงแต่มนี อ้ ยเกนิ ไปก็จะกลา่ ววา่ "ม"ี ไมไ่ ด้ เพราะนอ้ ยเกิน
กว่าทีจ่ ะเป็ นประโยชนท์ างโภชนาการตอ่ ร่างกาย ดงั นนั้
จะกล่าววา่
"มี" ไดก้ ็ตอ้ งมอี ยา่ งนอ้ ย 10% ของ Thai RDI * ข้ึนไป
"สงู " ก็ตอ้ งมถี งึ 20 %
หัทยา กองจันทึก, 2546
Thai Recommended Daily Intakes
ชนิดของอาหาร ปรมิ าณที่แนะนํา % แคลอรี
จากอาหารท้งั หมด
พลงั งานรวม ไมเ่ กนิ 65 กรัม
ไขมนั รวมทง้ั หมด ไม่เกิน 20 กรมั 100%
ไม่เกนิ 300 มก. ไมเ่ กิน 30%
ไขมันอ่มิ ตวั ไม่เกนิ 10%
โคเลสเตอรอลรวม 50 กรมั
300 กรมั 10%
โปรตีน 60%
คารโ์ บไฮเดรตท้ังหมด ไม่เกนิ 2,400 มก.
25 กรัม
นํา้ ตาล
โซเดียม (นบั เฉพาะตวั โซเดียม) 800 ไมโครกรัม
1.5 มก.
ใยอาหาร (fiber) 1.7
วิตามินเอ 800 มก.
วิตามินบี 1 15 มก.
วิตามินบี 2
แคลเซียม
เหลก็
อาหารที่ตอ้ งแสดงฉลากโภชนาการ
• อาหารทมี่ กี ารกล่าวอา้ งทางโภชนาการ
• อาหารทม่ี กี ารใชค้ ณุ คา่ ทางโภชนาการ
ส่งเสริมการขาย
• อาหารทีร่ ะบกุ ลมุ่ ผบู้ ริโภคในการส่งเสริมการ
ขาย
• อาหารอืน่ ๆ ตามที่ อย. กาํ หนด
สมาคมนกั กาํ หนดอาหาร, 2555
กรอบขอ้ มลู โภชนาการ
2 รปู แบบ
• ฉลากโภชนาการแบบเตม็
เป็ นฉลากที่แสดงชนดิ และปรมิ าณสารอาหารทส่ี าํ คญั 15 รายการ
• ฉลากโภชนาการแบบยอ่
ใชใ้ นกรณีท่มี สี ารอาหารตั้งแต่ 8 รายการ มปี ริมาณนอ้ ยมากจน
ถอื วา่ เป็ นศนู ย์
สมาคมนักกาํ หนดอาหาร, 2555
การแสดงกรอบขอ้ มลู โภชนาการแบบยอ่
ขอ้ มลู โภชนาการ
หน่ึงหน่วยบรโิ ภค :……………..(………...)
จาํ นวนหน่วยบรโิ ภคต่อ ……… : ……...
คณุ คา่ ทางโภชนาการต่อหนึ่งหนว่ ยบริโภค
พลงั งานทั้งหมด …… กิโลแคลอรี
รอ้ ยละของปริมาณท่ีแนะนาํ ตอ่ วนั *
ไขมนั ทัง้ หมด ….. ก. …..%
โปรตีน ….. ก.
คารโ์ บไฮเดรตทง้ั หมด ….. ก. …..%
นา้ํ ตาล ….. ก.
โซเดียม ….. มก. …..%
* รอ้ ยละของปริมาณสารอาหารทีแ่ นะนาํ ให้บรโิ ภคต่อวันสาํ หรบั คนไทยอายตุ ้ังแต่ 6
ปี ขึน้ ไป (Thai RDI) โดยคิดจากความตอ้ งการพลังงานวันละ 2,000 กโิ ลแคลอรี
การแสดงกรอบขอ้ มลู โภชนาการแบบเต็ม
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู โภชนาการ
ส่วนที่ 2 หนงึ่ หนว่ ยบรโิ ภค :……………..(………...)
