The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ 2020 ครั้งที่ 16

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศว.ยะลา แผน, 2021-02-19 02:14:00

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์

โครงการเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ 2020 ครั้งที่ 16

Keywords: เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ 2020 ครั้งที่ 16

คำนำ

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ร่วมมือกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(สสวท.) ดำเนินงาน “โครงการภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ 2020 ครั้งที่ 16” ในหัวข้อ เป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals - SDGs) จัดขึ้นในวันที่ 20 ตุลาคม - 31 ธันวาคม
2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสรา้ งความตระหนักในความสำคัญของวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ
สิ่งแวดล้อม โดยการกระตุ้นบรรยากาศการเรียนรู้ และการพัฒนาการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ผ่านสื่อภาพยนตร์
และสื่อต่างๆ เป็นการเสริมสร้างวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ตลอดจนสร้างภาคีเครือข่าย ใน
พน้ื ที่รับผิดชอบ ได้แก่ จงั หวัดยะลา สงขลา และสตูล โดยมีกล่มุ เป้าหมายเป็นนักเรียน นักศกึ ษา ท้งั ในและนอก
ระบบโรงเรียน ประชาชน และภาคีเครือข่าย โดยการนำภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ ไปจัดฉายใน 2 รูปแบบ ได้แก่
ภายในศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา และภายนอกศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา พร้อมกับการจัด
กจิ กรรมวิชาการที่เกย่ี วข้อง

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ได้จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน “โครงการภาพยนตร์
วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ 2020 ครั้งที่ 16” โดยรวบรวมผลการดำเนินงาน เพื่อเป็นข้อมูลสารสนเทศ และ
เป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ พฒั นาการดำเนนิ งานให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้ึน

ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา

ก|หน้า

สารบัญ

คำนำ หน้า
สารบญั
สารบัญตาราง ก

ความเปน็ มาของโครงการ ค
ภาคเี ครือขา่ ย และการเขา้ รบั ชมภาพยนตร์ 1
วตั ถุประสงค์ของโครงการ 2
เปา้ หมายของการดำเนินโครงการ 4
ระยะเวลาการดำเนินโครงการ 4
งบประมาณ 4
พน้ื ท่ดี ำเนินการ 4
ข้ันตอนการดำเนนิ งาน 4
ผลการดำเนินงาน และรายละเอยี ดจำนวนผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ 5
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ความความพงึ พอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการ 5
7
ส่วนท่ี 1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลทว่ั ไป 7
ส่วนท่ี 2 ผลการวเิ คราะห์ความพงึ พอใจของผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ 9
สว่ นท่ี 3 ขอ้ คิดเหน็ ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ 10
ภาพยนตรท์ ผี่ ู้เขา้ ชมช่ืนชอบ 11
การจดั กิจกรรมเก่ยี วกบั ภาพยนตร์ 11
ปัญหา อปุ สรรค 13
ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนา 14
ประมวลภาพโครงการเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การเรียนรู้ 2020 ครัง้ ที่ 16 15
คณะผจู้ ัดทำ 19

ข|หน้า

สารบัญตาราง

หนา้

ตารางท่ี 1 รายละเอียดภาคีเครอื ข่ายทรี่ ว่ มบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) 2

ตารางท่ี 2 รายละเอยี ดภาคีเครอื ขา่ ยทเี่ ข้ารบั ชมภาพยนตรภ์ ายในศูนย์วิทยาศาสตร์ 3

เพื่อการศึกษายะลา

ตารางท่ี 3 รายละเอียดภาคีเครอื ขา่ ยท่ีศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลาเคลื่อนทไี่ ปจัดฉาย 3

ตารางท่ี 4 จำนวนภาคีเครอื ข่ายที่จดั ฉายภาพยนตร์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การเรียนรู้ แยกรายจงั หวัด 6

ตารางที่ 5 จำนวนผ้เู ข้ารบั ชมภาพยนตรว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการเรียนรู้ 6

ตารางท่ี 6 จำนวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ 7

ตารางท่ี 7 จำนวนและรอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จำแนกตามประเภทของผู้รบั บรกิ าร 7

ตารางท่ี 8 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามระดับการศึกษา 8

ตารางที่ 9 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามสถานทท่ี า่ นรับชมภาพยนตร์ 8

ตารางที่ 10 ผลการประเมินระดบั ความพึงพอใจของผู้รับบรกิ าร 9

ค|หน้า

โครงการเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการเรยี นรู้ 2020 คร้ังที่ 16
ของศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษายะลา

