The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินโครงการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ประจำปีงบประมาณ 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศว.ยะลา แผน, 2020-05-08 03:35:32

รายงานผลการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้

รายงานผลการประเมินโครงการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ประจำปีงบประมาณ 2562

รายงานผลการประเมนิ
โครงการวทิ ยาศาสตร์เพื่อชวี ิตและชมุ ชนคนชายแดนใต้

โดย
ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษายะลา

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานผลการประเมนิ
โครงการวทิ ยาศาสตร์เพื่อชวี ิตและชมุ ชนคนชายแดนใต้

โดย
ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษายะลา

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธิการ

คณะผู้จัดทาการประเมนิ โครงการ

ทป่ี รกึ ษา ผู้อานวยการศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษายะลา
นายณฐั ภูมินทร์ สงั ข์พงศ์ ครูชานาญการ
นายภทั รพล ทองหล่อ ครู
นางสาวนูรดี า สาและ

คณะทางาน ครชู านาญการ
นายภทั รพล ทองหล่อ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน
นางสาวพิชยา วฒั นะนกุ ูล นักวิชาการศึกษา
นางสาวรอฮานี มีซา

ผจู้ ัดทารายงาน / วเิ คราะห์ข้อมูล นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน
นางสาวพิชยา วฒั นะนกุ ูล

คำนำ

รายงานการสรุปผลการประเมิน โครงการวิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้
ประจาปี พ.ศ. 2562 ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา มีข้ันตอนการดาเนินงานเป็นระยะ
คือ เข้ารับการอบรมในครั้งท่ี 1 วันท่ี 21 – 23 กุมภาพันธ์ 2562 เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ
การประเมินโครงการสาหรับผู้บริหารและบุคลากรกลุ่มศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษา
ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต คร้ังที่ 2 วันท่ี 29 – 30 พฤษภาคม 2562 เพื่อเสนอ
ความก้าวหน้าของการประเมินโครงการ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษานครศรีธรรมราช
และครั้งท่ี 3 วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2562 นาเสนอผลการประเมินโครงการเป็นข้ันตอนและ
สรุปโครงการ คณะผู้จัดทาการประเมินโครงการเล็งเห็นถึงความสาคัญของการประเมินโครงการ
จึงได้จัดทาการประเมินโครงการเพ่ือนาผลไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา โดยนารูปแบบ
ของเคิร์กแพททริค (Kirkpatrick Model) มาใช้ในการประเมินโครงการ ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่
ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการ ความรู้ ความเข้าใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
โครงการ การนาความรู้จากการฝึกอบรมโครงการไปใช้ในชีวิตประจาวัน และผลการฝึกอบรม
โครงการท่ีเกิดกับชุมชน

คณะผู้จัดทาการประเมินโครงการขอขอบคุณ ดร.ปาน กิมปี และนายศุภกร ศรีศักดา
ผู้เช่ียวชาญด้านการวัดผลประเมินผล นายพรศักดิ์ ธรรมวานิช ประธานกลุ่มศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ
การศึกษา และผู้มีส่วนร่วมท่ีให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะ ในการจัดทาการประเมินโครงการ
ในครั้งนี้ และหวังว่ารายงานการประเมินโครงการน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้องในการขับเคล่ือน
การพัฒนากจิ กรรมการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรต์ ่อไป

คณะผู้จัดทาการประเมนิ โครงการ
ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษายะลา

บทคัดยอ่

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ได้ดาเนินการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
และชุมชนคนชายแดนใต้ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับ
ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการ 2) เพ่ือศึกษาระดับความรู้ ความเข้าใจของผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมโครงการ 3) เพือ่ ศึกษาการนาความรู้จากการฝึกอบรมโครงการไปใช้ในชวี ิตประจาวัน 4)
เพ่ือศึกษาผลการฝึกอบรมโครงการท่ีเกิดกับชุมชน โดยมีกลุ่มตัวอย่างจานวน 210 คน โดยใช้รูปแบบ
เคิร์กแพทริค (Kirkpatrick Model) ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ การประเมินปฏิกิริยาตอบสนองของ
ผู้เข้ารว่ มโครงการ การประเมินการเรียนรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ การประเมินพฤติกรรมของผู้เข้าร่วม
โครงการ และการประเมนิ ผลลัพธ์ท่ีเกดิ กับชุมชน เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มูลใชแ้ บบสอบถามความ
พึงพอใจ แบบทดสอบความรู้ แบบสารวจพฤติกรรม และแบบสัมภาษณ์การนาความรู้ไปใช้ การ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปหาค่าความเชื่อม่ัน ค่าร้อยละ ค่าความถ่ี
ค่าเฉล่ีย ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน และค่าที (t-test)

ผลการประเมนิ โครงการ
1) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจในโครงการวิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชน
คนชายแดนใต้ ในด้านส่ิงอานวยความสะดวก ด้านวิทยากรและด้านการนาไปใช้ อยู่ในระดับมาก
ถงึ มากทส่ี ุด
2) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด คะแนนหลังการฝึกอบรม

(x̅ = 17.41, S.D. = 0.98) ซ่ึงสูงกว่าคะแนนก่อนการฝึกอบรม (x̅ = 5.42, S.D. = 0.72) พบว่า

คะแนนหลงั การฝึกอบรมเฉลี่ยมคี ่ามากกวา่ กอ่ นการอบรมเฉลยี่ อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05

3) ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมสามารถนาความรู้ไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชวี ิตและชมุ ชนได้

กิจกรรมการแปรรูปสุมนไพร มีความตระหนักถึงประโยชน์ของสมุนไพรในชุมชนมากข้ึน

นาวัตถุดิบที่มีในชุมชนมาแปรรูปเป็นยาหม่องสมุนไพรได้ เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและเป็นมิตรกับ

ส่ิงแวดล้อม จานวน 210 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 รองลงมาผู้เข้ารับการฝึกอบรมนาความรู้จาก

การอบรมไปใช้ เพ่ิมมลู คา่ ให้กับสมุนไพรท่ีมีในชุมชน จานวน 206 คน คดิ เปน็ รอยละ 98.10

กิจกรรมกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์ มีความตระหนักถึงประโยชน์ของทรัพยากรที่มี
ในชุมชนมากขึ้น นาวัสดุท่ีมีในชุมชนมาแปรรูปเป็นถ่านไบโอชาร์ได้ เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและ
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จานวน 210 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 รองลงมาผู้เข้ารับการฝึกอบรมนา
ความรจู้ ากการอบรมไปใช้ลดคา่ ใชจ้ ่ายและเพมิ่ รายได้ในครวั เรือน จานวน 196 คน คิดเป็นรอยละ 93.33

4) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการนาความรู้กระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์และการใช้
ประโยชน์จากวัสดุในชุมชน นาถ่านไบโอชาร์ไปใช้ในการบารุงดินเพื่อใช้ในการเกษตร การปลูกผัก
ช่วยลดรายจา่ ยในครัวเรือนและสร้างอาชีพ

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการนาความรู้การแปรรูปสมุนไพร และนาสมุนไพรในชุมชนมา
แปรรูปผลิตภัณฑ์ได้ เพิ่มมูลค่าของสมุนไพร รวมท้ังสามารถสร้างอาชีพ เพ่ิมรายได้ภายในครัวเรือน
และชุมชน

สารบัญ

คานา หนา้
บทคดั ย่อ ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ค
สารบญั ภาพ ง

บทที่ 1 บทนา
ความเป็นมาและความสาคญั 1
วัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ 1
ขอบเขตของการประเมิน 2
นิยามศัพท์ 2
ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ 3

บทที่ 2 เอกสารทเี่ กี่ยวข้องกับการประเมินโครงการ 4
สว่ นท่ี 1 รายละเอียดโครงการวทิ ยาศาสตร์เพ่อื ชีวิตและชมุ ชนคนชายแดนใต้ 4
หลกั การและเหตผุ ล 5
วัตถปุ ระสงค์ 5
เปา้ หมาย 5
หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ 5
ระยะเวลาและสถานที่ 6
วิธีการดาเนินการ 6
งบประมาณ
ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ 6
6
สว่ นที่ 2 เอกสารที่เก่ียวข้องกบั การประเมนิ โครงการ 6
การประเมินปฏกิ ิรยิ าตอบสนอง 7
การประเมนิ การเรยี นรู้ 8
การประเมนิ พฤติกรรม
การประเมินผลลพั ธ์ที่เกดิ ขน้ึ กับองค์กร
ความหมายของวทิ ยาศาสตร์

สารบญั (ต่อ) หน้า

บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการประเมนิ โครงการ 8
ส่วนท่ี 2 เอกสารที่เก่ียวข้องกบั การประเมนิ โครงการ 9
ความหมายของวิทยาศาสตร์เพือ่ ชีวติ 10
ความสาคญั และประโยชนข์ องวิทยาศาสตร์ 11
ความหมายของสมนุ ไพร 11
การแปรรปู สมนุ ไพร 12
ความหมายของไบโอชาร์ 13
ความหมายความพงึ พอใจ 13
การวดั ความพึงพอใจ
ความรู้ ความเข้าใจ 16
16
บทที่ 3 วิธีดาเนนิ การประเมิน 18
รูปแบบของการประเมิน 18
วธิ ีการประเมิน 21
ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ 23
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถติ ิที่ใช้ 26
27
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 28
ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์แบบประเมินความพงึ พอใจ
ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะหแ์ บบทดสอบความรู้ 29
ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะห์แบบสารวจพฤตกิ รรม (การนาไปใช)้ 30
ตอนท่ี 4 ผลการวิเคราะหแ์ บบสมั ภาษณ์จากการอบรมที่มีต่อชมุ ชน 30
30
บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
สรุป 31
อภปิ รายผล 33
ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมินโครงการ 44
ขอ้ เสนอแนะการประเมนิ โครงการคร้งั ต่อไป

บรรณานุกรม
ภาคผนวก
คณะผ้จู ัดทาการประเมินโครงการ

สารบัญตาราง หนา้

ตารางท่ี 7
16
2.1 สรปุ ผลการประเมนิ โครงการตามแนวคิดของเคิร์ก แพททริค 23
3.1 วิธกี ารประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์เพอื่ ชีวติ และชมุ ชนคนชายแดนใต้
4.1 จานวนและร้อยละข้อมูลทว่ั ไปของผู้เข้ารับการฝกึ อบรม 24
4.2 คา่ เฉล่ีย คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานและระดบั ความพึงพอใจ 26
27
ของผเู้ ข้ารับการฝกึ การอบรม
4.3 จานวน คา่ เฉล่ยี ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน คา่ ทีของแบบทดสอบความรู้
4.4 จานวนและรอ้ ยละของแบบสารวจพฤติกรรม

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หน้า
2.1 กรอบแนวคิด 15

บทท่ี 1
บทนำ

1. ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั
การจั ดการศึก ษ ากิ จกรรมก ารเรียน ก ารส อน ที่ ใช้เพ่ื อพั ฒ น าความ สาม ารถของผู้ เรีย น

โดยเฉพาะการตอบสนองต่อกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้เป็นอย่างดี เท่ากับ
เปน็ การปฏริ ูปผู้เรยี นยุคใหม่ในสงั คมไทยให้รู้จักสรา้ งวฒั นธรรมในการเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
จากส่ือที่หลากหลายเป็นการศึกษาตลอดชีวิต (Life Long Education) การจัดการเรียนรู้
ทางวิทยาศาสตร์ จึงต้ังอยู่บนพื้นฐานความเช่ือและหลักการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ คือ เช่ือมั่นใน
ศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนภายใต้หลักการจัดการเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญและสอดคล้องกับ
สภาพความเป็นจรงิ ในท้องถิ่น

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา เป็นการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนท่ี
เน้นการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงเป็นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ให้แก่นักศึกษา กศน.
ประชาชน ในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ ศูนย์การเรียนชุมชน กศน.ตาบล และ
ชุมชน ไดด้ าเนินการจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบ กศน. เป็นกระบวนการเรียนรตู้ ามสภาพจรงิ ทย่ี ึด
ผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างดีแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม การจัดการเรียนการสอนอาจยังไม่ครอบคลุม
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เท่าท่ีควร จึงควรพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิตกลุ่มเป้าหมาย ในรูปแบบ
กิจกรรมการเรียนรทู้ างวิทยาศาสตรใ์ ห้มีคณุ ภาพยง่ิ ข้นึ

เพื่อให้การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งต่อไปมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน จึงต้องประเมิน
โครงการหลังจากส้ินสุดการฝึกอบรมโครงการโดยทาการประเมินผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้านความ
พึงพอใจ ความรู้ ความเข้าใจ การนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และผลลัพธ์ท่ีเกิดกับชุมชน เพื่อนาผลไป
ใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั ทาโครงการคร้ังต่อไป

2. วัตถุประสงค์ของกำรประเมิน
1. เพือ่ ศึกษาระดบั ความพึงพอใจของผู้เขา้ รับการฝึกอบรมโครงการ
2. เพอื่ ศึกษาระดับความรู้ ความเข้าใจของผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมโครงการ
3. เพ่อื ศึกษาการนาความร้จู ากการฝึกอบรมโครงการไปใช้ในชวี ิตประจาวัน
4. เพอื่ ศึกษาผลการฝกึ อบรมโครงการทีเ่ กิดกบั ชมุ ชน

2

3. ขอบเขตของกำรประเมนิ
ขอบเขตด้านเน้ือหา
1. การประเมินความพึงพอใจของผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมกระทาทันทที สี่ นิ้ สุดการฝกึ อบรมโครงการ
2. การวัดระดับความรู้ ความเข้าใจก่อนจัดและหลงั การฝึกอบรมโครงการ
3. การวดั การนาความรู้จากการฝึกอบรมไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน กระทาหลงั จากสนิ้ สุดการฝกึ อบรม

โครงการ
4. การวัดผลการฝึกอบรมโครงการทเ่ี กดิ กบั ชุมชน

4. นิยำมศัพท์
วิทยำศำสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชน หมายถึง การนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

และส่งิ แวดล้อม ไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และชุมชน
คนชำยแดนใต้ หมายถึง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการในพ้ืนที่รับผิดชอบของศูนย์

วิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษายะลา ประกอบด้วย จงั หวัดยะลา สงขลาและสตลู
กำรแปรรูปสมุนไพร หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสภาพของสมุนไพร ให้แตกต่างไปจากเดิม

โดยใชส้ รรพคณุ แตล่ ะชนดิ ของสมุนไพร มาเปน็ ประโยชน์ในการสร้างผลิตภณั ฑ์หลากหลายมากย่งิ ขึน้
เตำไบโอชำร์ หมายถงึ เตาพลังงานมวลชีวภาพระดับครวั เรือน โดยการนาวัสดุจากธรรมชาติ