จาํ นวนหน่วยบรโิ ภคต่อ ……… : ……...
คณุ ค่าทางโภชนาการต่อหนึง่ หน่วยบรโิ ภค
พลงั งานทั้งหมด …… กโิ ลแคลอรี (พลังงานจากไขมัน ….. กโิ ลแคลอร)ี
รอ้ ยละของปรมิ าณที่แนะนาํ ต่อวนั *
ไขมนั ท้ังหมด ….. ก. …..%
ไขมนั อ่ิมตัว ….. ก. …..%
…..%
โคเลสเตอรอล ….. มก. …..%
โปรตีน ….. ก. …..%
คารโ์ บไฮเดรตท้ังหมด ….. ก. …..%
ใยอาหาร ….. ก.
นา้ํ ตาล ….. ก.
โซเดียม ….. มก.
วติ ามนิ เอ รอ้ ยละของปรมิ าณท่แี นะนําตอ่ วนั * …..%
วติ ามนิ บี 2 …..% วิตามนิ บี 1 …..%
เหลก็ …..% แคลเซียม
…..%
* รอ้ ยละของปริมาณสารอาหารท่แี นะนําใหบ้ ริโภคต่อวันสําหรับคนไทยอายตุ งั้ แต่ 6 ปี ข้นึ ไป (Thai RDI) โดยคดิ
จากความตอ้ งการพลงั งานวนั ละ 2,000 กิโลแคลอรี
ส่วนที่ 3 ความตอ้ งการพลังงานของแต่ละบคุ คลแตกตา่ งกนั ผทู้ ีต่ อ้ งการพลงั งานวนั ละ 2,000 กิโลแคลอรี ควรไดร้ ับ
ชนิด ปริมาณสารอาหาร สารอาหารตา่ ง ๆ ดงั น้ี
ที่สําคญั 15 รายการ ไขมนั ทั้งหมด นอ้ ยกว่า 65 ก.
ไขมันอิ่มตวั นอ้ ยกว่า 20 ก.
นอ้ ยกว่า 300 มก.
โคเลสเตอรอล
คาร์โบไฮเดรตทงั้ หมด 300 ก.
25 ก.
ใยอาหาร
โซเดยี ม นอ้ ยกวา่ 2,400 มก.
พลงั งาน (กิโลแคลอร)ี ตอ่ กรมั : ไขมัน = 9 ; โปรตีน = 4 ; คารโ์ บไฮเดรต = 4
วิธีการอ่านฉลากโภชนาการ
1. ปรมิ าณหนง่ึ หนว่ ยบริโภค เป็ นปริมาณการกนิ ตอ่ ครง้ั ที่แนะนาํ ใหผ้ บู้ รโิ ภค
รับประทาน
2. จาํ นวนหน่วยบริโภคต่อภาชนะบรรจุ เป็ นจาํ นวนท่บี อกว่าถา้ กินคร้ังละ
หนึ่งหนว่ ยบรโิ ภคจะแบง่ กนิ ไดก้ ่ีคร้ัง
3. คณุ ค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค กินปริมาณที่ระบุในหนึ่ง
หน่วยบริโภคว่าแลว้ จะไดพ้ ลงั งานเท่าใด สารอาหารอะไรบา้ ง ปริมาณเทา่ ใด
4. รอ้ ยละของปรมิ าณทแ่ี นะนาํ ใหก้ นิ ต่อวนั การเปรียบเทียบสารอาหารท่ี
ได้จากการกินท่ีระบุในหน่ึงหน่วยบริโภคเทียบกับสารอาหารท่ีแนะนําให้
บริโภคตอ่ วัน
5. ปรมิ าณสารอาหารทีแ่ นะนาํ ใหบ้ รโิ ภคตอ่ วัน
สมาคมนักกาํ หนดอาหาร, 2555
ความหมายของหน่ึงหนว่ ยบรโิ ภคในผลิตภณั ฑต์ ่างๆ
สมาคมนกั กาํ หนดอาหาร, 2555
จํานวนหนว่ ยบรโิ ภคต่อภาชนะบรรจุ
สมาคมนกั กาํ หนดอาหาร, 2555
ฉลากโภชนาการแบบ GDA
ฉลากโภชนาการแบบจดี ีเอ (Guideline Daily Amounts) หรือฉลาก
หวานมนั เค็ม ท่แี สดงหนา้ บรรจภุ ัณฑเ์ พ่ือใหผ้ บู้ ริโภคเห็นไดช้ ดั เจนและ
อา่ นงา่ ย
โดยแสดงปริมาณสารอาหาร ไดแ้ ก่