ความเป็นมาของโครงการ

เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้เป็นการรวมกันของศาสตร์ด้านศิลปะผนวกกับความรู้
ด้านวิทยาศาสตร์ผ่านสื่อภาพยนตร์และโทรทัศน์กลุ่มเป้าหมายหลักของเทศกาลฯ คือ กลุ่มเด็กและเยาวชน
จุดประสงค์ในการจัดเทศกาลฯเพื่อกระตุ้นและเสริมสร้างการสังเกตและก ารตั้งคำถามเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้
ที่ไม่ได้เพียงเพื่อเพิ่มคุณค่าให้ชีวิตแต่ถือหลักการง่ายๆ เพื่อความสนุกในการเรียนรู้รวมทั้งการเข้าถึงความรู้เป็น
สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่เราพึงจะได้รับและไม่ได้คำนึงเพียงแค่ว่าจะฉายภาพยนตร์แต่ในเมืองหลวงเพียง
เทา่ นัน้ แตค่ วรนำความรู้ไปสกู่ ลุ่มผูช้ มท่อี ยู่ตามต่างจังหวัด

โดยสถาบันเกอเธ่ แห่งประเทศไทย ร่วมกับหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ทั่วประเทศ อาทิ สถาบัน
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.)
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และกลุ่มศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 18
แห่งทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันขบั เคลื่อนองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมผ่านส่ือภาพยนตร์
บันเทิงให้กับผู้คนในสังคมไทย ภาพยนตร์ที่เข้าฉายในครั้งนี้จะนำเสนอเรื่องราวทางวิทยาศาสตร์ให้เป็นที่เข้าใจ
ง่ายและมีความเพลิดเพลินในการรับชม เหมาะสำหรับทุกเพศทุกวัยและในปีนี้ได้นำเสนอหัวข้อ
“เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” ร่วมสำรวจเทคโนโลยีที่จะมาเปลี่ยนโลกของเรา โดยผ่านสื่อภาพยนตร์
วิทยาศาสตร์ที่ชนะการประกวดจากทั่วโลก โดยทุกเรื่องมีการกำหนดอายุของผู้ชมเอาไว้และบรรยายเป็น
ภาษาไทยเรยี บร้อยแล้ว จงึ นบั เป็นภาพยนตร์คุณภาพที่ผา่ นคัดสรรและเปน็ ภาพยนตร์ที่ให้ความรู้คู่ความบันเทิง
อย่างแทจ้ รงิ

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ได้ดำเนินการโครงการภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้
2020 ครั้งท่ี 16 โดยการขับเคลื่อนร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่ได้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)
จำนวน 34 แห่ง พร้อมจัดฉายภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ 2 รูปแบบหลัก ได้แก่ ภายในศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ
การศกึ ษายะลา และภายนอกศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษายะลาเพอื่ ใหส้ าธารณชน ตระหนกั ในความสำคัญของ
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม โดยกระตุ้นบรรยากาศการเรียนรู้ผ่านสื่อภาพยนตร์ และ
กิจกรรมต่าง ๆ เสริมสร้างวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ให้เกิดในสังคมไทย สามารถสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในพื้นท่ี
รบั ผิดชอบได้อย่างกว้างขวาง โดยมีรายละเอียดดังตารางต่อไปน้ี

๑|หน้า

ภาคเี ครือขา่ ย และการเข้ารบั ชมภาพยนตร์

ตารางที่ 1 รายละเอยี ดภาคเี ครอื ขา่ ยที่รว่ มบันทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมือ (MOU)

ลำดบั ท่ี ภาคีเครอื ขา่ ย อำเภอ จังหวัด
1 โรงเรยี นอนบุ าลยะลา เมืองยะลา ยะลา
2 โรงเรียนนิบงชนปู ถัมภ์ เมืองยะลา
3 โรงเรยี นธรรมวิทยามูลนธิ ิ เมืองยะลา สงขลา
4 โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุงจงั หวัดยะลา เมืองยะลา
5 โรงเรียนเฉลมิ พระเกียรติสมเดจ็ พระศรนี ครินทร์ ยะลา เมืองยะลา ๒|หน้า
ในพระราชปู ถัมภส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ
6 สยามบรมราชกมุ ารี เมอื งยะลา
มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา คณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
7 และการเกษตร เมอื งยะลา
8 สำนักการศึกษาเทศบาลนครยะลา เมืองยะลา
เครอื ข่ายสง่ เสรมิ ประสิทธิภาพการจดั มัธยมศึกษาจังหวดั
9 ยะลา (สมป.ยะลา) เมอื งยะลา
สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
10 อัธยาศยั จงั หวดั ยะลา รามัน
11 โรงเรยี นโกตาบารู กาบงั
12 โรงเรยี นบา้ นลูโบ๊ะปันยัง ยะหา
13 โรงเรียนบา้ นซีเยาะ กรงปนิ งั
14 โรงเรียนบ้านกวู า บันนงั สตา
15 โรงเรยี นตาเนาะปเู ต๊ะ เมืองสงขลา
16 โรงเรยี นเกาะแตว้ พทิ ยาสรรค์ เมอื งสงขลา
17 โรงเรียนเทศบาล 3 (วัดศาลาหัวยาง) เมอื งสงขลา
18 โรงเรยี นเทศบาล 4 (บา้ นแหลมทราย) เมอื งสงขลา
19 กองกำกบั การตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 เมอื งสงขลา
สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
20 ตามอัธยาศยั จังหวดั สงขลา เมืองสงขลา
สถาบันวจิ ัยดาราศาสตรแ์ ห่งชาติ (หอดูดาวเฉลิมพระเกยี รติ
21 7 รอบ พระชนมพรรษา สงขลา) หาดใหญ่
22 โรงเรียนธดิ านุเคราะห์ หาดใหญ่
23 โรงเรยี นแสงทองวิทยา หาดใหญ่
24 โรงเรียน มอ.วทิ ยานุสรณ์ หาดใหญ่
25 โรงเรยี นเทศบาล 1 (เอ็งเสยี งสามคั คี) หาดใหญ่
26 โรงเรยี นเทศบาล 2 (บา้ นหาดใหญ่) หาดใหญ่
27 โรงเรยี นเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคณุ านุสรณ)์ หาดใหญ่
โรงเรียนเทศบาล 4 (วดั คลองเรียน)