ในชุมชน มาผ่านกระบวนการให้ความร้อนเพื่อแยกสลายมวลชีวภาพ โดยไม่ใช้ออกซิเจนหรือกาจัด
ออกซิเจน ให้กลายเป็นแก๊สหุงต้มถ่านชีวภาพไบโอชาร์ ใช้ในการปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน
เพ่อื การเกษตรทีย่ ่ังยืนและยงั เป็นกระบวนการผลิตทช่ี ่วยลดโลกรอ้ นจากภาวะก๊าซเรอื นกระจก

กำรประเมิน หมายถึง กระบวนการแสวงหาขอ้ มูลเพอื่ ใช้ในการตดั สินคณุ ค่าของสิ่งใดสงิ่ หน่ึง
โดยนามาเปรียบเทยี บกับเกณฑ์

ควำมพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด ทัศนคติของคนชายแดนใต้ที่มีต่อโครงการ
วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ ซ่ึงเป็นไปได้ท้ังทางบวกและทางลบ ซ่ึงจะเกิดขึ้นก็
ตอ่ เม่อื ส่ิงน้นั สามารถตอบสนองความต้องการแก่บุคคล

ควำมรู้ หมายถึง ความสามารถในการรับรู้ เกิดความจา โดยอาจจะเป็นการนึกได้หรือโดย
การมองเหน็ เก่ียวกับการแปรรปู ยาหม่องสมุนไพรและกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์

ควำมเข้ำใจ หมายถึง ความสามารถในการอธิบายเก่ียวกับเก่ียวกับการแปรรูปยาหม่อง
สมุนไพรและกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์ โดยใช้คาพูดของตนเอง และการให้ความหมายท่ีแสดง
ออกมาในรูปของความคดิ เห็นและขอ้ สรุป

กำรนำไปใช้ หมายถึง ความสามารถในการนาความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ให้
เกดิ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวนั นาไปสูก่ ารพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และชมุ ชน

3

5. ประโยชนท์ ี่คำดว่ำจะไดร้ บั
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการเกิดการเรียนรู้ ทักษะกระบวนการเรียนรู้ ทักษะทาง

วทิ ยาศาสตรใ์ หม่ ๆ และนาไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิตของตนเอง และขยายผลสู่ชุมชน

บทที่ 2
เอกสารที่เก่ียวข้องกับการประเมนิ โครงการ

เอกสารทเี่ ก่ียวช้องกับการประเมินโครงการ แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน
1. รายละเอยี ดโครงการวทิ ยาศาสตร์เพื่อชีวติ และชุมชนคนชายแดนใต้
2. เอกสารที่เก่ียวข้องกับการประเมินโครงการ

สว่ นท่ี 1 รายละเอียดโครงการวิทยาศาสตรเ์ พ่ือชีวติ และชมุ ชนคนชายแดนใต้

1. หลกั การและเหตุผล

การจัดการศึกษากิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้เพ่ือพัฒนาความสามารถของผู้เรียน
โดยเฉพาะการตอบสนองต่อกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้เป็นอย่างดี เท่ากับเป็น
การปฏิรปู ผเู้ รียนยุคใหมใ่ นสังคมไทยให้รูจ้ ักสรา้ งวัฒนธรรมในการเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจาก
สื่อท่ีหลากหลายเป็นการศึกษาตลอดชีวิต (Life Long Education) การจัดการเรียนรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ จึงต้ังอยู่บนพื้นฐานความเชื่อและหลักการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ คือ เชื่อมั่นใน
ศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนภายใต้หลักการจัดการเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญและสอดคล้องกับ
สภาพความเป็นจริงในท้องถิ่น สาหรับศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา เป็นการจัดการศึกษา
นอกระบบโรงเรียนที่เน้นการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงเป็นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ให้แก่
นักศึกษา กศน. ประชาชน ในสังกดั สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ได้แก่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ ศูนย์การเรียนชุมชน กศน.ตาบล
และชุมชน ไดด้ าเนินการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ กศน. เป็นกระบวนการเรยี นรู้ตามสภาพจริง
ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างดีแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม การจัดการเรียนการสอนอาจยังไม่ครอบคลุม
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เท่าท่ีควร จึงควรพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิตกลุ่มเป้าหมาย ในรูปแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ให้มีคุณภาพย่ิงขึ้น เพ่ือให้การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งต่อไปมี
ประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้นจึงต้องประเมินโครงการหลังจากสิ้นสุดการฝึกอบรมโดยทาการประเมินผู้เข้า
ฝึกอบรมด้านความรู้ความเข้าใจ ความพึงพอใจ การนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และผลลัพธ์ที่เกิดกับ
ชมุ ชน เพอ่ื นาผลไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพฒั นาการจดั ทาโครงการคร้ังตอ่ ไป

2. วัตถุประสงค์
1. เพ่ือเสริมสรา้ งการเรียนรู้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทางวทิ ยาศาสตร์
2. เพอื่ พัฒนาทักษะกระบวนการเรยี นรู้ ทกั ษะชวี ติ ทางวิทยาศาสตร์
3. เพอื่ นาองค์ความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในชวี ิตและพฒั นาชีวติ สงั คมและชมุ ชน

5

3. เป้าหมาย
3.1 เชงิ ปริมาณ
1. นกั ศกึ ษา กศน. ประชาชน ในพน้ื ท่ีรับผิดชอบ ประกอบด้วยจงั หวดั ยะลา สงขลา และ
สตูล จานวน 210 คน
2. กจิ กรรมอบรมการแปรรูปสมุนไพร 1 รายการ
3. กิจกรรมอบรมกระบวนการผลติ เตาไบโอชาร์ 1 รายการ

3.2 เชงิ คณุ ภาพ
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการผลิต การใช้ประโยชน์

เตาไบโอชาร์ และการแปรรูปสมนุ ไพร โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นาสู่การพฒั นาคุณภาพชวี ิต
และชุมชน

4. หนว่ ยงานท่ีรบั ผิดชอบ
ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษายะลา

5. ระยะเวลาและสถานท่ี
ครงั้ ท่ี 1 วันที่ 18 กรกฎาคม 2562 ณ ศนู ย์ กศน.อาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา
ครั้งที่ 2 วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2562 ณ ศนู ย์ กศน.อาเภอท่าแพ จังหวัดสตลู
คร้ังที่ 3 วนั ที่ 1 สงิ หาคม 2562 ณ ศูนย์ กศน.ตาบล อาเภอเทพา จงั หวัดสงขลา

6. วธิ กี ารดาเนินการ

กิจกรรม กลุ่มเปา้ หมาย ระยะเวลา ผลทไ่ี ด้รับ

1. ประชมุ ผเู้ กยี่ วข้องเพื่อ ประชาชน ในพืน้ ทีร่ ับผดิ ชอบ 18 ผูเ้ ขา้ รับอบรมมีความรู้
กรกฎาคม ความเขา้ ใจ
เตรียมการจัดโครงการ ประกอบดว้ ยจังหวัดยะลา กระบวนการผลติ
ถึง การใช้ประโยชน์
2. ดาเนินการตาม สงขลาและสตลู จานวน 210 1 สิงหาคม เตาไบโอชาร์ และ
การแปรรปู สมนุ ไพร
กิจกรรมหลกั ของโครงการ คน 2562 โดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ นาสกู่ าร
- การแปรรูปสมนุ ไพร พัฒนาคณุ ภาพชีวิต
และชุมชน
- กระบวนการผลิต

เตาไบโอชาร์

3. สรุปผลการดาเนนิ งาน

6

7. งบประมาณ
จากเงินงบประมาณประจาปี 2562 จากแผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง

ศักยภาพคน ผลผลิตท่ี 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย งบโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
จานวนเงนิ 300,000 บาท (เงินสามแสนบาทถ้วน)

8. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการผลติ การใชป้ ระโยชน์เตาไบโอชาร์

และการแปรรูปสมุนไพร โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ นาสกู่ ารพฒั นาคุณภาพชีวติ และชมุ ชน

ส่วนท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วข้องกับการประเมนิ โครงการ
การประเมินโครงการฝึกอบรมของเคิร์ก แพททริค (Kirkpatrick Model) ได้เสนอรูปแบบ

การประเมนิ ผลโครงการฝึกอบรมประกอบดว้ ย 4 ดา้ น (อา้ งถึงในศนั สนีย์ อุตมอา่ ง, 2554) ดังน้ี
1. การประเมินปฏกิ ิรยิ าตอบสนอง (Reaction)
เป็นการประเมินปฏิกิริยาตอบสนองของผู้เข้ารับการอบรมว่ามีความรสู้ ึกอย่างไร เก่ียวกับ

โครงการหรือต่อการฝึกอบรม เช่น หลักสูตร/เน้ือหาสาระตรงกับความต้องการหรือไม่
เอกสาร สถานที่ โสตทัศนูปกรณ์ ระยะเวลาของการฝึกอบรม วิทยากรเหมาะสมเพียงไร ได้รับความรู้
ทักษะมากน้อยเพียงใด มีความคาดหวังอย่างไรต่อการนาความรู้และทักษะที่ได้รับไปใช้
ในการปฏิบัติงาน เป็นต้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลตามข้อกาถามดังกล่าว
อาจเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Ration Scales) แบบสัมภาษณ์หรือแบบสอบถามโดยมีคาถาม
ปลายเปิดไว้ตอนท้ายเพ่ือให้ผู้ตอบได้แสดงความเห็นตามท่ีต้องการ ข้อคาถามต่างๆ ที่ปรากฏ
ในเคร่ืองมือเก็บรวมรวมข้อมูลดังกล่าวควรเปน็ คาถามที่เมื่อได้รับคาตอบหรือข้อมูลแล้วสามารถนามา
แจกความถ่เี พ่ือการวิเคราะห์ในเชิงปริมาณได้

2. การประเมินความรู้ (Learning)
เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนกับผู้เข้ารับการฝึกอบรม ซ่ึงครอบคลุมท้ังด้าน

ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ โดยเปรียบเทียบระหวา่ งกอ่ นและหลงั การฝึกอบรม และถ้าเปน็ ไปไดอ้ าจจะ
เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ซ่ึงเป็นกลุ่มท่ีไม่ได้รับการฝึกอบรมว่ามีความแตกต่างกันในด้านดังกล่าว
หรือไม่อย่างไร เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นการทดสอบท่ีใช้วัดความรู้หรือแบบทดสอบ
การปฏบิ ตั ิ เพ่อื วดั ทักษะ และแบบสงั เกตพฤตกิ รรม

3. การประเมินพฤติกรรม (Behavior)
เป็ น ก า ร ป ร ะ เมิ น ก า ร เป ล่ี ย น แ ป ล ง พ ฤ ติ ก ร ร ม เม่ื อ ก ลั บ ไป ท า ง า น ข อ ง ผู้ ผ่ า น

การฝึกอบรมว่าเป็นในทิศทางที่พึงประสงค์หรือไม่ มีการนาความรู้และทักษะที่ไดร้ ับจากการฝึกอบรม
ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานมากน้อยเพียงใด โดยมีการวัดพฤติกรรมการทางานของผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมท้ังก่อนและหลังการฝึกอบรม ระยะเวลาท่ีวัดพฤติกรรมหลังจากการฝึกอบรมควรท้ิงช่วง
พอสมควรและอาจวัดหลายครั้ง เช่น ครึ่งเดือน 1 เดือน 3 เดือน คร่ึงปี หรือ 1 ปี เพื่อให้แน่ใจว่า
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทางานได้เกิดข้ึนจริง ผู้ท่ีให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน

7

ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือผู้เข้ารับการอบรมโดยใช้การสังเกตการสัมภาษณ์ และการวัดพฤติกรรม
ก่อน - หลงั การฝึกอบรม แบบบันทกึ พฤติกรรมของผูบ้ งั คบั บัญชา เป็นต้น

4. การประเมนิ ผลลัพธ์ที่เกดิ ขน้ึ กับองคก์ ร (Results)
เป็นการประเมินผลลัพธ์หรือผลกระทบท่ีเกิดต่อองค์การ อันเนื่องมาจาก

การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ผ่านการฝึกอบรมว่าก่อให้เกิดผลดีต่ององค์กรอย่างไรบ้าง เช่น
การลดลงของปัจจัยเสี่ยงในการทางาน การเพ่ิมประสิทธิภาพการทางานขององค์กร การลดลงของ
ต้นทุน การเพ่ิมกาไร ประโยชน์ต่อเพ่ือนร่วมงาน หรือเก่ียวข้องกับองค์กร เป็นต้น โดยวัดสภาวการณ์
หรือเงื่อนไขต่างๆ ดังกล่าวก่อนการฝึกอบรมและหลังการฝึกอบรม ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
แล้วเปรียบเทียบกัน โดยพยายามหาวิธีการควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ที่คาดว่าน่าจะมีอิทธิพลต่อ
การเปลี่ยนแปลงในผลที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับองค์กรดังกล่าวข้างต้น โดยอาจจะใช้กลุ่มควบคุม
มาเป็นกลุ่มเปรียบเทียบ เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลอาจเป็นแบบบันทึก (รายงาน)
แบบตรวจสอบรายการแบบสอบถาม ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานแบบวิเคราะห์ต้นทุน - ผลกาไร
แบบบันทึกค่าสถติ ิหรือตวั บ่งช้ปี ระสิทธิผลและประสิทธภิ าพ เป็นต้น

อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติเพื่อให้การปรับปรุงหรือการวางโครงการฝึกอบรม
ที่จะดาเนินการต่อไปมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน การติดตามผลของการฝึกอบรมก็เป็นเรื่องจาเป็นที่ควร
ดาเนินการ โดยมีเป้าหมายเพ่ือพัฒนาปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรและการดาเนินโครงการฝึกอบรม
ในด้านต่างๆ ซึ่งกระทาหลังจากเสร็จส้ินโครงการแล้วช่วงระยะเวลาหน่ึง เช่น 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี
ส่ิงที่ติดตามศึกษาจะมุ่งท่ีการนาความรู้และทักษะ ที่ได้รับจากการฝึกอบรมของผู้ผ่านการฝึกอบรม
ไปใช้ในการปฏิบัติงาน การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการทางาน ผลกระทบ (Impact) ที่เกิดข้ึน
กบั องค์กร เพื่อนร่วมงาน หรือผลข้างเคียง (Side effect) หรือผลพลอยได้ท่ีสืบเน่ืองจากวัตถุประสงค์
ของโครงการซ่ึงจะต้องออกแบบการติดตามที่รัดกุม มีการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนต่างๆ
เพื่อให้สามารถสรุปได้ม่ันใจว่าผลลัพธ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นน้ันเป็นผลอันสืบเน่ืองมาจากการฝึกอบรม
อย่างแท้จริง โดยอาจจะใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและแหล่งข้อมูลหลากหลายประกอบกัน
เช่น ใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต แบบบันทึก แบบรายงานของหน่วยงาน
โดยเก็บรวบรวมขอ้ มลู ท้งั จากผู้บงั คับบญั ชา เพื่อนรว่ มงานและผผู้ า่ นการฝึกอบรม

