The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ข้อที่ 5

ข้อที่ 5

 แนวทางแกไ้ ขนกั เรยี นที่ไม่ผ่านการประเมนิ /ไม่สนใจเรียน ..........................................................
 ไมม่ ขี ้อเสนอแนะ

ลงชอื่ ........................................... ผบู้ นั ทึก
(นางสาวฮาซานะ๊ ยะมาย )
ครูผ้สู อน

______________________________________________________________________________

บนั ทกึ ขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหารหรือผูไ้ ดร้ บั มอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ ..................................................
(นายพเิ ชษฐ์ สกณุ า)

รองผูอ้ านวยการฝ่ายบรหิ ารงานวิชาการ

แผนบรู ณาการจัดการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

วชิ า สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๕ สขุ ภาพดีตามหลักสุขบญั ญตั ิ เวลา ๔ ช่วั โมง

โรงเรียนหวั ไทร(เรือนประชาบาล) ครูผสู้ อน นายเจษฎางค์ ประทมุ สินธ์ุ

๑ เปา้ หมายการเรียนรู้
อธิบายแหล่งข้อมลู ขา่ วสารทางสุขภาพ

๒ สาระสาคัญ
ในปัจจุบันมีข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพมากมายในหลายช่องทาง ท้ังทางอินเทอร์เน็ต โทรศัพท์

สายด่วน หรือตามสถานที่ให้บริการสาธารณสุขต่างๆ ควรหาข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้อยู่เสมอ
และนาความรู้มาใชใ้ นการเสริมสร้างสุขภาพ

๓ มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกัน
โรค และการเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพเพอ่ื สขุ ภาพ
ตวั ชี้วัด: สิง่ ท่ีผเู้ รยี นพึงรแู้ ละปฏบิ ัตไิ ด้
๒. ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพอ่ื ใช้สร้างเสรมิ สุขภาพ

๔ สาระการเรียนรู้
๑. แหล่งขอ้ มลู ขา่ วสารทางสขุ ภาพ

๕ จุดประสงค์การเรียนรู้

K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude)

ความรู้ ความเขา้ ใจ การฝกึ ปฏบิ ตั ิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

๑.อธิบายแหล่งข้อมูลข่าวสาร ๑. ตระหนักในแหล่งข้อมูล ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ทางสุขภาพ ขา่ วสารทางสขุ ภาพ ๒. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต

๓. มวี นิ ัย

๔. ใฝเ่ รียนรู้

๕. อยอู่ ย่างพอเพียง

๖. มงุ่ มน่ั ในการทางาน

๗. รกั ความเป็นไทย

๘. มีจติ สาธารณะ

๖ การวัดและประเมนิ ผล
๑. เคร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผล
๑) แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลงั เรยี น
๒) แบบฝึกหดั
๓) ใบงาน
๔) แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๕) แบบสังเกตสมรรถนะของผเู้ รียน
๖) แบบสังเกตคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
๗) แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามคา่ นิยมหลกั ๑๒ ประการ
๒. วิธีวดั ผล
๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรยี น
๒) ตรวจแบบฝึกหดั
๓) ตรวจใบงาน
๔) สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๕) สงั เกตสมรรถนะของผู้เรยี น
๖) สงั เกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๗) สงั เกตคุณลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามค่านยิ มหลัก ๑๒ ประการ
๓. เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล
๑) สาหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบ

กับคะแนนท่ไี ดจ้ ากการทดสอบหลงั เรยี น
๒) การประเมินผลจากแบบฝกึ หัด ตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ

การนาไปใช้ทักษะ และจติ พิสยั ทุกชอ่ งเกินร้อยละ ๕๐
๔) ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร สั ง เ ก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ร า ย บุ ค ค ล เ ก ณ ฑ์ ผ่ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต้ อ ง ไ ม่ มี

ช่องปรับปรุง
๕) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตามสภาพจริง
๖) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน คะแนนข้ึนอยู่กับการประเมินตาม

สภาพจริง
๗) การประเมิ นผลการสั งเกตคุ ณลั กษณะอั นพึ งประสงค์ ตามค่ านิ ยมหลั ก ๑๒ ประการ

เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ ตอ้ งไมม่ ชี อ่ ง ควรแกไ้ ข