ตารางที่ 1 รายละเอยี ดภาคเี ครือข่ายทร่ี ว่ มบนั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมอื (MOU) (ต่อ)

ลำดบั ที่ ภาคเี ครอื ข่าย อำเภอ จงั หวัด
28 โรงเรยี นเทศบาล 6 (อนุบาลในฝนั ) หาดใหญ่ สงขลา
29 อุทยานการเรียนรบู้ า้ นพรุ (TK Park Banpru) หาดใหญ่ สตูล
เทศบาลเมืองบ้านพรุ
30 โรงเรยี นเจริญรัตนศ์ กึ ษาวัฒนา รัตภมู ิ
31 เครือข่ายท่าชะม่วงสามัคคี (โรงเรียนบา้ นกำแพงเพชร) รัตภูมิ
32 โรงเรยี นจะนะวิทยา จะนะ
33 สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล เมอื งสตูล
34 สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา เมืองสตูล
ตามอัธยาศัยจังหวัดสตลู

ตารางที่ 2 รายละเอยี ดภาคเี ครอื ขา่ ยที่เข้ารับชมภาพยนตร์ภายในศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา

ลำดับที่ ภาคเี ครือข่าย อำเภอ จงั หวดั
1 โรงเรียนรัชตะวทิ ยา เมอื ง
2 โรงเรียนสตรอี สิ ลามวิทยามลู นิธิ เมือง ยะลา
3 โรงเรยี นวัดหนา้ ถ้ำ (พุทธไสยานสุ รณ)์ เมือง
4 โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จงั หวัดยะลา เมือง ปตั ตานี
5 โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เมือง นราธิวาส
6 โรงเรยี นบา้ นสาคู บันนังสตา
7 โรงเรยี นบ้านครี ลี าดพฒั นา บนั นังสตา สตลู
8 โรงเรยี นอิสลามนติ วิ ทิ ย์ ทงุ่ ยางแดง
9 โรงเรยี นอิสลามพัฒนา มายอ
10 โรงเรยี นภัทรียาอนุบาล รอื เสาะ
11 โรงเรยี นศรที กั ษิณ รอื เสาะ
12 โรงเรียนธรรมศาสนว์ ทิ ยา ควนโดน

ตารางที่ 3 รายละเอียดภาคเี ครอื ข่ายที่ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลาเคลื่อนท่ไี ปจดั ฉาย

ลำดับท่ี ภาคเี ครอื ข่าย อำเภอ จงั หวัด
1 โรงเรยี นบ้านคลองต่อ (ทวีรตั น์อปุ ถมั ภ)์ รัตภมู ิ สงขลา
2 โรงเรยี นรุง่ โรจนว์ ทิ ยา จะนะ
3 โรงเรยี นชัยมงคลวทิ ย์ เมืองสงขลา สตลู
4 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เมืองสงขลา
อำเภอเมืองสงขลา
5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 สตลู เมอื งสตูล
6 โรงเรยี นสตลู วิทยา เมืองสตลู
7 โรงเรยี นบา้ นคลองขุด เมอื งสตลู

๓|หน้า

/ วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพอ่ื จัดฉายภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตรใ์ นเขตพนื้ ทร่ี ับผดิ ชอบจงั หวัดชายแดนภาคใต้
2. เพอ่ื เผยแพร่ความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอ้ มในปจั จุบัน
3. เพ่ือใหผ้ ูร้ บั บริการมีความพงึ พอใจในการชมภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์

เป้าหมายของการดำเนนิ โครงการ

1. เชงิ ปริมาณ
ผู้รบั ชมภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ในเขตพื้นท่รี ับผดิ ชอบ 3 จงั หวัด ไดแ้ ก่ จังหวัดยะลา สงขลา