ตารางที่ 2.1 สรุปผลการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้
ตามแนวคิดของเคริ ก์ แพททรคิ มดี ังนี้

ระดบั คาถาม

1. ปฏกิ ิริยา (Reaction) ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมพอใจในโครงการหรือไม่
2. การเรยี นรู้ (Learning) ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม ไดเ้ รยี นร้อู ะไรจากโครงการ
3. พฤติกรรม (Behavior) ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม เปลี่ยนพฤติกรรมตามทต่ี นได้รบั จากการเรยี นรูห้ รือไม่
4. ผล (Results) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีผลในเชิงบวกต่อ
องคก์ รหรอื ไม่

8

5. ความหมายของวิทยาศาสตร์
สาหรับความหมายของวทิ ยาศาสตร์นน้ั ได้มีนักวิชาการการศึกษาให้ความหมายไว้ ดงั ต่อไปนี้
ภพ เลาหไพบูลย์ (2540 : 2) ได้สรุปความหมายของวิทยาศาสตร์ว่า วิทยาศาสตร์เป็นวิชา

ท่ีสืบค้นหาความจริงเก่ียวกับธรรมชาติ โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
วิธีการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซ่ึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีเป็น
ท่ียอมรบั โดยทั่วไป

ราชบัณฑิตสถาน (2546) ได้ให้ความหมายหมายของคาว่า “วิทยาศาสตร์” หมายถึง ความรู้
ท่ีได้โดยการสังเกตและค้นคว้าจากปรากฏการณ์ธรรมชาติแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ หรือเป็นวิชาท่ี
ค้นควา้ ไดห้ ลักฐานและเหตผุ ลแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ

สุนันท์ บุราณรมย์ และคณะ (2542) ได้ให้ความหมายไว้ว่า “วิทยาศาสตร์” หมายถึงความรู้
ท่ีแสดงหรือพิสูจน์ได้ว่าถูกต้องเป็นความจริงซ่ึงความรู้ดังกล่าวได้มาจาก การศึกษาปรากฏการณ์
ธรรมชาติหรือจากการทดลองโดยเร่ิมต้นจากการสังเกต การ ต้ังสมมติฐาน การทดลองอย่าง
มีแบบแผนแล้วจึงสรุปเป็นทฤษฏีหรือกฎขึ้นแล้ว แล้วนาทฤษฏีหรือกฎที่ได้ไปใช้ศึกษาหาความรู้
ต่อไปเรอื่ ย ๆ

กระทรวงศึกษาธิการ (2551) วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่ึงเป็นสังคม
แห่งความรู้ (Knowledge based society) มีบทบาทสาคัญในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต
และมีความสาคัญย่ิงต่อการพัฒนา ประเทศท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและอุตสาหกรรม
ในปัจจุบนั ความกาวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยเี ปน็ ไปอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว อีกท้ังยัง
เป็นเครื่องมือที่ช่วยยกระดับมาตรฐาน ความเป็นอยู่ของประชาชนให้สูงขึ้น ความรู้วิทยาศาสตร์ยัง
ช่วยเพมิ่ ขีดความสามารถในการพฒั นา เศรษฐกจิ สามารถแขง่ ขันกบนานาประเทศและดาเนินชีวิตอยู่
ร่วมกนในสังคมโลกได้อย่างมีความสุข การท่ีจะสร้างความเข้มแข็งทางด้านวิทยาศาสตร์น้ัน
องค์ประกอบที่สาคัญประการหน่ึง คือ การจัดการศึกษาเพื่อเตรยี มคนให้อยู่ในสังคมวิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยเี ป็นทั้งผู้ผลติ และผู้บริโภคทีม่ ีประสิทธิภาพ

6. ความหมายของวิทยาศาสตร์เพอื่ ชีวติ
สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ (2551) ให้ความหมายว่า คุณภาพชีวิต หมายถึงการรับรู้หรือ

ความเข้าใจของปัจเจกบุคคลท่ีมีต่อสถานภาพชีวิตของตนเอง ตามบรบิ ทของวัฒนธรรมและค่านิยมที่
ใชช้ ีวิตอยู่ และสัมพันธก์ ับเป้าประสงค์ ความคาดหวัง มาตรฐาน และความกังวลสนใจที่มตี ่อสิ่งตา่ ง ๆ
คุณภาพชีวิตเป็นมโนมติที่มีขอบเขตกว้างขวาง ครอบคลุมเร่ืองต่าง ๆ ท่ีสลับซับซ้อน ได้แก่ สุขภาพ
ทางกาย สภาวะทางจิต ระดับความเป็นตัวของตัวเองความสัมพันธ์ต่าง ๆ ทางสังคม ความเช่ือส่วน
บุคคล และสัมพนั ธภาพทม่ี ีตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม

9

สุวัฒน์ บุญทะจิตร์ (2553: ออนไลน์) กล่าวว่า วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต หมายถึง วิทยาศาสตร์
ท่ีเกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคน ท้ังในการดารงชีวิตประจาวัน และในงานอาชีพต่าง ๆ เครื่องมือ
เคร่ืองใช้ ตลอดจนผลผลิตต่าง ๆ ใช้เพอื่ อานวยความสะดวกในชีวิตและในการทางาน ล้วนเป็นผลของ
ความรู้วทิ ยาศาสตร์ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรคแ์ ละศาสตร์อ่ืน ๆ ความรู้วิทยาศาสตร์ไม่เพียงแต่
นามาใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดี แต่ยังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับ
การใช้ประโยชน์ การดูแลรกั ษา ตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติอยา่ งสมดุล
และยั่งยืน และที่สาคัญอย่างย่ิง คือความรู้วิทยาศาสตร์ ช่วยเพ่ิมขีดความสามารถในการพัฒนา
เศรษฐกจิ สามารถแขง่ ขันกับนานา ประเทศ และดาเนินชวี ิตอยู่รว่ มกนั ในสงั คมโลกได้อยา่ งมีความสุข

สรุปได้ว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อมเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนินชีวิต และ
เป็นพ้ืนฐานในการดารงชีวิตของมนุษย์แต่ละคนในชุมชน ทาให้คนเกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
โดยการนาวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันในหลากหลายด้าน จึงได้รับประโยชน์
สามารถพัฒนาตอ่ ยอดสกู่ ารสร้างอาชีพ สรา้ งรายไดใ้ ห้แกต่ นเองและชมุ ชนได้มากยิง่ ขึ้น

7. ความสาคญั และประโยชนข์ องวิทยาศาสตร์
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2545) กล่าวว่า ความเจริญก้าวหน้าทาง

ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดการพัฒนาการทางด้านการสื่อสาร
ท่ีทันสมัยและทาให้การติดต่อสัมพันธ์กันได้อย่างรวดเร็วข้ึน นาไปสู่การผสมผสานคามคิด ค่านิยม
ตลอดจนวถิ ีชีวิตความเป็นอยู่ระหวา่ งมนุษยชาติ การศึกษา จงึ ทาหน้าท่ีในการพัฒนาคนใหเ้ ป็นมนุษย์
ท่ีสมบรู ณ์ทง้ั ร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา ความรู้ และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยรู่ ่วมกับผูอ้ ่ืน
ได้อย่างมีความสุข ตลอดจนพัฒนาคนให้ดาเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพบนพนื้ ฐานของความมีคณุ ธรรม
จริยธรรม และคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ทงั้ ดา้ นจติ ใจและพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก

กุณฑรี เพ็ชรทวีพรเดช (2550) กล่าวว่า ความรู้วิทยาศาสตร์เพียงแต่นามาใช้ในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตที่ดีแต่ยังช่วยให้คนมีความรู้ ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์และการดูแล
รักษา ตลอดจนการอนุรักษ์พัฒนาส่ิงแดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างต่อเนื่องโดยเร่ิมต้น
จากการเข้าไปพัฒนาทางด้านการศึกษา ซ่ึงประเทศไทยเองได้เห็นความสาคัญของวิทยาศาสตร์
จึงให้มีการปฏิรูปและการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีเป้าหมายหลักคือปฏิรูปกระบนการเรียนรู้
ทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ

สรุปไดว้ ่า ในชีวิตประจาวันของมนุษยท์ ุกคน จะต้องเกย่ี วข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อยู่ตลอดเวลา เกี่ยวข้องกับวิวัฒนาการทางด้านความรู้ ทาให้มีการเปล่ียนแปลงหลาย ๆ ด้าน
จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะทาให้บุคคลในสังคม รู้จักวิธีการคิดอย่างมีเหตุผล มีวิธีการแก้ปัญหา
ต่าง ๆ ท่มี ีระบบ อันจะสง่ ผลให้เกิดการพฒั นาด้านสติปญั ญาซง่ึ วิธีการคดิ น้นั เป็นวธิ ีเดียวกันกับท่ีใช้อยู่
ในกระบวนการแสวงหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์

10

8. ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรน้ันมีความหมายตามลักษณะของการนาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งมี

นกั วิชาการหลายท่านไดใ้ ห้ความหมายของสมนุ ไพร ดงั น้ี
วันทนี สวา่ งอารมณ์ (2542) ไดก้ ล่าวถึง ความหมายสมุนไพร คอื สมุนไพรตามความหมายใน

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้คาจากัดความว่า สมุนไพร หมายถึง พืชท่ีทาเป็นเครื่องยา
ซึ่งหาได้ตามพื้นเมืองมิใช่เคร่ืองเทศ ส่วนราชบัญญัติยา พ.ศ. 2522 และความหมายในตารายาไทย
ให้ความหมายของยาสมุนไพรแตกต่างออกไปเล็กน้อย โดยยาสมุนไพรจะหมายถึงยาที่ได้
จากพฤกษชาติ สัตว์หรือแร่ ซ่ึงมิได้ปรุงหรือแปรสภาพ เช่น พืชก็ยังคงสภาพเป็นส่วนราก ลาต้น ใบ
ดอก หรือผลอยู่ ยังมิได้ผ่านข้ันตอนการแปรรูปใด ๆ ท้ังสิ้น แต่ความเป็นจริงแล้วในทางการค้า
สมุนไพรมักจะถูกดัดแปลงไปเป็นรูปแบบท่ีแตกต่างกัน อาทิเช่น ตัดแบ่งให้เป็นส่วน ๆ ที่เล็กลง บด
เปน็ ผงอัดในแคปซลู เป็นตน้

สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน (2548 : ออนไลน์) พืชสมุนไพร หมายถึง พืชที่ใช้ทาเป็นยา
รักษาโรค โดยใช้ส่วนต่างของพืชชนิดเดียว หรือหลายชนิดพร้อมกัน พืชสมุนไพรเป็นกลุ่มพืชที่อยู่ใน
ความสนใจ และมีผู้ศึกษาทางด้านพฤกษศาสตร์พื้นบ้านมากที่สุด ยารักษาโรคปัจจุบันหลายขนาน
ท่ีผลิตเป็นอุตสาหกรรม ได้มาจากการศึกษาวิจัย การใช้พืชสมุนไพรพ้ืนบ้านของกลุ่มชนพื้นเมือง
ตามป่าเขา หรือในชนบท ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ที่ได้สังเกตว่า พืชใดนามาใช้บาบัด
โรคได้ มีสรรพคุณอย่างไร จากการเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ และการทดลองแบบพื้นบ้าน ที่ได้ท้ังข้อดี
และขอ้ ผดิ พลาด

สมุนไพรคืออะไร (2551 : ออนไลน์) สมุนไพร หมายถึง พืชที่ใช้ทาเคร่ืองยา ส่วนสมุนไพร
หมายถึง ยาที่ได้จากส่วนของพืช สัตว์ และแร่ ซ่ึงมิได้ผสมปรุง หรือแปรสภาพ ส่วนการนามาใช้
อาจดัดแปลงรูปลกั ษณะของสมุนไพรให้ใช้ได้สะดวกข้ึน เชน่ นามาห่ันให้มีขนาดเล็กลง หรือนามาบด
เป็นผง เปน็ ต้น มแี ตพ่ ชื เพียงอย่างเดียว หามไิ ดเ้ พราะยังมสี ัตวแ์ ละแรธ่ าตุอืน่ ๆ อกี สมนุ ไพรท่เี ป็นสัตว์
ได้แก่ เขา หนัง กระดูก ดี หรือเป็นสัตว์ท้ังตัวก็มี เช่น ตุ๊กแก ไส้เดือน ม้าน้า ฯลฯ พืชสมุนไพรนั้น
ต้ังแต่โบราณก็ทราบดีว่ามีคุณค่าทางยามากมายซึ่ง เช่ือกันอีกด้วยว่า ต้นพืชต่าง ๆ ก็เป็นพืชท่ีมีสาร
ที่เปน็ ยาด้วยกันท้งั สน้ิ เพยี งแตว่ า่ พชื ชนิดไหนจะมีคณุ ค่าทางยามากน้อยกว่ากันเท่าน้ัน

สรุปได้ว่า สมุนไพร หมายถึง พืชท่ีมีสรรพคุณเป็นยา สามารถใช้รักษาโรค ซึ่งแตกต่างกัน
ตามแต่ละส่วนของพืชสมุนไพรแต่ละชนิด เช่น ราก ลาต้น ใบ ดอก หรือผล โดยนามาแปรรูป
ให้เหมาะสม เกดิ คุณค่าทางยา เพอ่ื เป็นประโยชน์ในการรกั ษาโรคต่าง ๆ

11

9. การแปรรูปสมุนไพร
ประเทือง สุกูมลจนั ทร์ (2545) กลา่ วว่า ก่อนจะนาสมุนไพรผลิตเปน็ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ สาหรับ

นามาใช้ประโยชน์ตามความต้องการของผู้บริโภคนั้น ผู้ผลิตต้องนาสมุนไพรแต่ละประเภท
มาทาการแปรรูปกอ่ น ซง่ึ แต่ละส่วนของสมุนไพรจะมวี ิธกี ารแปรรูปท่ีแตกตา่ งตามความเหมาะสมของ
แต่ละส่วนของสมุนไพร เพ่ือให้ได้คุณภาพของสมุนไพรที่แปรรูปนั้นตรงตามความต้องการ
กลา่ วถงึ การนาพชื สมนุ ไพรมาแปรรูป ดงั นี้

1. การตากแห้ง เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพและสะดวกเพราะทาง่าย และเก็บรักษาไว้ได้นาน
ทั้งยังเป็นการลดน้าหนัก ปริมาตรและช่วยให้นาไปแปรรูปอย่างอ่ืนได้ง่าย วิธีการตากแห้ง คือ แขวน
พืชสมุนไพรท่ีผูกรวมกันในห้องท่ีแห้ง กรณีเป็นราก ลาต้น ผลท่ีมีน้าปนอยู่มาก จาเป็นต้องหั่น
ให้เป็นช้ินเล็ก ๆ หรือนาไปผ่ึงแดด และต้องการให้แห้งเร็วจาเป็นต้องใช้อุปกรณ์ช่วยที่ตู้อบอุณหภูมิ
35 – 60 องศาเซลเซียส