๗ หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น แบบฝึกหดั /การตอบคาถาม
๒. ผลการทาใบงาน

๘ กจิ กรรมการเรยี นรู้

ชั่วโมงที่ ๑-๒

ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น
๑. ครูให้นักเรียนชว่ ยกนั ยกตวั อย่างแหล่งข้อมลู ข่าวสารทางสขุ ภาพ
๒. ครพู ิมแหล่งข้อมูลไว้บน Power point
๓. ครพู ดู ถึงความสาคญั ของแหลง่ ขอ้ มูลขา่ วสาร
ข้นั สอน
๔. ครอู ธบิ ายเรื่องแหล่งขอ้ มูลข่าวสารทางสขุ ภาพ
๕. ครเู ปิดสือ่ การสอนตา่ งๆไว้บน Power point
๑) เวปไซต์ของกระทรวงสาธารณสขุ ๒) เวปไซต์ของกรมการแพทย์
๓) เวปไซต์ของกรมอนามัย ๔) เวปไซต์ของกรมวทิ ยาศาสตร์ทางการแพทย์
๕) เวปไซต์ของกรมควบคมุ โรค ๖) เวปไซต์ ของส านั กงานคณะกรรมการอาหารและยา
๗) เวปไซตข์ องกรมสุขภาพจติ ๘) เวปไซต์ขององค์การเภสัชกรรม
๙) เวปไซตข์ องกรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
๑๐) เวปไซต์ของสถาบันการแพทยฉ์ กุ เฉนิ แห่งชาติ (ศูนย์นเรนทร)
๑๑) เวปไซตข์ องสานักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค
๑๒) เวปไซต์สารสนเทศสขุ ภาพไทย
๖. ครสู นทนากับนกั เรียนว่าแต่ละศูนย์มีความแตกต่างกนั อยา่ งไร
ขน้ั สรุปและประยกุ ต์
๗. นักเรียนและครสู รปุ ความสาคัญของเวปไซต์ดา้ นสขุ ภาพ

ช่วั โมงท่ี ๓-๔

ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรียน
๘. ครูใหน้ กั เรียนช่วยกนั บอกประสบการณ์การคน้ หาสรรพคุณของพืชสมุนไพรท่ีเกีย่ วกบั สุขภาพอนามัย

และครเู ขียนไว้บน Power point
ขน้ั สอน
๙. ครูสนทนากบั นักเรียนเรื่องสายด่วนเกยี่ วกับสุขภาพอนามัย จากน้นั ครูยกสถานการแ์ ลว้ ให้นกั เรียนลองตอบ
ว่าจะโทรเข้าหมายเลขใด
๑๐. ครูอธิบายเรื่องหนังสือที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ และให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างเพ่ิมเติม หรือไปสืบค้น
เพิ่มเตมิ ในอนิ เตอร์เน็ต
๑๑. ครถู ามนักเรียนวา่ ใครเคยชมหรอื ฟังขอ้ มูลดา้ นสขุ ภาพในวิทยหุ รอื โทรทัศน์บา้ ง
๑๒. ครูอธิบายเรอื่ งสอ่ื สขุ ภาพทางวทิ ยุและโทรทัศน์

ข้ันสรปุ และประยุกต์
๑๓. ครกู บั นักเรยี นรว่ มกันสรปุ แหลง่ ข้อมูลทางสขุ ภาพ
๑๔. นั ก เ รี ย น ท า แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น ท า ใ บ ง า น แ ล ะ แ บ บ ฝึ ก หั ด ท้ า ย ห น่ ว ย ก า ร เ รี ยน รู้ ที่ ๕
ในหนงั สือเสริม ฝึกประสบการณ์ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕

๙ สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ ของบริษัท สานักพิมพ์เอม
พันธ์ จากดั
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ของบริษัท สานักพิมพ์เอม
พันธ์ จากัด
๓. แผน่ ใส และรูปภาพประกอบ
๔. อนิ เตอร์เน็ต

๑๐ การบรู ณาการ
๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการฟัง ทักษะการอ่าน ทักษะ

การเขยี น และทักษะการพูด และ กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๒. การบรู ณาการ มีดงั น้ี