และสตลู จำนวนไม่ตำ่ กวา่ 15,000 คน
2. เชงิ คุณภาพ

ผรู้ บั ชมภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตรเ์ กดิ เจตคติทด่ี ีต่อวิทยาศาสตร์ และนำความรูท้ ่ีได้รบั ไป
ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั

ระยะเวลาการดำเนนิ โครงการ

ระยะเวลาการดำเนนิ โครงการ ระหว่างวนั ท่ี 20 ตลุ าคม – 31 ธันวาคม 2563

งบประมาณ

ในการดำเนินโครงการ ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(สสวท.) เป็นจำนวนเงิน 75,000 บาท

พนื้ ท่ดี ำเนินการ

1. ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา
2. หนว่ ยงานภาคีเครือข่าย จำนวน 34 แหง่ ในพื้นทรี่ บั ผดิ ชอบ จงั หวัดยะลา สงขลา และสตูล

๔|หน้า

ขั้นตอนการดำเนนิ งาน

ข้นั ตอนท่ี 1 การทำบนั ทึกขอ้ ตกลงร่วมมอื (MOU) ระหวา่ งศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษายะลากับสสวท.
ขั้นตอนท่ี 2 ผู้ประสานงานและบุคลากรศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลาที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรม

เข้าร่วมประชุมออนไลน์ กับ สสวท.ชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงานของเทศกาลภาพยนตร์
วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การเรียนรู้ คร้ังท่ี 16
ขน้ั ตอนที่ 3 รับไฟลภ์ าพยนตร์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการเรยี นรู้ คร้งั ที่ 16 จาก สสวท.
ขัน้ ตอนท่ี 4 ผปู้ ระสานประชุมชแี้ จงบคุ ลากรศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษายะลา
- ประชุมปฏิบัตกิ ารออกแบบกจิ กรรม
- ชมภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การเรยี นรู้
ขั้นตอนที่ 5 ผู้ประสานงานและบุคลากรศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลาที่เกี่ยวข้องกับการจัด
กิจกรรม เข้าร่วมประชุมออนไลน์ ชมการสาธิตกิจกรรม เกม ที่เชื่อมโยงกับภาพยนตร์
วิทยาศาสตร์ โดยบคุ ลากรจาก สสวท. อพวช. และศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา (เอกมัย)
ขั้นตอนที่ 6 บุคลากรศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลาร่วมกันสรุปกิจกรรมเพื่อใช้ประกอบการจัด
ฉายภาพยนตร์วิทยาศาสตร์
ขั้นตอนที่ 7 บุคลากรศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลาร่วมประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการ
4 รูปแบบ ไดแ้ ก่
1) รูปแบบการทำ MOU ผนวกกบั สนบั สนนุ ส่ือภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์และสื่อวิทยาศาสตร์
2) รปู แบบจดั ฉายภาพยนตร์ผนวกจัดกิจกรรม ณ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษายะลา
3) รูปแบบจัดฉายภาพยนตร์ผนวกจัดกิจกรรม ณ สถานศึกษาเครือข่าย โดยศูนย์วิทยาศาสตร์

เพอื่ การศึกษายะลาเป็นผ้จู ดั ฉาย (เคลื่อนที่)
4) รปู แบบชมภาพยนตร์ผา่ นออนไลน์ ทาง Vimeo Link ให้แก่ผู้ทสี่ นใจ สง่ ผ่านทาง Email เทา่ น้ัน
ขั้นตอนที่ 8 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลาประชุมออนไลน์ ชี้แจงการดำเนินงานการจัดฉาย
ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์และร่วมทำบนั ทึกขอ้ ตกลงความร่วมมือ (MOU) กับภาคีเครือขา่ ย
ขน้ั ตอนที่ 9 นเิ ทศ ติดตาม การจดั กจิ กรรมเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการเรียนรู้ ครั้งท่ี 16
ขน้ั ตอนที่ 10 สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการเทศกาลภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการเรียนรู้ ครั้งท่ี 16

ผลการดำเนนิ งาน และรายละเอียดจำนวนผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ

จากการดำเนินงานโครงการภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ 2020 ครั้งที่ 16 ในหัวข้อ
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นความร่วมมือระหว่างสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)กระทรวงศึกษาธิการ และศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 18 แห่ง
ทั่วภูมิภาค เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้ ทักษะทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม โดยใช้
ภาพยนตร์เป็นสื่อกลางในการนำสาระความบันเทิงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปสู่ประชาชน กระตุ้น
และส่งเสริมการเรียนรู้ความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีกิจกรรมฉายภาพยนตร์ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
กบั ภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตร์