2. การห่ันให้ขนาดเล็กลง ใช้มีดหั่นหรือสับส่วนท่ีอุ้มน้ามาก ๆ เช่น ราก ลาต้น ผล เปลือก
กอ่ นหรอื หลงั การตากแห้ง เป็นต้น

3. การบดหรือการปั่น เป็นวิธีท่ีนิยมทากันมาก ๆ เพราะสะดวก ประหยัด และง่าย
ต่อการนาไปใชซ้ ง่ึ แพทยแ์ ผนโบราณนยิ มใช้ครกหรอื กระเด่ืองในการป่นพืชสมุนไพรท่ตี ากแหง้ ดแี ล้ว

4. การสกัดน้ามันหอมระเหย พืชสมุนไพรท่ีมีกล่ินหอม เนื่องจากมีการสะสมของน้ามันหอม
ระเหยตามส่วนต่าง ๆ ของพืช ซึ่งมีสรรพคุณทางยา เช่น น้ามันมินท์ มีสารเมนทอล จาเป็นต้องสกัด
เพื่อนาไปใช้ในทางแพทย์ สาหรบั วิธกี ารสกัดน้ามันหอมระเหยมีหลายวิธี เช่น การกลน่ั ด้วยไอนา้ หรือ
การต้มแล้วกลัน่ ทช่ี าวบ้านรจู้ กั

อ่อนศรี เมฆขยาย (2560 : ออนไลน์) กล่าวว่า การเปล่ียนแปลงสถานะของสมุนไพร
ให้แตกต่างไปจากเดิม เพ่ือประโยชน์ในการใช้งานที่หลากหลายมากข้ึน สมุนไพรมีหลายชนิด
และมีสรรพคุณทางยาที่แตกต่างกัน ดังน้ัน การศึกษารูป รส กล่ิน สี และชื่อสมุนไพร จึงเป็นปัจจัย
หนึ่งท่ีมีความสาคัญ เพ่ือให้การแปรรูปสมุนไพรมีคุณภาพดี ตลอดจนการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์
ให้มีคุณภาพคงเดิม เน่ืองจากผลิตภัณฑ์บางประเภทไม่สามารถคงสภาพได้นาน การแปรรูป
จึงมีบทบาทสาคญั มากขนึ้ คงไว้ซงึ่ คุณคา่ และสรรพคณุ ท่ดี ขี องพชื สมุนไพร

สรุปได้ว่า การแปรรูปสมุนไพร หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสภาพของสมุนไพรให้แตกต่างไป
จากเดิม เพ่ือประโยชน์ในการใช้งานท่ีหลากหลายมากย่ิงขึ้น เช่น การตากแห้ง การหั่นให้มี
ขนาดเลก็ ลง การบดหรือปั่น และการสกดั นา้ มนั หอมระเหย เป็นตน้

10. ความหมายของไบโอชาร์ (Biochar)
ความหมายของไบโอชาร์นั้นมีความหมายตามประเภทของการนาไปใช้ประโยชน์ ซ่ึงมีหลาย

ทา่ นไดใ้ ห้ความหมายของไบโอชาร์ ดงั นี้
อรสา สุกสว่าง (2552) กล่าวว่า ไบโอชาร์ (Biochar) หรือถ่านชีวภาพ คือ วัสดุท่ีอุดม

ด้วยคาร์บอน ผลิตจากชีวมวล (Biomass, วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เช่น เหง้ามันสาปะหลัง ฟาง
ข้าว ซังข้าวโพด กิ่งไม้ เป็นต้น) ผ่านกระบวนการแยกสลายด้วยความร้อนโดยไม่ใช้ออกซิเจนหรือ

12

ใช้น้อยมาก (ไพโรไลซิส, Pyrolysis) ซ่ึงมีสองวิธีหลัก ๆ คือการแยกสลายอย่างเร็วและอย่างช้า
การผลิตถ่านชีวภาพด้วยวิธีการแยกสลายอย่างช้าท่ีอุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส จะได้ผลผลิตของ
ถ่านชีวภาพมากกว่า 50% แต่จะใช้เวลาเป็นช่ัวโมง ซ่ึงต่างจากวิธีการแยกสลายอย่างรวดเร็วที่
อุณหภูมิเฉล่ีย 700 องศาเซลเซียส ซ่ึงใช้เวลาเป็นวินาที ผลผลิตที่ได้จะเป็นน้ามันชีวภาพ (bio-oil)
60% สังเคราะห์ (syngas) 20% และถา่ นชวี ภาพ 20%

นิรมล จันทรชาติ และอุษา อ้นทอง (2559 : ออนไลน์) ได้กล่าวว่า เตาไบโอชาร์ เป็น
เทคโนโลยีท่ีใช้เชื้อเพลิงชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงในการเผาไหม้ได้แก่ แกลบ ซัง ข้าวโพด เศษไม้ฟืน
ข้ีเลื่อย เป็นต้น โดยจะใช้หลักการของกระบวนการแก๊สซิฟิเคช่ัน หรือจากัดอากาศให้เหมาะสมกับ
เช้ือเพลิง ซ่ึงกระบวนการนี้จะเป็นกระบวนการท่ีเปลี่ยน เชื้อเพลิงแข็งท่ีมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ
(ชีวมวล) ที่สามารถติดไฟได้ให้กลายเป็นแก๊สท่ีสามารถเผาไหม้ได้การเผาไหม้เชื้อเพลิงในท่ีท่ีมี
ออกซิเจนอยู่อย่างจากัด จะทาให้เกิดแก๊สท่ีมีส่วนประกอบหลัก คือ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO),
ไฮโดรเจน (H2 ), แก๊สมีเทน (CH4) และพวกสารระเหยต่างๆ ซ่ึงแก๊สเช้ือเพลิงท่ีผลิตได้นี้เรียกว่า
โปรดิวเซอร์ แกส๊ (Producer gas) ประสิทธิภาพของการผลติ โปรดวิ เซอรแ์ ก๊ส ขึ้นอยู่กับกระบวนการ
ผลิตและคุณภาพ ของเช้ือเพลิงท่ีใช้ในการผลิตเป็นหลัก ท้ังนี้เตาแก๊สชีวมวลโดยทางวิชาการแล้ว
แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด คือ แบบ Up-draft gasifier แบบ Cross-draft gasifier และแบบ Down-
draft gasifier ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงเตาแก๊สชีวมวล ท่ีสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการหุงต้มในครัวเรือน
ไดแ้ ก่ เตาแก๊สชวี มวลแบบใชฟ้ ืนและเตาแกส๊ ชวี มวลแบบใชแ้ กลบ

สรุปได้ว่า ไบโอชาร์ หรือการแปลงชีวมวลสู่พลังงานและไบโอชาร์เป็นเตาพลังงานมวล
ชีวภาพระดับครัวเรือน โดยการนาวัสดุจากธรรมชาติในชุมชน มาผ่านกระบวนการให้ความร้อน
เพ่อื แยกสลายมวลชีวภาพ โดยไม่ใชอ้ อกซเิ จนหรือกาจดั ออกซิเจน ใหก้ ลายเป็นแก๊สหุงตม้ ถ่านชีวภาพ
ไบโอชาร์ ใช้ในการปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่อการเกษตรที่ย่ังยืนและยังเป็นกระบวนการ
ผลิตที่ช่วยลดโลกรอ้ นจากภาวะกา๊ ซเรือนกระจก

11. ความหมายของความพงึ พอใจ
อุทัยพรรณ สุดใจ (2545) ได้กล่าวถึง ความพึงพอใจว่า เป็นความรู้สึกรักชอบยินดีเต็มใจ

หรือมีเจตคติท่ีดีของบุคคลต่อสิ่งใดส่ิงหน่ึง ความพอใจจะเกิดเมื่อได้รับตอบสนองความต้องการ
ท้ัง ด้านวัตถุและด้านจิตใจ ความพึงพอใจเป็นเรื่องเก่ียวกับอารมณ์ ความรู้สึก และทัศนะของบุคคล
อันเนื่องมาจากสิ่งเร้าและสิ่งจูงใจ โดยอาจเป็นไปในเชิงประเมินค่า ว่าความรู้สึกหรือทัศนคติต่อ
ส่ิงเหลา่ นัน้ เป็นไปในทางลบหรือบวก

ราชบัณ ฑิตสถาน (2546) ได้กล่าวถึง ความหมายของคาว่า ความพึงพอใจ ดังนี้
คาว่า “พึง” เป็นคากริยาอื่น หมายความว่า ยอมตาม เช่น พึงใจ และคาว่า “พอใจ” หมายถึง
สมชอบ ชอบใจ

13

กชกร เป้าสุวรรณ และคณะ (2550) ได้กล่าวถึง ความหมายของความพึงพอใจว่า ส่ิงที่ควร
จะเป็นไปตามความต้องการ ความพึงพอใจเปน็ ผลของการแสดงออกของทัศนคติของบคุ คลอกี รูปแบบ
หน่ึง ซึ่งเป็นความรู้สึกเอนเอียงของจิตใจที่มีประสบการณ์ท่ีมนุษย์เราได้รับอาจจะมากหรือน้อย
ก็ได้ และเป็นความรู้สึกท่ีมีต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ซ่ึงเป็นไปได้ท้ังทางบวกและทางลบ แต่ก็เมื่อได้
ส่ิงนั้น สามารถตอบสนองความต้องการหรือทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ ก็จะเกิดความรู้สึกบวก
เป็นความรู้สึกที่พึงพอใจ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าสิ่งนั้นสร้างความรู้สึกผิดหวัง ก็จะทาให้เกิด
ความรสู้ ึกทางลบ เปน็ ความรสู้ ึกไม่พงึ พอใจ

สรุปได้ว่า ความหมายของความพึงพอใจ คือ ความรู้สึกนึกคิดหรือทัศนคติของบุคคลท่ีมีต่อ
สิ่งใดสง่ิ หนงึ่ สามารถเป็นไปในทางท่ีดหี รอื ไม่ดีหรอื ในด้านบวกและด้านลบ ซ่งึ จะเกิดข้ึนก็ต่อเม่อื สิ่งน้ัน
สามารถตอบสนองความตอ้ งการแกบ่ คุ คลน้ัน

12. การวดั ความพึงพอใจ
ความพึงพอใจเกิดขึ้นหรือไม่นั้นข้ึนอยู่กับกระบวนการจัดการเรียนรู้ประกอบกับระดับ

ค ว า ม รู้ สึ ก ข อ งนั ก เรี ย น ดั งน้ั น ใน ก า ร วั ด ค ว าม พึ งพ อ ใจ ใน ก าร เรี ย น รู้ ก ร ะ ท าได้ ห ล าย วิ ธี ต่ อ ไป น้ี
สาโรช ไสยสมบัติ (2534) ได้กลา่ วถงึ การวัดความพงึ พอใจ
1. การใช้แบบสอบถามซง่ึ เป็นวิธีทน่ี ยิ มใช้มากอยา่ งแพร่หลายวิธีหนึง่
2. การสัมภาษณ์ซึ่งเป็นวิธีที่ต้องอาศัย เทคนิคและความชานาญพิเศษของผู้สัมภาษณ์ที่

จะจูงใจใหผ้ ู้ตอบคาถามตามข้อเทจ็ จรงิ
3. การสังเกต เป็นการสังเกตพฤติกรรมทั้งก่อนการปฏิบัติกิจกรรม ขณะปฏิบัติกิจกรรม

และหลังการปฏิบัติกิจกรรมจะเห็นได้วา่ การวดั ความพึงพอใจในการเรียนรู้สามารถท่ีจะวัดได้หลายวิธี
ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับความสะดวกความเหมาะสม ตลอดจนจุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายของการวัดด้วย
จึงจะส่งผลใหก้ ารวัดนนั้ มปี ระสทิ ธิภาพน่าเช่ือถอื

สรุปได้ว่า ความพึงพอใจในการเรียนและผลการเรียน จะมีความสัมพันธ์กันในทางบวก
ท้ั งน้ี ขึ้ น อ ยู่ กั บ กิ จ ก ร ร ม ท่ี ผู้ เรี ย น ได้ ป ฏิ บั ติ น้ั น ท าให้ ผู้ เรี ย น ได้ รั บ ก า ร ต อ บ ส น อ งค ว าม ต้ อ งก า ร
ทางด้านร่างกายและจิตใจ ซึ่งเป็นส่วนสาคัญที่จะทาให้เกิดความสมบูรณ์ของชีวิตมากน้อยเพียงใด
นั่นคือ ส่ิงที่ครูผู้สอนจะคานึงถึงองค์ประกอบต่างๆในการเสริมสร้างความพึงพอใจในการเรียนรู้ให้กับ
ผู้เรียน

13. ความรู้ ความเขา้ ใจ
อักษร สวัสดี (2542) ได้ให้คาอธิบายว่า ความรู้ เป็นพฤติกรรมข้ันต้นท่ีผู้เรียนรู้เพียงแต่เกิด

ความจาได้ โดยอาจจะเป็นการนึกได้หรือโดยการมองเห็น ได้ยิน จาได้ ความรู้ในช้ันน้ีได้แก่ ความรู้
เก่ียวกับคาจากัดความ ความหมาย ข้อเท็จจริง กฎเกณฑ์ โครงสร้างและวิธีแก้ไขปัญหา ส่วนความ
เข้าใจอาจแสดงออกมาในรูปของทักษะด้าน “การแปล” ซึ่งหมายถึง ความสามารถในการเขียน
บรรยายเก่ียวกับข่าวสารน้ัน ๆ โดยใช้คาพูดของตนเอง และ “การให้ความหมาย” ที่แสดงออกมาใน
รูปของความคิดเห็นและข้อสรุป รวมถึงความสามารถในการ “คาดคะเน” หรือการคาดหมายว่าจะ
เกดิ อะไรขนึ้

14

เบน จามิน บลูม (Benjamin S. Bloom อ้างถึงในอักษร สวัสดี, 2542) ได้ให้ความหมาย
ของ ความรู้ ว่าหมายถึง เรื่องท่ีเกี่ยวกับการระลึกถึงส่ิงเฉพาะ วิธีการและกระบวนการต่าง ๆ รวมถึง
แบบกระสวนของโครงการวัตถุประสงค์ในด้านความรู้ โดยเน้นในเร่ืองของกระบวนการทางจิตวิทยา
ของความจา อันเป็นกระบวนการที่ เช่ือมโยงเกี่ยวกับการจัดระเบียบ โดยก่อนหน้านั้น
ในปี ค.ศ.1965 บลูมและคณะ ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการรับรู้หรือพุทธิพิสัย (cognitive
domain) ของคน ว่าประกอบด้วยความรู้ตามระดับต่าง ๆ รวม 6 ระดับ ซ่ึงอาจพิจารณาจากระดับ
ความรู้ในข้ันต่าไปสู่ระดับของความรู้ในระดับที่สูง ข้ึนไป โดยบลูมและคณะ ได้แจกแจงรายละเอียด
ของแต่ละระดับไวด้ ังนี้