ข้อมูลหลาย การบูรณาการ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ทางสร้าง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา
สขุ ภาพดี

แบบทดสอบก่อนเรยี น/หลงั เรยี นหนว่ ยที่ ๕

คาชแี้ จง : จงเขยี นเคร่ืองหมาย  หนา้ ข้อทถี่ ูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. ฉลากยาประกอบดว้ ยอะไรบ้าง

ก. ชื่อยา สรรพคุณ

ข. วธิ ใี ช้ ข้อควรระวัง

ค. วนั เดอื นปที ผ่ี ลติ และวันเดือนปหี มดอายุ

ง. ถูกทุกข้อ

๒. ถา้ ลืมกินยาก่อนอาหารแลว้ นึกขึน้ ไดค้ วรปฏบิ ตั ิอยา่ งไร

ก. รอประมาณ ๒ ชวั่ โมง แล้วกนิ ยาตามปกติ

ข. กินยาครั้งต่อไปเพิ่มเป็น ๒ เท่า

ค. กินยาชนิดนนั้ ทันทที นี่ ึกข้ึนได้

ง. หยุดกินยาแลว้ เร่มิ กินใหมว่ นั รุง่ ขึ้น

๓. การปอ้ งกันการใชย้ าผิดควรปฏบิ ัตอิ ย่างไร

ก. ใช้ยาตามคาโฆษณา ข. อา่ นฉลากยาทกุ ครง้ั ก่อนใช้

ค. ใช้ยาตามวธิ ีท่พี ่อแมบ่ อก ง. ใช้แต่ยาทเี่ คยใช้เทา่ นน้ั

๔. อาการแพย้ าสามารถสงั เกตได้อย่างไร

ก. เวยี นศีรษะ คลื่นไส้ อาเจยี น ข. ผื่นข้นึ ตามรา่ งกาย

ค. หายใจไม่ออก ง. ถกู ทุกข้อ

๕. การด้ือยาเกิดมาจากสาเหตใุ ด

ก. ไดร้ บั ยาปริมาณนอ้ ยเกนิ ไป

ข. ได้รบั ยาท่ีไมถ่ ูกกบั โรค

ค. ได้รบั ยาที่ไม่ถูกเวลา

ง. ได้รบั ยาไม่ครบตามท่แี พทย์กาหนด

๖. การใช้ยาเกนิ ขนาดจะมผี ลตอ่ รา่ งกายอย่างไร

ก. ไมเ่ กิดความผดิ ปกติกับร่างกาย ข. รา่ งกายแขง็ แรงกว่าปกติ

ค. ทาใหเ้ กดิ แผลในกระเพาะอาหาร ง. ไมม่ ีขอ้ ใดถกู

๗. การจดั วางยาในตยู้ าควรจัดลกั ษณะใด

ก. วางรวมกันไว้ท้งั หมด ข. รวมยาประเภทยาน้าและยาเม็ด

ค. แยกประเภทยากินและยาทา ง. รวมประเภทยาใชภ้ ายในและภายนอก

๘. สงิ่ ใดทไ่ี มค่ วรเก็บไวใ้ นต้ยู าโดยเด็ดขาด

ก. ยากิน ข. ยาทา

ค. ยาอนั ตราย ง. ยาฆา่ แมลง

๙. การใช้พืชสมนุ ไพรเพอ่ื รักษาโรคในข้อใดปลอดภยั ท่สี ดุ

ก. อมรใช้สมุนไพรตามคาสัง่ แพทย์ ข. ขจรใช้สมนุ ไพรตามคาแนะนาบนฉลากยา

ค. ภมรซอื้ สมุนไพรมากนิ เองเม่ือเจบ็ ป่วย ง. สมรใช้สมนุ ไพรตามคาโฆษณา

๑๐. ข้อใดเป็นการจัดเกบ็ ยาไดถ้ กู วิธี

ก. เกบ็ ยาให้พน้ จากมือเด็ก ข. เก็บยาให้พน้ จากแสงแดด

ค. แยกประเภทของยาแต่ละชนิด ง. ถกู ทุกข้อ

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรยี น
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
กค ง ขก ขขคขก

โรงเรียนหัวไทร(เรอื นประชาบาล)
อาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรธี รรมราช
สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 3
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ


Click to View FlipBook Version