๕|หน้า

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ได้ดำเนินการจัดโครงการภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้
2020 ครั้งที่ 16 ในวันที่ 20 ตุลาคม – 31 ธันวาคม 2563 ร่วมกับสถานศึกษาและหน่วยงานเครือข่าย
จำนวน 34 แห่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสิ่งแวดล้อมผ่านการชมภาพยนตร์ และการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ โดยมี
กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ในพื้นที่รับผิดชอบ 3 จังหวัด ได้แก่ ยะลา สงขลา
และสตลู จำนวนไมต่ ำ่ กวา่ 15,000 คน โดยรายละเอยี ดดงั ตารางตอ่ ไปน้ี

ตารางท่ี 4 จำนวนภาคีเครอื ขา่ ยทจ่ี ดั ฉายภาพยนตร์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการเรยี นรู้ แยกรายจงั หวัด

สถานศกึ ษาเขา้ ร่วมรบั ชมภาพยนตร์ (แห่ง)

ท่ี จังหวดั ภาคเี ครอื ข่าย จดั ฉายโดยภาคี จดั ฉายโดย จดั ฉายโดย
ท่รี ่วมบนั ทึกข้อตกลง เครือข่ายท่ีร่วม ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์
1 ยะลา บนั ทึกข้อตกลง เพอ่ื การศึกษา เพ่อื การศึกษายะลา
2 สงขลา MOU (แหง่ ) ยะลา (ภายใน)
3 สตลู (เคลอ่ื นท)่ี
4 ปัตตานี 14
5 นราธิวาส 18 23 7 -
2
รวม - 40 - 4
-
34 81 3

-2 -

-2 -

71 12 7

ตารางที่ 5 จำนวนผเู้ ข้ารับชมภาพยนตร์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการเรยี นรู้

สถานท่จี ัดฉาย จำนวนสถานศกึ ษา จำนวนผ้ชู ม (คน)
(แห่ง) ในระบบ นอกระบบ รวม
ภายในศูนยว์ ิทยาศาสตร์ 12 1,186 - 1,186
เพอ่ื การศกึ ษายะลา
ภายนอกศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื 71 25,658 2,664 28,322
การศกึ ษายะลา
1. ภาคีเครือขา่ ยทรี่ ว่ มบนั ทึก 7 2,505 404 2,909
ข้อตกลงกับศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่อื
การศกึ ษายะลา 90 29,349 3,068 32,417
2. ภาคีเครือขา่ ยที่ศูนย์
วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา
เคลื่อนท่ีไปจัดฉายใหก้ บั ภาคี
เครือข่าย

รวมท้ังสน้ิ

๖|หน้า

ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ความความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่เข้าร่วม
โครงการเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ 2020 ครั้งที่ 16 ระหว่างวันที่ 20 ตุลาคม – 31
ธนั วาคม ๒๕๖3 โดยแบ่งเปน็ 3 ส่วน รายละเอียดดังต่อไปน้ี

ส่วนที่ ๑ ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลทัว่ ไป

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปจากแบบสอบถามระดับความคิดเห็นในการร่วมเขา้ โครงการ ประกอบด้วย
ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ ประเภทของผู้รับบริการ ระดับการศึกษา และสถานที่ท่านรับชมภาพยนตร์ จากผู้ตอบ
แบบสอบถามจำนวน 379 คน รายละเอียดดังตารางตอ่ ไปน้ี

ตารางที่ 6 จำนวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ

ข้อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ

เพศ 156 41.17
ชาย 223 58.83
หญงิ 379 100.00

รวม

จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 223 คน คิดเป็นร้อยละ
58.83 เป็นเพศชาย จำนวน 156 คน และคิดเป็นรอ้ ยละ 41.17

ตารางท่ี 7 จำนวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามประเภทของผ้รู ับบรกิ าร

ขอ้ มูลท่ัวไป จำนวน (คน) ร้อยละ

ประเภทของผู้รบั บริการ 254 67.02
นักเรยี น 75 19.79
นักศกึ ษา กศน. 50 13.19
คร/ู อาจารย์ -
ประชาชนทั่วไป 379 -
100.00
รวม

จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ประเภท นักเรียน จำนวน 254 คน คิดเป็น
ร้อยละ 67.02 รองลงมาประเภท นักศึกษา กศน. จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 19.78 และประเภท ครู/
อาจารย์ จำนวน 50 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.19

๗|หน้า

ตารางท่ี 8 จำนวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จำแนกตามระดบั การศึกษา

ข้อมูลท่ัวไป จำนวน (คน) ร้อยละ

ระดบั การศกึ ษา 126 33.24
96 25.33
ประถมศึกษา 107 28.23
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น - 00.00
มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื ปวช. 50 13.20
อนปุ ริญญาหรือ ปวส. 379 100.00
ปรญิ ญาตรี