1. ความรู้ (Knowledge
2. ความเขา้ ใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension)
3. การนาไปปรับใช้ (Application)
4. การวิเคราะห์ (Analysis)
5. การสงั เคราะห์ (Synthesis)
6. การประเมินผล (Evaluation)
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (2546) ได้อธิบายว่า ความรู้คือสิ่งที่สะสม
มาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้าหรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ
นอกจากน้ี ยังได้ให้แนวคิดที่เพิ่มเติมว่า ความรู้ เป็นการผสมผสานระหว่างประสบการณ์ ค่านิยม
ความเข้าใจ การรู้โดยสัญ ชาติญ าณ และสารสนเทศ ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานในการประเมินและ
การรับเอาประสบการณ์และสารสนเทศใหม่ๆ ของบุคคล โดยความรู้เกิดข้ึนและถูกนาไปประยุกต์ใช้
โดยจติ ใจของบุคคล ซง่ึ ในองค์การความรู้อาจถกู ส่ังสมลงในเอกสาร คลังจัดเก็บเอกสาร งานประจาวัน
กระบวนการในการทางานวิธปี ฏบิ ัตงิ าน
สรปุ ได้ว่า ความรคู้ ือ สิ่งที่มนุษย์สรา้ ง ผลิต ความคดิ ความเชื่อ ความจรงิ ความหมาย โดยใช้
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ตรรกะ แสดงผ่านภาษา เคร่ืองหมาย และส่ื อต่าง ๆ โดยมีเป้าหมาย
และวัตถปุ ระสงคเ์ ปน็ ไปตามผู้สร้าง ผผู้ ลิตจะใหค้ วามหมาย

15

14. กรอบแนวคิด
จากการศึกษาดงั กล่าว จึงกาหนดกรอบแนวคิด ดังแสดงในตารางภาพที่ 2.1

หลกั การ / แนวคิด กิจกรรม 2 รปู แบบ ผลท่ีได้รับ

โครงการวทิ ยาศาสตร์เพื่อชวี ิต กระบวนการผลิต 1. ผู้ เข้ า รั บ ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม
และชมุ ชนคนชายแดนใต้ เตาไบโอชาร์ มพี งึ พอใจต่อโครงการ
2. ผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรม
1. เพ่อื เสริมสร้างการเรยี นรู้ใน การแปรรูปสมุนไพร มี ค วาม รู้ ค วาม เข้ าใจ ใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์
ทางวิทยาศาสตร์ และการแปรรปู สมุนไพร
3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนา
2. เพอื่ พัฒนาทักษะกระบวนการ ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
เรียนรู้ ทกั ษะชวี ิตทาง และตอ่ ยอดอาชพี ในชมุ ชน
วิทยาศาสตร์ 4. ผู้ เข้ า รั บ ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม
ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต เต า ไบ โอ ช า ร์
3. เพ่ือนาองค์ความร้ไู ป การแปรรูปสมุนไพร และเกิด
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ และพัฒนา อาชพี ในชุมชน
ชวี ิต สังคมและชุมชน

บทท่ี 3
วธิ ีดำเนนิ กำรประเมนิ

1. รูปแบบของกำรประเมิน
การประเมินโครงการวิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ ได้ดาเนินการ

ตามรปู แบบการประเมินโครงการของเคิรก์ แพทริค (Kirkpatrick Model)

2. วธิ ีกำรประเมิน
การประเมินโครงการในรูปแบบเคิร์กแพทริค (Kirkpatrick Model) ประกอบด้วย 4 ด้าน

ได้แก่ การประเมนิ ปฏิกิรยิ าตอบสนอง (ความพึงพอใจ) ของผู้เข้าร่วมโครงการ การประเมินการเรียนรู้
(ความรู้ ความเข้าใจ) ของผู้เข้าร่วมโครงการ การประเมินพฤติกรรม (การนาความรู้ไปใช้) ของ
ผู้เข้าร่วมโครงการ และการประเมินผลลัพธ์ท่ีเกิดกับชุมชน การประเมินในแต่ละด้านโดยใช้
กระบวนการดงั แสดงในตารางท่ี 3.1

ตำรำงท่ี 3.1 วธิ กี ารประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์เพื่อชวี ติ และชมุ ชนคนชายแดนใต้

วัตถุประสงคข์ อง ประเดน็ ที่ศึกษำ แหลง่ ข้อมลู วิธรี วบรวม กำรวิเครำะห์ เกณฑใ์ นกำรประเมนิ

กำรประเมิน ข้อมูล ขอ้ มูล

1. เพ่อื ศึกษาระดับ ความพงึ พอใจต่อ ผเู้ ขา้ รับการ แบบสอบถาม 1. หาคา่ รอ้ ยละ เกณฑก์ ารพิจารณาความ

ความพงึ พอใจ การอบรม ฝกึ อบรม ความพึงพอใจ 2. หาค่าเฉลย่ี พงึ พอใจ

ของผู้เข้ารับการ โครงการ โครงการ ของผ้เู ข้าอบรม 5 มากทสี่ ุด

ฝกึ อบรมโครงการ โครงการ 4 มาก

3 ปานกลาง

2 นอ้ ย

1 น้อยทีส่ ดุ

ค่าระดับความพึงพอใจ

มากข้ึนไป

2. เพื่อศึกษา ความรู้ ผ้เู ขา้ รับการ แบบทดสอบวัด 1. หาค่าเฉล่ยี ค่าเฉล่ียของคะแนน

ระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจต่อ ฝกึ อบรม ความรู้ จานวน ของคะแนน ทดสอบหลงั อบรม

ความเขา้ ใจ เน้อื หาทัง้ ก่อนและ โครงการ 20 ข้อ คะแนน ทดสอบก่อน มากกว่าก่อนการ

ของผเู้ ข้ารับการ หลังการฝึกอบรม เต็ม 20 และหลังอบรม ฝกึ อบรม ร้อยละ 15

ฝกึ อบรมโครงการ โครงการ คะแนน เวลา 2. หาค่าร้อยละ ถือว่าผเู้ ขา้ รบั การ

สอบ 20 นาที ฝึกอบรมโครงการเกิด

การเรียนร้ทู ี่ได้ผล

17

ตำรำงที่ 3.1 วธิ ีการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์เพ่ือชวี ติ และชุมชนคนชายแดนใต้ (ตอ่ )

วตั ถุประสงคข์ อง ประเด็นท่ีศกึ ษำ แหลง่ ข้อมลู วธิ รี วบรวม กำรวเิ ครำะห์ เกณฑ์ในกำรประเมิน
กำรประเมิน ข้อมูล
ขอ้ มูล
3. เพ่ือศึกษาการ 1. หาค่ารอ้ ยละ เกณฑ์การพิจารณา
นาความร้จู าก 1. ความสามารถ ผู้เข้ารับการ แบบสารวจ 2. หาค่าเฉลย่ี พฤติกรรม
การฝึกอบรม
โครงการไปใช้ใน ในการถ่ายทอดแก่ ฝึ ก อ บ ร ม พฤติกรรม ใช่ เทา่ กบั 1 คะแนน
ชวี ติ ประจาวนั ไม่ใช่ เท่ากับ 0 คะแนน
ผอู้ ื่น โครงการ (checklist) 1. ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม
4. เพ่ือศึกษาผล โครงการมีพฤติกรรม
การฝกึ อบรม 2. การนาความรู้ จานวน 12 ขอ้ รอ้ ยละ 80 ของพฤติกรรม
โครงการทเ่ี กิด ตามแบบสารวจถือว่า
กบั ชุมชน ไปใช้ใน พฤติกรรมดขี ้ึน
2. ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม
ชวี ติ ประจาวัน โครงการมีพฤติกรรมโดย
เฉล่ีย 2 พฤติกรรมขึ้นไป
3. การผลิตเพอ่ื ต่อ รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ข้ารับ
การฝึกอบรมโครงการ
ยอดอาชีพใน ทง้ั หมดแสดงว่า
การอบรม สามารถ
ชมุ ชน เปล่ียนแปลงพฤติกรรมให้
ดีขน้ึ
1. วธิ กี ารแปรรปู ผเู้ ข้ารับการ แบบสัมภาษณ์
สมนุ ไพรของ ฝกึ อบรม ผลการอบรมท่ี วเิ คราะห์ เกณฑ์การพจิ ารณา
ชุมชน โครงการ มตี อ่ ชมุ ชน เนื้อหา 1. ดาเนนิ การ
2. กระบวนการ
ผลิตเตาไบโอชาร์ เปล่ยี นแปลงในเชงิ บวก
ของชมุ ชน แสดงว่าโครงการ
3. การพัฒนา บรรลผุ ลตาม
อาชพี ในชุมชน วัตถุประสงค์ของ
โครงการ
2. ชุมชนมีอาชีพเพ่ิมขน้ึ
แสดงวา่ โครงการ
ก่อใหเ้ กดิ ผลลัพธท์ ี่ดีต่อ
ชุมชนอยา่ งแท้จริง

18

3. ประชำกรและกลมุ่ ตวั อยำ่ ง
1. ประชากร
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการในพ้ืนท่ีจังหวัดยะลา สงขลา และสตูล ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562 จานวน 210 คน
2. กล่มุ ตวั อยา่ ง
2.1 ใช้ประชากรท้ังหมดที่เข้ารับการฝึกอบรมโครงการในพื้นที่จังหวัดยะลา สงขลา และ
สตูล จานวน 210 คน เป็นกลมุ่ ตัวอยา่ ง
2.2 กลุ่มตัวอยา่ งท่ใี ชใ้ นการสมั ภาษณ์ จานวน 6 คน จากประชากร 210 คน

4. เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นกำรประเมนิ
เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมลู สาหรบั การประเมินโครงการคร้งั นี้ ได้แก่
1. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการ มีการสรา้ งและหาคุณภาพ ดังน้ี
1.1 ศึกษาเอกสารทเี่ ก่ียวกับการประเมินโครงการ
1.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการสรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจ
1.3 วิเคราะห์เน้ือหาที่ต้องการวัดผล เลือกรูปแบบเครื่องมือท่ีใช้วัด และกาหนด

เกณฑก์ ารให้คะแนน
1.4 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ

วิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ ลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating Scale) จานวน 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ
แบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ระดับความพึงพอใจของผู้รับการฝึกอบรมต่อการเข้าร่วมโครงการ ส่วนที่ 3
ขอ้ เสนอแนะ มี 5 ระดับ โดยมเี กณฑ์การใหค้ ะแนน ดังนี้

ระดับ 5 หมายความวา่ พงึ พอใจมากทส่ี ดุ
ระดับ 4 หมายความว่า พึงพอใจมาก
ระดบั 3 หมายความว่า พงึ พอใจปานกลาง
ระดบั 2 หมายความวา่ พึงพอใจน้อย
ระดับ 1 หมายความวา่ พงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ

1.5 เกณ ฑ์ การป ระเมิน ผลแบ บ สอบ ถาม ระดับ ค วามพึ งพ อใจของผู้รับ
การฝึกอบรมต่อการเข้าร่วมโครงการ โดยใช้คะแนนเฉลี่ยของแต่ละตัวแปร ในการอภิปรายผล
(ศริ ชิ ัย พงษว์ ชิ ัย, 2550) ดงั ตอ่ ไปน้ี

19

คา่ เฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายความวา่ ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมากท่ีสุด
ค่าเฉลย่ี 3.50 - 4.49 หมายความวา่ ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมมีความพึงพอใจนอยใู่ นระดบั มาก
คา่ เฉล่ยี 2.50 - 3.49 หมายความว่า ผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง
คา่ เฉล่ยี 1.50 - 2.49 หมายความวา่ ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับน้อย
คา่ เฉลีย่ 1.00 - 1.49 หมายความว่า ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมมคี วามพึงพอใจอย่ใู นระดับน้อยทีส่ ดุ

1.6 ผู้ประเมินนาแบบสอบถามความพึงพอใจที่สร้างขึ้น ไปให้ผู้เชี่ยวชาญ
ด้านวดั ผลการศกึ ษาและด้านวิชาการ จานวน 3 ท่าน ได้แก่

1. นายณัฐภมู นิ ทร์ สงั ข์พงศ์ ผอู้ านวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา
2. นางสาวตรีชฎา วฒั นะนกุ ลู พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ ศนู ย์อนามยั ท่ี 12 ยะลา
3. นายนเิ ซะ กาเดร์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน พลงั งานจังหวัดยะลา
1.7 ผ้ปู ระเมินนาแบบสอบถามความพึงพอใจไปทดลองใช้ (Try Out) กับประชากรทส่ี นใจ
แตไ่ ม่ใชก่ ลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน

2. แบบทดสอบความรกู้ ารอบรมโครงการมกี ารสร้างและหาคณุ ภาพ ดังนี้
2.1 ศึกษาเอกสารทเี่ กย่ี วกบั การประเมนิ โครงการ
2.2 ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วขอ้ งกับการสรา้ งแบบทดสอบวัดความรู้
2.3 วิเคราะห์เนื้อหาที่ต้องการวัดผล เลือกรูปแบบเครื่องมือที่ใช้วัด และกาหนด

เกณฑ์การใหค้ ะแนน
2.4 สร้างแบบทดสอบให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการวิทยาศาสตร์เพื่อ

ชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ จานวน 20 ข้อ มี 4 ตัวเลือก คะแนนเต็ม 20 คะแนน ตอบถูกให้ 1
คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน

2.5 ผู้ประเมินนาแบบประเมินที่สร้างข้ึน ไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านวัดผลการศึกษาและ
ดา้ นวชิ าการ จานวน 3 ทา่ น ได้แก่

1. นายณฐั ภมู ินทร์ สังขพ์ งศ์ ผู้อานวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา
2. นางสาวตรีชฎา วัฒนะนกุ ลู พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ ศนู ย์อนามัยท่ี 12 ยะลา
3. นายนิเซะ กาเดร์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน พลงั งานจังหวัดยะลา
2.6 ผู้ประเมินนาแบบทดสอบวัดความรู้ไปทดลองใช้ (Try Out) กับประชากรท่ีสนใจ
แตไ่ มใ่ ช่กล่มุ ตวั อยา่ ง จานวน 30 คน
3. แบบประเมินการนาความรู้จากการฝึกอบรมไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีการสร้างและ
หาคณุ ภาพ ดังน้ี
3.1 ศกึ ษาเอกสารเกี่ยวกบั การประเมนิ โครงการ
3.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบประเมินการนาความรู้
ไปใช้ในชวี ิตประจาวนั

20

3.3 วิเคราะห์เนื้อหาท่ีต้องการวัดผล เลือกรูปแบบเครื่องมือที่ใช้วัด และกาหนด

เกณฑ์การให้คะแนน

3.4 สร้างแบบประเมินการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ให้สอดคล้องกับ

วัตถุประสงค์ของโครงการวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ จานวน 12 ข้อ โดยมีเกณฑ์