พลังงาน(กิโลแคลอรี) นาํ้ ตาล(กรัม)
ไขมนั (กรัม) โซเดยี ม(กรัม)
สมาคมนกั กาํ หนดอาหาร, 2555
ฉลากโภชนาการแบบ GDA
• กล่มุ ขนมขบเค้ียว
• กลม่ ุ ชอ็ กโกแลต
• กล่มุ ผลติ ภณั ฑข์ นมอบ
• กลม่ ุ อาหารกึง่ สาํ เรจ็ รปู
• กล่มุ อาหารม้ือหลกั แช่เย็น
แชแ่ ขง็
วิธีการอา่ นฉลาก GDA
1. ดวู า่ หากรับประทานทั้งหมดถงุ น้ีจะไดร้ ับพลังงาน นา้ํ ตาล ไขมนั
และโซเดยี มในปริมาณเทา่ ไหร่
2. ดวู า่ ฉลากหวาน มนั เค็ม ระบไุ วว้ ่า ถงุ นี้ควรแบ่งกนิ ก่คี ร้ัง
3. จาํ กัดการบริโภคพลังงาน นา้ํ ตาล ไขมนั และโซเดยี ม ในแตล่ ะวันไม่
ควรเกิน 100% ของปรมิ าณสงู สดุ ทีบ่ รโิ ภคไดต้ ่อวนั
4. หากต้องการทราบคณุ ค่าทางโภชนาการโดยละเอียด สามารถ
พลกิ ดกู รอบขอ้ มลู โภชนาการท่ดี า้ นหลังบรรจภุ ัณฑ์
สมาคมนักกาํ หนดอาหาร, 2555
สาํ นกั อาหาร สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ . (2554).
สาํ นกั อาหาร สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ . (2554).
ตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑ์
สมาคมนักกาํ หนดอาหาร, 2555
ฉลากไฟจราจร
เอกสารอา้ งอิง
1. พชร แกว้ กลา้ . (ม.ปป.). มารจู้ กั ฉลากอาหาร “ไฟจราจร”. [ออนไลน]์ เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://www.consumerthai.org/campaign/menutrafficlightlabelling/3950-
trafficlightlabelling.html. คน้ หาเมื่อวนั ท่ี 18 เมษายน 2563
2. พระราชบัญญตั อิ าหาร พ.ศ.2522.
3. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ที่ 182) พ.ศ.2541เร่อื งฉลากโภชนาการ.
4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ที่ 194) พ.ศ.2543 เร่อื งฉลากอาหาร.
5. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ท่ี 219) พ.ศ.2544เรอ่ื งฉลากโภชนาการ (ฉบบั ท่ี 2).
6. สาํ นักอาหาร สาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ . (2554). ค่มู อื
รณรงคใ์ หค้ วามรเู้ รอื่ งฉลากโภชนาการ.
7. สมาคมนกั กาํ หนดอาหาร. (2555). จากพื้นฐานทางโภชนาการ สฉู่ ลากหวานมนั เค็ม. สาํ นัก
โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ .
8. หทั ยา กองจนั ทึก. (2546) ฉลากโภชนาการใหอ้ ะไรกบั ผบู้ ริโภค. สาํ นกั งานคณะกรรมการ
อาหารและยา [ออนไลน]์ เขา้ ไดจ้ าก www.fda.moph.go.th/project/foodsafety/label46.doc คน้ หา
เมอื่ วนั ที่ 31 มกราคม 2557