รวม

จากตารางท่ี 8 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เป็นระดับการศึกษาประถมศึกษา จำนวน 126 คน
คิดเป็นร้อยละ 33.24 รองลงมาระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือปวช. จำนวน 107 คน
คิดเป็นร้อยละ 28.23 ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 25.32 และระดับ
การศกึ ษาปรญิ ญาตรี จำนวน 50 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 13.20

ตารางท่ี 9 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามสถานท่ที า่ นรับชมภาพยนตร์

ข้อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ

สถานท่ที า่ นรบั ชมภาพยนตร์ 166 43.79
เขา้ ชมกับศนู ย์วิทยาศาสตร์
เพอื่ การศึกษายะลา 213 56.20
เข้าชมกบั ภาคเี ครือข่าย 379 100.00

รวม

จากตารางที่ 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เข้าชมภาพยนตร์กับภาคีเครือข่าย จำนวน 213
คน คิดเป็นร้อยละ 56.20 และเข้าชมภาพยนตร์กับศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา จำนวน 166 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 43.79

๘|หน้า

ส่วนท่ี 2 ผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการ

ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมเข้าโครงการเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการ
เรยี นรู้ 2020 ครั้งที่ 16 ระหว่างวนั ที่ 20 ตลุ าคม – 31 ธันวาคม ๒๕๖3 ของศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษา
ยะลา รายละเอยี ดดังตารางตอ่ ไปนี้

ตารางท่ี 10 ผลการประเมินระดับความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการ

รายการประเมิน Mean S.D. ระดบั ความ
(x̅) พงึ พอใจ
๑. ภาพยนตร์วทิ ยาศาสตรม์ คี วามเหมาะสมตรงกบั ความต้องการ 4.49 0.62 มาก
ของผู้รับบรกิ าร 4.40 0.68 มาก
๒. ภาพยนตร์วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นส่ือที่เหมาะสมสำหรบั การเผยแพร่ 4.37 0.61 มาก
ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ 4.47 0.56 มาก
๓. ระยะเวลาในการรบั ชมภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่ือการเรยี นรู้ 4.45 0.65 มาก
มคี วามเหมาะสม 4.45 0.67 มาก
๔. สถานท่ใี นการรับชมภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการเรยี นรู้ 4.44 0.72 มาก
มีความเหมาะสม 4.58 0.61 มากทส่ี ดุ
๕. ชอ่ งทางการเผยแพร่ภาพยนตร์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการเรียนรู้ 4.52 0.57 มากท่สี ุด
มีความหลากหลาย 4.50 0.54 มาก
๖. ภาพยนตรว์ ิทยาศาสตร์ทำให้ผู้รับบริการสนใจการเรยี นรู้ 4.47 0.06 มาก
วิทยาศาสตร์เพิ่มขน้ึ
๗. ภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตร์ทำใหผ้ รู้ ับบริการมีความคดิ สรา้ งสรรค์
เพม่ิ ขึ้น
๘. เน้ือหาภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตร์ทำให้ผรู้ บั บรกิ ารรู้สกึ สนุกสนาน
และเข้าใจเนื้อหาวทิ ยาศาสตร์มากขึน้
๙. การรบั ชมภาพยนตร์วิทยาศาสตรท์ ำใหส้ ามารถนำความรู้
ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวนั
๑๐. ผู้รบั ชมมคี วามพงึ พอใจในการชมภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตร์
ในภาพรวม

สรปุ ภาพรวมของการประเมิน

จากตาราง 10 พบว่า โดยภาพรวมผู้เข้าร่วมโครงการเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้

2020 ครั้งที่ 16 มีความพึงพอใจ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.47, S.D. = 0.06) เมื่อพิจารณาเป็น
รายขอ้ ผู้เขา้ รว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจโดยมคี ะแนนเฉล่ียความพงึ พอใจมากท่ีสุด ในขอ้ ที่ 8 เน้ือหาภาพยนตร์
วิทยาศาสตร์ทำให้ผู้รับบริการรู้สึกสนุกสนานและเข้าใจเนื้อหาวิทยาศาสตร์มากขึ้น อยู่ในระดับมากที่สุด

(x̅ = 4.58, S.D. = 0.61) และผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจโดยมีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจน้อยที่สุด
ในข้อที่ ๓ ระยะเวลาในการรับชมภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้มีความเหมาะสม ในระดับมาก

(x̅ = 4.25, S.D. =0.70)

๙|หน้า

หมายเหตุ : เกณฑก์ ารพิจารณาระดับความพึงพอใจ
คา่ เฉล่ยี ระหว่าง 4.51 – 5.00 หมายถึง มากทีส่ ดุ
คา่ เฉล่ียระหวา่ ง 3.51 – 4.50 หมายถงึ มาก
คา่ เฉลยี่ ระหวา่ ง 2.51 – 3.50 หมายถงึ ปานกลาง
คา่ เฉลย่ี ระหว่าง 1.51 – 2.50 หมายถงึ นอ้ ย
ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง 1.00 – 1.50 หมายถึง นอ้ ยทีส่ ุด
การแปลความหมายของคะแนน พจิ ารณาจากคา่ เฉลี่ย (Mean) ของคะแนนโดยกำหนดเกณฑ์ในการ