ให้คะแนน ดังน้ี

ความรทู้ ่ไี ดใ้ ช้ เทา่ กบั 1 คะแนน

ความรทู้ ่ีไมไ่ ดใ้ ช้ เทา่ กับ 0 คะแนน

3.5 นาแบบประเมินการนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวัน ไปให้ผ้เู ช่ียวชาญ

ด้านวดั ผลการศึกษาและดา้ นวิชาการ จานวน 3 ทา่ น ไดแ้ ก่

1. นายณัฐภูมินทร์ สังขพ์ งศ์ ผอู้ านวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลา

2. นางสาวตรีชฎา วฒั นะนุกูล พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ ศนู ย์อนามยั ที่ 12 ยะลา

3. นายนเิ ซะ กาเดร์ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน พลงั งานจังหวัดยะลา

3.6 ผู้ประเมินนาแบบประเมินการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ทดลองใช้

(Try Out) กบั ประชากรทส่ี นใจแต่ไมใ่ ช่กล่มุ ตวั อยา่ ง จานวน 30 คน

4. แบบสมั ภาษณ์ผลการอบรมทมี่ ตี ่อชมุ ชน มีการสร้างและหาคณุ ภาพ ดงั น้ี
4.1 ศึกษาเอกสารเกย่ี วกบั การประเมนิ โครงการ
4.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างแบบสัมภาษณ์ผลการอบรม

ท่ีมตี ่อชมุ ชนและวเิ คราะหข์ อ้ มูลเชิงคุณภาพ
4.3 วิเคราะห์เนอ้ื หาท่ีต้องการวดั เลือกรปู แบบเคร่ืองมือที่ใช้วัดและวิธีการวิเคราะห์

ขอ้ มลู เชิงคุณภาพ
4.4 สรา้ งแบบสมั ภาษณ์
4.5 นาแบบสมั ภาษณ์ ไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านวดั ผลการศึกษาและดา้ นวชิ าการ

จานวน 3 ท่านไดแ้ ก่
1. นายณฐั ภมู นิ ทร์ สังข์พงศ์ ผอู้ านวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา
2. นางสาวตรชี ฎา วัฒนะนกุ ลู พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ ศูนย์อนามยั ที่ 12 ยะลา
3. นายนเิ ซะ กาเดร์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน พลังงานจงั หวดั ยะลา

4.6 ผูป้ ระเมินนาแบบสัมภาษณ์ผลการอบรมทีม่ ตี ่อชุมชน ทดลองใช้ (Try Out)
กับประชากรที่สนใจแต่ไมใ่ ช่กล่มุ ตวั อย่าง จานวน 30 คน

21

5. กำรวิเครำะห์ขอ้ มลู และสถิติที่ใช้
การวิเคราะหข์ ้อมูลจากแบบประเมิน แบบทดสอบ แบบสารวจและแบบสัมภาษณ์ ดังน้ี
1. สถติ เิ ชงิ พรรณนา (Descriptive Statistics)

1.1 ค่าเฉลีย่ (Mean) โดยใชส้ ูตรดังนี้ (พวงรัตน์ ทวรี ตั น์, 2540)

̅ = ∑


เม่อื ̅ แทน คา่ เฉลีย่
∑ แทน ผลรวมของข้อมลู ทั้งหมด
แทน จานวนขอ้ มูล

1.2 ค่ารอ้ ยละ (Percentage) โดยใช้สูตรดังนี้ (พวงรัตน์ ทวรี ัตน์, 2540)

= f × 100


เมือ่ แทน ร้อยละ
แทน ความถี่ของข้อมลู
f แทน จานวนขอ้ มลู ทัง้ หมด



1.3 ค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใชส้ ูตรดงั น้ี (พวงรัตน์ ทวรี ตั น์, 2540)

= √ ∑ (2 −−(∑1) )2

เม่ือ แทน คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน
∑ 2 แทน ผลรวมของข้อมลู ยกกาลงั สอง
(∑ )2 แทน ผลรวมของข้อมูลทัง้ หมดยกกาลังสอง
แทน จานวนขอ้ มูล

2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)
กรณีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent Samples) โดยใช้สูตรดังน้ี

(ลวน สายยศ และองั คณา สายยศ, 2540)

= ∑
√ ∑ 2 − (∑ )2
− 1

22

เม่ือ t แทน ค่า t-test
N แทน จานวนผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมโครงการ

∑ แทน ผลรวมของผลตา่ งของคะแนนผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมในแตล่ ะคน
∑ 2 แทน ผลรวมของผลตา่ งของคะแนนผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมในแตล่ ะคน

ยกกาลังสอง

(∑ )2 แทน ผลรวมของผลต่างของคะแนนผู้เข้ารับการฝึกอบรมทง้ั หมด
ยกกาลงั สอง

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู

การประเมินโครงการครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อประเมินผลการดาเนินงานโครงการ
วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ โดยรวบรวมข้อมูลท่ีได้จากการตอบแบบประเมิน
ความพึงพอใจ แบบทดสอบวัดความรู้ แบบสารวจพฤติกรรม และแบบสัมภาษณ์ผลการอบรมที่มีต่อ
ชุมชนของผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการวิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ ท่ีเป็น
กลมุ่ ตัวอย่าง จานวน 210 คน และวิเคราะห์ข้อมลู โดยกาหนดประเดน็ ในการนาเสนอเปน็ ลาดับ ดังน้ี

ตอนที่ 1 ผลวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจ
ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะหแ์ บบทดสอบความรู้
ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะห์แบบสารวจพฤตกิ รรม
ตอนท่ี 4 ผลการวิเคราะห์แบบสัมภาษณ์จากการอบรมท่ีมีตอ่ ชมุ ชน

ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์แบบประเมินความพึงพอใจ
หลังจากโครงการวิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้เสร็จส้ิน ดาเนินการให้

ผเู้ ข้ารับการฝกึ การอบรมทาแบบประเมินทนั ที ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ท่วั ไปของผู้เข้ารับการฝกึ อบรม

ตารางท่ี 4.1 จานวนและร้อยละข้อมูลทวั่ ไปของผู้เขา้ รับการฝึกอบรม

1. เพศ ข้อมูลทั่วไป จานวน (คน) ร้อยละ
ชาย รวม
หญงิ 56 26.76
รวม 154 73.24
2. อายุ 210 100.00
ตา่ กวา่ 20 ปี
20 – 30 ปี 29 15.68
31 – 40 ปี 35 18.17
41 – 50 ปี 66 31.93
51 ปีข้นึ ไป 32 15.89
48 18.33

210 100.00

24

ตารางท่ี 4.1 จานวนและรอ้ ยละขอ้ มลู ทั่วไปของผู้เข้ารับการฝึกอบรม (ต่อ)

ข้อมูลทั่วไป จานวน (คน) รอ้ ยละ

3. กลุม่ เปา้ หมาย รวม 48 27.23
นกั ศึกษา กศน. รวม 136 58.75
ประชาชนท่วั ไป 26 14.02
ผนู้ าท้องถ่ิน
210 100.00
4. อาชพี
รับราชการ 31 17.26
เกษตรกรรม 78 36.21
คา้ ขาย 34 13.22
รบั จ้าง 76 33.31
210 100.00

จากตารางท่ี 4.1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบประเมิน พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่
เปน็ เพศหญงิ รอ้ ยละ 73.24 มีชว่ งอายุ 31 – 40 ปี มากทส่ี ุดรอ้ ยละ 31.93 รองลงมาอายุ 51 ปขี นึ้ ไป
ร้อยละ 18.33 กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่เป็นประชาชนท่ัวไป มากท่ีสุดร้อยละ 58.75 รองลงมาเป็น
นักศึกษา กศน. ร้อยละ 27.23 มีอาชพี เกษตรกร มากที่สุดรอ้ ยละ 36.21 รองลงมารับจา้ ง 33.31

ตารางท่ี 4.2 คา่ เฉลย่ี คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรม

รายการประเมิน x̅ S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ดา้ นส่ิงอานวยความสะดวก 4.75 0.44 มากทส่ี ดุ
1.1 ความเหมาะสมของสถานท่ี ท่ีใช้ในการฝกึ อบรมของโครงการ 4.50 0.50 มาก
1.2 มคี วามเหมาะสมของสอ่ื และอุปกรณท์ ี่ใช้ในการฝึกอบรมของ
4.00 0.10 มาก
โครงการ
1.3 มคี วามเหมาะสมของระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการฝึกอบรมของ 4.00 0.14 มาก
4.00 0.17 มาก
โครงการ 4.00 0.12 มาก
1.4 การประชาสมั พนั ธใ์ นการจัดฝึกอบรมของโครงการ 4.21 0.07 มาก
1.5 ความเหมาะสมการใหบ้ ริการอาหารและเครอ่ื งด่ืม
1.6 เอกสารท่ใี ช้ในการฝึกอบรมของโครงการ
รวม

25

ตารางที่ 4.2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรม (ต่อ)

รายการประเมนิ x̅ S.D. ระดับความพึงพอใจ

2. ดา้ นวทิ ยากร 4.75 0.44 มากทสี่ ุด
2.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจในการถา่ ยทอดความรู้ 4.88 0.33 มากที่สดุ
2.2 มีความรู้ ความสามารถในการอธิบายเนื้อหา 4.88 0.33 มากทสี่ ดุ
2.3 เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ข้ารับการฝกึ อบรมของโครงการแสดงความ
4.50 0.50 มาก
คิดเหน็
2.4 เปิดโอกาสให้ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมของโครงการมีส่วน 4.75 0.25 มากที่สดุ

รว่ มในกิจกรรม 4.00 0.20 มาก
รวม
4.88 0.33 มากที่สดุ
3. ด้านการนาความร้ไู ปประยุกต์ใช้ 4.88 0.33 มากที่สดุ
3.1 เนื้อหาการฝึกอบรมของโครงการตรงต่อตามความ
4.58 0.22 มากทีส่ ุด
ต้องการ
3.2 ได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะไดต้ ามความคาดหวงั
3.3 นาความรู้ ทักษะทีไ่ ด้รับไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนิน

ชวี ติ และการพฒั นาอาชีพ
รวม

จากตารางที่ 4.2 พบว่า โดยภาพรวมผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการมีความพึงพอใจ
ในด้านสิ่งอานวยความสะดวก (x̅ = 4.21, S.D. = 0.07) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ ความเหมาะสม
ของสถานที่ ทใ่ี ชใ้ นการฝึกอบรมของโครงการ อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ (x̅ = 4.75, S.D. = 0.44)

โด ยภ าพ รวม ผู้ เข้ารับ ก ารฝึ กอ บ รม โค รงก ารมี ความ พึ งพ อ ใจใน ด้าน วิท ยาก ร
(x̅ = 4.75, S.D. = 0.25) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ มีความรู้ ความสามารถในการอธิบายเน้ือหา
(x̅ = 4.88, S.D. = 0.33) เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมของโครงการแสดงความคิดเห็น
(x̅ = 4.88, S.D. = 0.33) มีความรู้ ความเข้าใจในการถ่ายทอดความรู้ (x̅ = 4.75, S.D. = 0.44)

อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมของโครงการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
อย่ใู นระดับมาก (x̅ = 4.50, S.D. = 0.50)

โด ย ภ าพ รว ม ผู้ เข้ ารับ ก าร ฝึ ก อ บ รม โค รงก ารมี ค ว าม พึ งพ อ ใจ ใน ด้ าน ก ารน าค ว าม รู้ไป
ประยุกต์ใช้ (x̅ = 4.58, S.D. = 0.22) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ ได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะ
ได้ตามความคาดหวัง (x̅ = 4.88, S.D. = 0.33) นาความรู้ ทักษะที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการดาเนิน
ชีวิตและการพัฒนาอาชีพ (x̅ = 4.88, S.D. = 0.33) อยู่ในระดับมากท่ีสุด รองลงมาเนื้อหา
การฝกึ อบรมของโครงการตรงตอ่ ตามความตอ้ งการ อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.00, S.D. = 0.20)

26

ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะห์แบบทดสอบความรู้
ผู้ประเมินได้ทาการทดสอบความรู้ ความเข้าใจของผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมทั้งก่อนและ

หลงั การฝกึ อบรม โดยใชแ้ บบทดสอบวดั ความร้ชู ุดเดยี วกันจานวน 20 ขอ้ 20 คะแนน ผลดังตารางท่ี 4.3

ตารางที่ 4.3 จานวน คา่ เฉลี่ย คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน ค่าที ของแบบทดสอบความรู้

การทดสอบ n x̅ S.D. t Sig
.00
กอ่ นการอบรม 210 5.42 0.72 142.40 *

หลังการอบรม 210 17.41 0.98

จากตารางที่ 4.3 ผลการวิเคราะห์แบบทดสอบความรู้ พบว่า คะแนนหลังการฝึกอบรม
(x̅ = 17.41, S.D. = 0.98) ซ่ึงสูงกว่าคะแนนก่อนการฝึกอบรม (x̅ = 5.42, S.D. = 0.72)
ผลการเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ t-test พบว่า ค่าคะแนนหลังการฝึกอบรมเฉลี่ย มีค่ามากกว่า
กอ่ นการอบรมเฉลย่ี อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ทรี่ ะดับ .05

แสดงว่า การฝึกอบรมโครงการ ทาให้ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมเกดิ การเรียนรตู้ ามเกณฑ์ที่กาหนด
ในบทท่ี 3 ว่า “ถ้าค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมมากกว่าร้อยละ 15 ถือว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรม
เกดิ การเรยี นรู้ที่ได้ผล”

27

ตอนที่ 3 ผลการวเิ คราะหแ์ บบสารวจพฤตกิ รรม
ผู้ประเมินทาการติดตามการนาความรู้จากการฝึกอบรมไปใช้ในชีวิตประจาวันของผู้เข้ารับ

การฝกึ อบรมภายหลังการอบรมสิ้นสุดเป็นเวลา 15 วัน โดยใช้แบบสารวจพฤตกิ รรม ดงั ตารางที่ 4.4

ตารางที่ 4.4 จานวนและรอ้ ยละของแบบสารวจพฤติกรรม (การนาความรูไ้ ปใช)้

ประเด็นการนาความรจู้ ากการอบรมไปใช้ จานวน ร้อยละ
(คน)
กิจกรรมการแปรรปู สมุนไพร
1. มคี วามตระหนักถึงประโยชนข์ องสมุนไพรในชุมชนมากข้ึน 210 100.00
2. นาวตั ถดุ ิบทมี่ ใี นชุมชนมาแปรรูปเปน็ ยาหมอ่ งสมนุ ไพรได้ 210 100.00
3. ลดคา่ ใช้จ่ายและเพิม่ รายได้ในครวั เรอื น 196 93.33
4. เพ่มิ มลู คา่ ให้กบั สมุนไพรที่มใี นชุมชน 206 98.10
5. สรา้ งรายไดใ้ ห้แก่คนในชมุ ชน 190 90.48
6. เป็นประโยชน์ตอ่ ชุมชนและเป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อม 210 100.00
กิจกรรมกระบวนการผลติ เตาไบโอชาร์
1. มีความตระหนักถงึ ประโยชนข์ องทรพั ยากรทมี่ ีในชุมชนมากขน้ึ 210 100.00
2. นาวัสดทุ ีม่ ีในชุมชนมาแปรรูปเปน็ ถา่ นไบโอชาร์ได้ 210 100.00
3. ลดค่าใช้จ่ายและเพม่ิ รายได้ในครวั เรือน 196 93.33
4. ลดปริมาณขยะ กิ่งไม้ ใบไม้ในชมุ ชน 170 80.95
5. สรา้ งอาชีพให้แกค่ นในชุมชน 184 87.62
6. เป็นประโยชน์ตอ่ ชุมชนและเปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อม 210 100.00

จากตารางที่ 4.4 ผลการวิเคราะห์แบบสารวจพฤติกรรม (การนาความรู้ไปใช้) พบว่า
กิจกรรมการแปรรูปสุมนไพร ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนาความรู้จากการฝึกอบรมไปใช้ มีความตระหนัก
ถึงประโยชน์ของสมุนไพรในชุมชนมากข้ึน นาวัตถุดิบท่ีมีในชุมชนมาแปรรูปเป็นยาหม่องสมุนไพรได้
เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จานวน 210 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00
รองลงมาผู้นาความรู้จากการอบรมไปใช้ เพ่ิมมูลค่าให้กับสมุนไพรท่ีมีในชุมชน จานวน 206 คน
คิดเป็นรอยละ 98.10

พบว่า กิจกรรมกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนาความรู้จากการอบรม
ไปใช้ มีความตระหนักถึงประโยชน์ของทรัพยากรที่มีในชุมชนมากข้ึน นาวัสดุที่มีในชุมชนมาแปรรูป
เป็นถ่านไบโอชาร์ได้ เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม จานวน 210 คน
คิดเป็นร้อยละ 100.00 รองลงมาผู้นาความรู้จากการอบรมไปใช้ ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้
ในครัวเรือน จานวน 196 คน คดิ เป็นรอยละ 93.33

แสดงว่า โครงการวิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
สามารถนาความรูไ้ ปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ และชมุ ชนได้

28

ตอนที่ 4 ผลการวเิ คราะหแ์ บบสัมภาษณ์จากการอบรมท่มี ตี ่อชุมชน
จากการสัมภาษณ์ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการ กิจกรรมกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์

จานวน 3 คน ดงั น้ี
นางกอรีเยาะ สะแปอิง กล่าวว่า มีความรู้ในการผลิตเตาไบโอชาร์ และการนาก่ิงไม้ วัสดุ

ธรรมชาติมาเผาให้เกิดประโยชนใ์ นครวั เรอื น
นางภา จันแส้ง กล่าวว่า ได้รับความรู้ไปพัฒนาคุณภาพดินให้มีความอุดมสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน

และยงั มีประโยชนใ์ นเรอื่ งของเชือ้ เพลิงที่สามารถนามาใชห้ ุงต้มในครัวเรอื นได้
นายวรวุฒิ จินดารัตน์ กล่าวว่า สามารถนาความรู้ในกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์มาใช้ใน

การผลติ เตาได้ และลดรายจา่ ยในครัวเรอื น
สรุปได้ว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการได้รับความรู้เรื่องการผลิตเตาไบโอชาร์และ

การใช้ประโยชน์จากวัสดุในชุมชน สามารถนาถ่านไบโอชาร์ไปใช้ในการบารุงดิน เพ่ือใช้ในการเกษตร
การปลกู ผัก ช่วยลดคา่ ใช้จ่ายในครวั เรอื น และสามารถสร้างอาชพี ได้อกี ดว้ ย

จากการสมั ภาษณ์ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมโครงการ กิจกรรมการแปรรูปสมุนไพร จานวน 3 คน
ดังน้ี

นางพวง คงเมือง กล่าวว่า ทาให้ทราบถึงสรรพคุณและนาไปใช้ของสมุนไพรที่อย่ใู นครัวเรือน
และในชมุ ชน

นายสิทธิพงษ์ คงประเสริฐ กล่าวว่า ทราบถึงการแปรรูปสมุนไพรแต่ละชนิดท่ีมีอยู่ในชุมชน
และนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการบรรเทารกั ษาอาการต่าง ๆ

นายอมิ รอง ยมิ ะตะโล๊ะ กล่าวว่า สามารถนาไปพฒั นาเปน็ อาชพี และเพ่ิมรายได้
สรุปได้ว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการได้รับความรู้เร่ืองชนิดและสรรพคุณของสมุนไพรใน
ชุมชนมากย่ิงข้ึน สามารถนามาแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรได้ เป็นการเพิ่มมูลค่าของสมุนไพรใน
ชุมชน รวมท้งั สามารถสร้างอาชีพ เพม่ิ รายได้ภายในครัวเรอื นและชุมชน

บทท่ี 5
สรุป อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

1. สรุป
การประเมินโครงการวิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ ตามวัตถุประสงค์ของ

การประเมินโครงการ โดยมีกิจกรรม 2 กิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมการแปรรูปสมุนไพร
และกจิ กรรมกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์ จากการประเมินโครงการ ดงั น้ี

1. ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมโครงการมคี วามพงึ พอใจตอ่ การฝึกอบรม
ดา้ นส่งิ อานวยความสะดวกในภาพรวมมคี า่ อย่ใู นระดบั มาก (x̅ = 4.21, S.D. = 0.07)
ดา้ นวทิ ยากรในภาพรวมมคี ่าอย่ใู นระดบั มากท่สี ุด (x̅ = 4.75, S.D. = 0.25)
ด้านการนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ ในภาพรวมมีค่าอยู่ในระดับมากท่ีสุด (x̅ = 4.58,

S.D. = 0.22)
แสดงว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจในโครงการวิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชน

คนชายแดนใต้ ในทุกดา้ นอยใู่ นระดบั มากถงึ มากที่สดุ
2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ได้คะแนนหลังการฝึกอบรม

(x̅ = 17.41, S.D. = 0.98) ซึ่งสูงกว่าคะแนนก่อนการฝึกอบรม (x̅ = 5.42, S.D. = 0.72)
ผลการเปรียบเทียบ โดยใช้ตัวสถิติ t-test พบว่า ค่าคะแนนหลังการฝึกอบรมเฉลี่ยมีค่ามากกว่า
กอ่ นการอบรมเฉลี่ยอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทรี่ ะดับ .05

แสดงว่าการฝึกอบรมโครงการทาให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์ท่ี
กาหนดในบทที่ 3 ว่า “ถ้าค่าเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมมากกว่าร้อยละ 15 ถือว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรม
เกิดการเรยี นที่ไดผ้ ล”

3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการมีการนาความรู้ จากการฝึกอบรมไปใช้ในชีวิตประจาวัน
จากกิจกรรมการแปรรูปสมุนไพร และกิจกรรมกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์ ร้อยละ 80
ของพฤตกิ รรม ถือวา่ พฤตกิ รรมดขี ึ้น

4. ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมถึงผลลัพธ์ทเ่ี กดิ กบั ชมุ ชน นาองค์ความรทู้ ่ีได้รบั และการนาความรู้
ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชน จากกิจกรรมการแปรรูปสมุนไพร และ
กิจกรรมกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์

แสดงว่า โครงการวิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
โครงการมีความรู้ ความเข้าใจกระบวนการผลิต การใช้ประโยชน์เตาไบโอชาร์ และการแปรรูป
สมุนไพร โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นาสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพชีวิตและชุมชน

30

2. อภิปรายผล
โครงการวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ จากการฝึกอบรม โดยใช้กิจกรรม

การแปรรปู สมุนไพรและกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์ ส่งผลให้ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม มีความพึงพอใจ
ตอ่ โครงการ เกดิ การเรียนรูห้ ลงั การฝึกอบรมมากกว่าร้อยละ 15 เป็นการเรียนรู้ท่ีได้ผล และนาความรู้
จากการฝึกอบรมไปใช้ในชีวิตประจาวัน ร้อยละ 80 มีพฤติกรรมจากเรียนรู้ที่ดีขึ้น โดยใช้กระบวน
การทางวทิ ยาศาสตร์ เพื่อนาส่กู ารพัฒนาคุณภาพชีวิตและชมุ ชน

3. ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินโครงการ
1. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลาสมควรนาโครงการนี้ไปดาเนินการ ต่อ

ในปีงบประมาณถดั ไป
2. ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมควรขยายผลใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั กระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์และการ

แปรรูปสมุนไพรแกค่ นในชุมชนชายแดนใต้

4. ขอ้ เสนอแนะการประเมินโครงการครง้ั ต่อไป
1. ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษายะลาควรนารูปแบบการประเมนิ ไปประเมินโครงการท่ีมี

ความสาคัญทเ่ี กย่ี วข้องต่อกลุ่มเปา้ หมาย
2. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษายะลา เนน้ ในการประเมนิ ผลลัพธ์ที่เกดิ ต่อชมุ ชนให้มาก

ยง่ิ ข้ึน

บรรณานุกรม

กชกร เป้าสุวรรณ, ธนนภัทร ปัจฉิม และสุจิตรา ฉายปัญญา. (2550). ความคาดหวังและความพึง
พอใจต่อการมาศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต ศูนย์สุโขทัย. กรุงเทพฯ :
สถาบนั วจิ ัยและพฒั นามหาวทิ ยาลัยราชภฎั สวนดสุ ติ (สาเนา).

กุณฑรี เพ็ชรทวีพรเดช. (2550). สุดยอดวิธีสอนวิทยาศาสตร์นาไปสู่...การจัดการเรียนรู้
ของครยู คุ ใหม่. กรุงเทพฯ: อกั ษรเจริญทัศน์.

กระทรวงศึกษาธิการ (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว.

นิรมล จันทรชาติ และอุษา อ้นทอง. (2559) นวัตกรรมพลังงานสะอาด สู่ความยั่งยืนของชุมชน :
พลังงานชีวมวล ชีวภาพ และการดึงน้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ (ออนไลน์).
http://www.thai-explore.net, 7 สงิ หาคม 2562.

ราชบัณฑิตสถาน. (2540). ความพึงพอใจ พจนานุกรมฉบับบราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542.
กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพ์ ลับลิเคชัน่ .

ราชบัณฑติ สถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบบั บราชบณั ฑิตสถาน พ.ศ.2542. กรงุ เทพฯ :
นานมบี ุคส์พลบั ลเิ คชนั่ .

ประเทืองทิพย์ สุกูมลจันทร์. (2545). การพัฒนาบทปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ เรื่อง การแปรรูปและ
ทดสอบสารอาหารในพืชสมุนไพรสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย. ปริญญา
นิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร
วิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

พวงรัตน์ ทวีรตั น์. (2540). วธิ กี ารวิจัยทางพฤตกิ รรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร.์ กรงุ เทพมหานคร :
สานกั ทดสอบทางการศึกษาจิตวิทยา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมติ ร.

ภพ เลาหไพบูลย์. (2540). แนวการสอนวิทยาศาสตร์. พมิ พค์ รั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
ลวน สายยศ และองั คณา สายยศ. (2540). สถิติวทิ ยาการวิจยั (พิมพค์ ร้ังที่ 3). กรงุ เทพฯ:สวุ ริ ยิ าสาสน.์
วนั ทนี สว่างอารมณ์. (2542). เอกสารคาสอน รายวิชาพืชเคร่ืองเทศและสมุนไพร. สารานุกรมไทย

สาหรบั เยาวชน. 2548. พื้นสมุนไพรพื้นบ้าน (ออนไลน์). http://kanchanapisek.or.th,
6 สงิ หาคม 2562.
ศนั สนีย์ อุตมอา่ ง. (2554). การประเมินโครงการ การฝึกอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการผลิตทองม้วนเพ่ือ
ก ร ะ ตุ้ น เศ ร ษ ฐ กิ จ ชุ ม ช น ต า ม แ น ว เศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย ง (อ อ น ไล น์ ).
https://research.pcru.ac.th/service/pro_data, 6 สงิ หาคม 2562.
ศิรชิ ัย พงษว์ ิชัย. (2550). การวิเคราะหข์ ้อมูลทางสถติ .ิ กรุงเทพฯ : สานักพิมพจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

32

บรรณานุกรม (ต่อ)

สาโรช ไสยสมบัติ. (2534). ความพึงพอใจในการทางานของครู อาจารย์ โรงเรียนมัธยมศึกษา
กรมสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
การศกึ ษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรว์ ิโรฒ มหาสารคาม.

สุนันท์ บุราณรมยแ์ ละคณะ. (2542). วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชวี ติ . กรงุ เทพฯ : เธรด์ เวฟ
เอ็ดดเู คชนั .

สุวฒั น์ บญุ ทะจติ ร์. (2553). วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื ชีวติ (ออนไลน์).https://sites.google.com/site
/dodeese/, 6 สิงหาคม 2562.

สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ.์ (2551). กลยุทธ์การสร้างเสรมิ สขุ ภาพวัยรนุ่ . กรงุ เทพฯ : ชยั เจรญิ .
อรสา สกุ สวาง. (2552). เทคโนโลยีถา่ นชวี ภาพ : วธิ ีแกป้ ัญหาโลกร้อน ดิน และความยากจนใน

ภาคเกษตรกรรม.
อ่อนศรี เมฆขยาย. (2560). การแปรรูปสมนุ ไพร (ออนไลน์). http://cddata.cdd.go.th/cddkm

/prov/index.php?div=72, 6 สงิ หาคม 2562.
อักษร สวัสด. (2542). ความรูความเขาใจและความตระหนกในการอนุรักษส่งิ แวดลอมของ

นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย : กรณศี ึกษาในเขตบางกะป กรุงเทพฯ. ภาคนิพนธ
ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพฒั นาสังคม คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑติ
พัฒนบรหิ ารศาสตร.
อุทัยพรรณ สดุ ใจ. (2545). ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ริการท่มี ีต่อการให้บรกิ ารขององค์การโทรศพั ท์
แหง่ ประเทศไทย จังหวัดชลบรุ ี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาสังคมวิทยา
ประยกุ ต์ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (สาเนา).