วเิ คราะหไ์ ว้ดงั น้ี (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 104)
1. ระดบั คะแนนเฉล่ีย x̅ 4.51 – 5.00 (90.1 – 100.0 %) หมายถงึ พึงพอใจมากที่สดุ
2. ระดับคะแนนเฉล่ยี x̅ 3.51 – 4.50 (70.1 – 90.0 %) หมายถึง พึงพอใจมาก
3. ระดบั คะแนนเฉล่ีย x̅ 2.51 – 3.50 (50.1 – 70.0 %) หมายถงึ พงึ พอใจปานกลาง
4. ระดบั คะแนนเฉล่ีย x̅ 1.51 – 2.50 (30.1 – 50.0 %) หมายถึง ไม่พึงพอใจ
5. ระดับคะแนนเฉล่ีย x̅ 0.00 – 1.50 (00.0 – 30.0 %) หมายถงึ ไม่พึงพอใจมากท่สี ุด

ส่วนที่ 3 ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ
➢ ควรจดั โครงการนต้ี ่อเนอ่ื งทกุ ๆปี เพราะนักเรยี นมีความสนใจมาก
➢ ควรเพิ่มเน้ือหาภาพยนตร์ใหม้ ากกว่านี้ และเน้ือหาทสี่ ามารถใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
➢ อยากให้มีคำศัพท์ในคลิปหรือภาพยนตร์ บางภาพยนตรเ์ ป็นภาษาอังกฤษ
➢ ระยะเวลาการดำเนินงานค่อนข้างสนั้ ควรยืดเวลาให้มากกว่านี้
➢ เปดิ เทอมลา่ ช้า ส่งผลใหม้ เี วลาในการชมภาพยนตรน์ อ้ ย
➢ อยากให้เพม่ิ จำนวนนักเรียนในการเข้ารว่ มกจิ กรรรมเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นอ่ืนๆ ได้ เข้าร่วมกิจกรรมดว้ ย

๑๐ | ห น ้ า

ภาพยนตรท์ ี่ผู้เข้าชมชน่ื ชอบ

ลำดับ ภาพยนตรท์ ่ผี ู้เขา้ ชมชืน่ ชอบ
1 เก้านาทีครึ่ง ตอน การเดินทางของไวรสั โคโรนา
2 เกา้ นาทีครง่ึ ตอน พลังงานหมนุ เวียนคืออะไร
3 คณิตซเ์ ชอร์ ตอน โลกแหง่ อนาคต
4 มาดากัสการ์ เกาะมหศั จรรย์
5 คณิตซ์เชอร์ ตอน ส่งิ แวดลอ้ ม

การจดั กจิ กรรมเกย่ี วกบั ภาพยนตร์

กจิ กรรม Coding Unplug

กจิ กรรมกงั หนั ลม

๑๑ | ห น ้ า

การจัดกจิ กรรมเกย่ี วกบั ภาพยนตร์
กิจกรรมเคร่ืองกรองน้ำออเจ้า

กจิ กรรมความลับของสี

กจิ กรรมพลังจอมปลวก

๑๒ | ห น ้ า

การจัดกจิ กรรมเก่ยี วกับภาพยนตร์

กิจกรรมหอคอยฮานอย

ปัญหา อุปสรรค

1. โรงเรียนเปิดเทอมล่าช้า เนื่องจากการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (Covid-19) ส่งผลให้มีเวลาใน
การชมภาพยนตรน์ ้อย

2. ระยะเวลาการดำเนนิ งานค่อนขา้ งจะสั้นควรยืดเวลาในการจดั ฉายภาพยนตร์ให้มากกว่านี้
3. นักเรียนบางคนชมภาพยนตร์แลว้ แต่ไมเ่ ข้าใจในเนื้อหาของภาพยนตร์
4. การตดิ ต่อสื่อสารไม่ชัดเจนเกี่ยวกับโครงการน้ี ควรมีการประชาสัมพนั ธ์มากกว่าน้ี
5. สถานทจี่ ัดฉายภาพยนตรใ์ นโรงเรียนไม่เอ้ืออำนวย เนอ่ื งจากไม่สามารถเก็บเสียง ทำใหม้ เี สียงจาก