33

ภาคผนวก

34

แบบสอบถามความพงึ พอใจของผู้รับการอบรม
โครงการวทิ ยาศาสตร์เพอ่ื ชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้

คาชี้แจง

แบบสอบถามฉบับนเ้ี ป็นแบบประเมินที่ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษายะลา ใช้ในการเก็บขอ้ มลู ความพึงพอใจและ
ความคิดเห็นของผู้รับการอบรมโครงการวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตและชุมชนคนชายแดนใต้ เพื่อนาผลท่ีได้ไปใช้ในการพัฒนา
การดาเนินงานตอ่ ไป

แบบสอบถามฉบบั นปี้ ระกอบด้วย 3 สว่ น ดังน้ีคือ

สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
สว่ นที่ 2 ระดบั ความพงึ พอใจของผู้รบั เข้ารับการฝกึ อบรม
สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะ

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผตู้ อบแบบประเมิน

1. เพศ Ο ชาย Ο หญิง

2. อายุ Ο ต่ากวา่ 20 ปี Ο 21 - 30 ปี Ο 31 - 40 ปี Ο 41 - 50 ปี Ο 51 ข้นึ ไป
Ο รบั จ้าง Ο อน่ื ๆ (โปรดระบุ).......
3. กลมุ่ เปา้ หมาย Ο นกั ศึกษา กศน. Ο ประชาชนท่ัวไป Ο ผนู้ าทอ้ งถ่ิน
Ο ค้าขาย
4. อาชพี Ο รบั ราชการ Ο เกษตรกรรม

สว่ นท่ี 2 ระดับความพงึ พอใจของผรู้ บั การฝกึ อบรมตอ่ การเข้าร่วมโครงการ
คาช้ีแจง โปรดทาเครอ่ื งหมาย (✔) ลงในช่องทตี่ รงกบั ระดับความพึงพอใจของทา่ นเพยี งระดับเดียว

ระดับ 5 = มากทีส่ ดุ 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = นอ้ ยทส่ี ดุ

รายการประเมนิ ระดับความพงึ พอใจ 1
5432
1. ด้านสง่ิ อานวยความสะดวก

1.1 ความเหมาะสมของสถานที่ ท่ใี ชใ้ นการฝึกอบรมของโครงการ
1.2 มีความเหมาะสมของสือ่ และอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการฝกึ อบรมของโครงการ
1.3 มคี วามเหมาะสมของระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการฝกึ อบรมของโครงการ
1.4 การประชาสัมพนั ธใ์ นการจัดฝกึ อบรมของโครงการ
1.5 ความเหมาะสมการให้บรกิ ารอาหารและเครอ่ื งดม่ื
1.6 เอกสารท่ีใช้ในการฝึกอบรมของโครงการ
2. ดา้ นวิทยากร
2.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจในการถ่ายทอดความรู้
2.2 มคี วามรู้ ความสามารถในการอธิบายเนื้อหา
2.3 เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมของโครงการแสดงความคิดเห็น
2.4 เปิดโอกาสใหผ้ ู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมของโครงการมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม
2.5 ตอบขอ้ ซกั ถามตรงประเดน็ เข้าใจงา่ ย และชัดเจน

35

ส่วนท่ี 2 ระดบั ความพึงพอใจของผู้รับการฝกึ อบรมตอ่ การเขา้ ร่วมโครงการ (ต่อ)

คาช้ีแจง โปรดทาเครอ่ื งหมาย (✔) ลงในชอ่ งท่ีตรงกบั ระดับความพึงพอใจของท่านเพียงระดับเดยี ว
ระดับ 5 = มากทีส่ ดุ 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = นอ้ ยทสี่ ุด

รายการประเมิน ระดบั ความพึงพอใจ 1
5432
3. ด้านการนาความร้ไู ปประยุกตใ์ ช้
3.1 เน้อื หาการฝกึ อบรมของโครงการตรงตอ่ ตามความตอ้ งการ
3.2 ไดร้ บั ความร้แู ละสามารถฝกึ ทักษะได้ตามความคาดหวัง
3.3 นาความรู้ ทกั ษะท่ีไดร้ บั ไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ และการพฒั นาอาชพี

สว่ นที่ 3 ข้อเสนอแนะ
……………….....................................................................................................................................................................................

…………….....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................

ขอขอบคณุ ท่ใี หค้ วามร่วมมือในการตอบแบบประเมินความพงึ ใจ
ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลา

36

ขอ้ สอบความรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั การแปรรปู ยาหมอ่ งสมุนไพร
และกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์

คาชแ้ี จง จงทาเครอื่ งหมาย X ลงบนตวั อักษรหน้าคาตอบทีถ่ กู ท่สี ุดเพียงข้อเดียว

1. สรรพคุณสมุนไพรชนิดใดที่ช่วยระงับอาการ 5. ข้อใดท่ีไม่ใช่การสกดั สาร
อกั เสบ ปวด บวมแดง ก. การดอง
ก. ฟ้าทะลายโจร ข. การกล่นั
ข. เสลดพงั พอนตัวเมีย (พญายอ) ค. การตม้
ค. ขมน้ิ อ้อย ง. การเค่ียว
ง. ดปี ลี
6. สว่ นประกอบของพมิ เสนน้ามสี ารละลายอะไรบ้าง
2. สรรพคุณสมนุ ไพรชนิดใดท่ีชว่ ยขับเหงือ่ ก. พิมเสน การบูร เมนทอล
แกป้ วดท้อง ขับลมในกระเพาะอาหาร ข. พิมเสน น้ามันหอมระเหย พาราฟนิ
ก. สะระแหน่ ค. พมิ เสน การบูร พาราฟิน
ข. เถาวัลย์เปรียง ง. พิมเสน วาสลีน เมนทอล
ค. เถาเอ็นออ่ น
ง. สาบเสอื 7. ภาชนะท่ใี ชใ้ นการทาพมิ เสนนา้ คอื ภาชนะใด
ก. ถว้ ยอลมู ิเนียม
3. การสกดั สารจากสมุนไพรโดยการเคี่ยวนา้ มัน ข. ถ้วยพลาสติก
จะใชอ้ ตั ราส่วนระหว่างสมุนไพร และนา้ มัน ค. ถว้ ยแกว้
เทา่ ไร ง. ถ้วยโฟม
ก. 1 : 1
ข. 1 : 2 8. การขึ้นรปู ยาหม่องสมุนไพรจะต้องมีสว่ นผสมหลกั
ค. 2 : 3 อะไรบ้าง
ง. 1 : 4 ก. นา้ มันสมุนไพร พาราฟนิ น้ามันหอมระเหย
วาสลนี
4. การสกัดสารยาหม่องสมนุ ไพรมีท้งั หมดกีว่ ธิ ี ข. นา้ มันสมนุ ไพร วาสลีน พาราฟิน เบคกง้ิ โซดา
ก. 2 วิธี ค. นา้ มันสมนุ ไพร พิมเสนน้า พาราฟิน
ข. 3 วธิ ี กรดแอสคลอบิก
ค. 4 วธิ ี ง. นา้ มันสมุนไพร วาสลีน พาราฟนิ พมิ เสนนา้
ง. 5 วิธี

37

9. อัตราสว่ นในการขน้ึ รปู ยาหม่องสมนุ ไพร 13. ข้อใดกล่าวถึงหลกั การทางานของเตาไบโอชาร์
ระหวา่ งพาราฟิน และวาสลนี คอื ข้อใด ไดถ้ ูกต้อง
ก. 4 : 2.5 ก. จะอาศยั กระบวนการแยกสลายมวลชีวภาพ
ข. 3 : 2.5 ดว้ ยความรอ้ นโดยไม่ใชอ้ อกซิเจนหรอื จากดั
ค. 2 : 2.5 ออกซิเจน
ง. 1 : 2.5 ข. เพ่ือเปล่ยี นมวลชวี ภาพซ่ึงมีองคป์ ระกอบ
หลักไฮโดรคาร์บอนให้กลายเปน็ แก๊สทสี่ ามารถ
10. การเก็บรกั ษายาหม่องสมุนไพรควรเกบ็ ให้พลงั งานความรอ้ นไปใชใ้ นการหงุ ต้มได้
ลักษณะใด เพอ่ื ให้มีอายุการใช้งานไดน้ าน ค. เหลือเป็นถ่านชวี ภาพหรือไบโอชาร์ ใช้ใน
ก. เก็บไวใ้ นตเู้ ยน็ การปรบั ปรงุ ดนิ
ข. เก็บใหพ้ ้นแสงแดด ง. ถูกทุกขอ้
ค. เก็บไวใ้ นอุณหภูมิหอ้ ง
ง. ไม่มขี ้อใดถูก 14. เพราะเหตุใดจึงต้องรองก้นเตาให้สงู จากพ้นื
ประมาณ 10 เซนติเมตร
11. ข้อใดคือความหมายของไบโอชาร์ ได้ถกู ต้อง ก. เพอ่ื ให้อากาศเข้าในท่อกลาง
ก. วัสดทุ ี่อดุ มดว้ ยออกซิเจน ผลติ จากการให้ ข. เพอื่ ให้อากาศออกจากทอ่ กลาง
ความรอ้ นมวลชวี ภาพ โดยใช้ออกซิเจนหรอื ค. เพ่ือให้ความร้อนเขา้ ในทอ่ กลาง
ใชน้ ้อยมาก ง. เพอ่ื ให้ความรอ้ นออกจากท่อกลาง
ข. วสั ดุท่อี ดุ มด้วยออกซิเจน ผลิตจากการให้
ความร้อนมวลชีวภาพ โดยไม่ใช้ออกซิเจน 15. เพราะเหตุใดจึงต้องเจาะรทู ี่ทอ่ บรรจุเชอื้ เพลิง ก.
หรอื ใช้นอ้ ยมาก เพอื่ ดูดแก๊สจากท่อกลางออกไปดา้ นข้างทาให้
ค. วสั ดทุ อี่ ุดมดว้ ยคารบ์ อน ผลติ จากการให้ เกดิ การเผาไหมใ้ นถงั ดา้ นข้าง
ความร้อนมวลชีวภาพ โดยไม่ใช้ออกซเิ จน ข. เพ่อื ดดู ความชื้นจากถังด้านข้างแล้วทาให้ถัง
หรอื ใชน้ ้อยมาก ดา้ นข้างเกดิ การเผาไหม้
ง. วสั ดทุ ่ีอุดมด้วยคารบ์ อน ผลติ จากการให้ ค. เพอ่ื ใหด้ ้านขา้ งคายแกส๊ ส่ทู ่อท่ีบรรจเุ ชอ้ื เพลิง
ความรอ้ นมวลชวี ภาพ โดยใช้ออกซเิ จนหรือ มาเปน็ แกส็ เผาไหม้
ใชน้ อ้ ยมาก ง. เพอื่ คายความชืน้ จากถังดา้ นขา้ งทาให้ถัง
ด้านขา้ งเกดิ การเผาไหม้
12. ไบโอชาร์ (Biochar) ได้รับการเรียกขานวา่
เปน็ เสมือนอะไร 16. ความรอ้ นที่ได้จากเตาไบโอชารจ์ ะมีอณุ หภูมิเท่าใด
ก. ทองคาสดี าของการทาเกษตรกรรม ก. 150 องศาเซลเซยี ส
ข. บ่อทองของการทาเกษตรกรรม ข. 250 องศาเซลเซยี ส
ค. ทองคาสีดาจากธรรมชาติ ค. 350 องศาเซลเซยี ส
ง. ทองคาแท่งสดี าของการทาเกษตรกรรม ง. 450 องศาเซลเซียส

38

17. วัสดุทเ่ี หมาะสมในการทาเตาไบโอชาร์คือข้อใด 19. ข้อใดคือองค์ประกอบของการเกดิ ไฟ
ก. ถังพลาสตกิ ก. เชอ้ื เพลงิ + ความร้อน + ความชน้ื
ข. ถงั เหลก็ ข. เชื้อเพลิง + ออกซเิ จน + คารบ์ อนไดออกไซด์
ค. ถังไม้โอ๊ค ค. เช้ือเพลงิ + คารบ์ อนไดออกไซด์ + ความร้อน
ง. ถังเซรามิค ง. เช้อื เพลงิ + ความร้อน + ออกซิเจน

18. เพราะเหตุใดจงึ ต้องปดิ ช่องดา้ นข้างของถัง 20. ขอ้ ใดคือประโยชน์ของไบโอชาร์
ใหส้ นิท ก. เปน็ เตาพลังงานชีวมวลผลติ แกส๊ หงุ ต้ม
ก. เพอื่ ไมใ่ ห้ถ่านดา้ นข้างจบั ตัวกันเป็นกอ้ นแขง็ ข. เคลื่อนยา้ ยสะดวก
ข. เพื่อป้องกนั ถา่ นดา้ นข้างกลายเป็นขี้เถ้า ค. ไบโอชาร์เพิ่มความสมบูรณใ์ หด้ ิน
ค. เพ่ือป้องกนั ถ่านดา้ นข้างกลายเป็นผง ง. ถกู ทกุ ข้อ
ง. เพื่อไม่ใหถ้ ่านด้านขา้ งแตกตัวจนระเบิด

เฉลย

1. ข. 2. ก. 3. ก. 4. ค. 5. ข. 6. ก. 7. ค. 8. ง. 9. ง. 10. ข.
11. ค. 12. ก. 13. ง. 14. ก. 15. ค. 16. ค. 17. ข. 18. ข. 19. ง. 20. ง.

39

แบบสารวจพฤติกรรม
การนาความรู้จากโครงการวทิ ยาศาสตร์เพ่อื ชีวิตและชมุ ชนคนชายแดนใต้

คาชแ้ี จง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งวา่ งที่ตรงกับการปฏิบัติของท่าน ใช่ ไม่ใช่

ประเดน็ การนาความรู้ไปใช้
กจิ กรรมการแปรรปู สมุนไพร
1. มคี วามตระหนักถงึ ประโยชนข์ องสมนุ ไพรในชุมชนมากข้ึน
2. นาวัตถุดิบทีม่ ใี นชุมชนมาแปรรูปเปน็ ยาหมอ่ งสมนุ ไพรได้
3. ลดค่าใชจ้ า่ ยและเพ่มิ รายไดใ้ นครัวเรือน
4. เพ่มิ มูลคา่ ให้กบั สมนุ ไพรท่ีมีในชมุ ชน
5. สรา้ งอาชีพให้แกค่ นในชุมชน
6. เป็นประโยชนต์ ่อชมุ ชนและเป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม
กจิ กรรมกระบวนการผลติ เตาไบโอชาร์
1. มคี วามตระหนักถงึ ประโยชน์ของทรพั ยากรท่มี ีในชมุ ชนมากข้นึ
2. นาวสั ดทุ ม่ี ใี นชุมชนมาแปรรปู เป็นถ่านไบโอชารไ์ ด้
3. ลดคา่ ใชจ้ า่ ยและเพมิ่ รายไดใ้ นครัวเรือน
4. ลดปรมิ าณขยะ ก่ิงไม้ ใบไมใ้ นชมุ ชน
5. สร้างอาชพี ใหแ้ กค่ นในชุมชน
6. เป็นประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนและเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม

40

แบบสมั ภาษณ์โครงการวทิ ยาศาสตร์เพือ่ ชวี ิตและชุมชนคนชายแดนใต้
ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา

1. ความรู้ท่ไี ด้รับจากการฝึกอบรมโครงการ
กิจกรรมการแปรรปู สมุนไพร

………………………………………………………………………………………………………………………………………….
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

กจิ กรรมกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์
………………………………………………………………………………………………………………………………………….
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

41

2. การนาความรทู้ ไ่ี ดร้ ับไปประยกุ ต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและชมุ ชน
กจิ กรรมการแปรรปู สมุนไพร

………………………………………………………………………………………………………………………………………….
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

กิจกรรมกระบวนการผลิตเตาไบโอชาร์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version