ภายนอกเข้ามา
6. การสนทนาของตวั ละครบางเรือ่ ง เกิดความสับสนและไมเ่ ข้าใจเนื้อหา
7. การติดตอ่ สือ่ สารเก่ยี วกับโครงการยงั ไม่ชัดเจน ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้มากกวา่ นี้
8. ภาพยนตร์ไม่มีการแยกชว่ งวยั หรอื ระดับช้ันชดั เจน ทำใหน้ กั เรียนไมเ่ ข้าใจในเน้ือหาภาพยนตร์

๑๓ | ห น ้ า

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา

1. ควรเปลย่ี นรปู แบบภาพยนตรเ์ ป็นรปู แบบอ่ืนบา้ ง เพ่ือให้นักเรยี นเกดิ ความสนใจมากกวา่
2. ควรเพิ่มเน้อื หาภาพยนตรใ์ ห้มากกวา่ นี้ และเนน้ เนอ้ื หาท่ีสามารถใช้ในชีวติ จรงิ ได้
3. ควรจัดภาพยนตรท์ ส่ี อดคลอ้ งกับเนื้อหาในรายวชิ าวิทยาศาสตร์ จะชว่ ยเพ่ิมความสนใจในการเรียน

วทิ ยาศาสตร์มากข้ึน
4. ควรแยกภาพยนตรใ์ หเ้ หมาะสมกบั วยั และไม่น่าเบื่อ
5. อยากให้มกี ารพากษ์แปลภาษาไทยในภาพยนตร์ บางเรอ่ื งอาจจะไม่มที ำให้นักเรียนฟังไม่เขา้ ใจ
6. ควรเพ่ิมกลมุ่ ย่อยหนว่ ยงานในสังกดั เพื่อความสะดวกในการติดต่อส่อื สาร
7. ควรมีส่อื การสนบั สนุนในการจดั กิจกรรมมากขนึ้

๑๔ | ห น ้ า

ประมวลภาพ
โครงการเทศกาลภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการเรียนรู้ 2020 คร้ังที่ 16
(จัดฉายภาพยนตร์ผนวกจัดกิจกรรม ณ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษายะลา)

ชี้แจงรายละเอยี ดก่อนการรับชมภาพยนตร์

ชมภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ รว่ มสนุกตอบคำถามหลังชมภาพยนตร์

กิจกรรมรว่ มสนกุ จากภาพยนตร์

๑๕ | ห น ้ า

ประมวลภาพ
โครงการเทศกาลภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การเรียนรู้ 2020 ครงั้ ท่ี 16

(ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษายะลา จัดฉายใหพ้ ื้นที่รับบริการ จังหวัดสงขลาและสตูล)

ช้ีแจงรายละเอยี ดก่อนเข้าชม

ชมภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตร์

กจิ กรรมรว่ มสนุกจากภาพยนตร์

๑๖ | ห น ้ า

ประมวลภาพ
โครงการเทศกาลภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ 2020 ครั้งที่ 16

(สถานศกึ ษา หรอื หนว่ ยงานท่ี MOU)

ชแ้ี จงรายละเอยี ดก่อนการรบั ชมภาพยนตร์

ชมภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์

กจิ กรรมร่วมสนกุ จากภาพยนตร์

๑๗ | ห น ้ า

ประมวลภาพ
โครงการเทศกาลภาพยนตรว์ ิทยาศาสตร์เพอื่ การเรียนรู้ 2020 ครัง้ ท่ี 16

(ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษายะลา นเิ ทศ ตดิ ตาม)

ผอ.ศว.ยะลา พบปะ คณะครูและนกั เรยี น

บรรยากาศการนเิ ทศ ติดตาม

มอบของทีร่ ะลกึ ให้ทางโรงเรียน

๑๘ | ห น ้ า

คณะผูจ้ ดั ทำ

ที่ปรึกษา สงั ขพ์ งศ์ ผอู้ ำนวยการศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา
นายณฐั ภมู นิ ทร์ ทองหลอ่ ครชู ำนาญการพเิ ศษ
นายภัทรพล ยาฝาด ครชู ำนาญการ
นายมะยารี สาเมาะ ครูชำนาญการ
นางรอหานา สาและ ครูชำนาญการ
นางสาวนรู ดี า ปลวชั ร ครผู ู้ชว่ ย
นายณัฐกร
ครูชำนาญการ
คณะผ้จู ดั ทำ ยาฝาด ครชู ำนาญการ
นายมะยารี สาและ นักวิชาการศึกษา
นางสาวนรู ดี า มซี า นักจัดการงานทว่ั ไป
นางสาวรอฮานี อทุ ยั วทิ ยากรนำชม
นางสาวชุมนมุ พร หะยดี ือเร๊ะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
นายอาเรฟ วัฒนะนุกลู นกั วิชาการวิทยาศาสตร์ศึกษา
นางสาวพชิ ยา อามะ นกั วชิ าการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา
นางวรรณี โตะเปะ๊
นางสาวซัยยานี

ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษายะลา
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

๑๙ | ห น ้ า


Click to View FlipBook Version