The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือบริหารงประมาณโรงเรียนบ้านเม็กดำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by md school, 2022-09-16 02:03:51

คู่มือบริหารงประมาณโรงเรียนบ้านเม็กดำ

คู่มือบริหารงประมาณโรงเรียนบ้านเม็กดำ

2

ค่มู ือการปฏิบตั ิงาน กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ โรงเรยี นบ้านเม็กดา
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
**************************************************************

การบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนนิติบุคคล มีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื ให้โรงเรยี นจัดการศกึ ษาอย่างเป็น
อสิ ระ คลอ่ งตัว สามารถบริหารการจดั การศกึ ษาได้สะดวด รวดเร็ว มีประสทิ ธภิ าพและมคี วามรบั ผดิ ชอบ

โรงเรียนนิตบิ ุคคล นอกจากมีอานาจหน้าทต่ี ามวัตถุประสงคข์ ้างตน้ แล้ว ยงั มีอานาจหนา้ ท่ีตามที่กฏระเบยี บ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบัติหน้าท่ีของโรงเรียนข้ันพ้ืนฐานท่ีเป็นนิติบุคคล
สังกัดเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา พ.ศ 2546 ลงวันท่ี 7 กรกฏาคม พ.ศ. 2546

กฎหมายการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ จึงกาหนดให้
โรงเรียนนิตบิ ุคคลมอี านาจหน้าที่ ดงั น้ี

1. ใหผ้ ้อู านวยการโรงเรียนเปน็ ผแู้ ทนนิติบุคคลในกจิ การท่ัวไปของโรงเรียนทเี่ กยี่ วกับบคุ คลภายนอก
2. ใหโ้ รงเรียนมีอานาจปกครอง ดแู ล บารุง รกั ษา ใชแ้ ละจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สนิ ทมี่ ผี บู้ ริจาคให้

เว้นแต่การจาหน้ายอสังหาริมทรัพย์ท่มี ีผู้บริจาคให้โรงเรียน ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานของโรงเรยี น
3. ให้โรงเรียนจดทะเบียนลิขสิทธิห์ รือดาเนินการทางทะเบียนทรัพย์สินต่างๆ ท่ีมีผู้อุทิศให้หรือโครงการซื้อ
แลกเปล่ยี นจากรายได้ของสถานศกึ ษาให้เปน็ กรรมสทิ ธิข์ องสถานศึกษา
4. กรณโี รงเรยี นดาเนินคณดีเป็นผู้ฟ้องร้องหรือถูกฟอ้ งรอ้ ง ผบู้ รหิ ารจะต้องดาเนินคดีแทนสถานศกึ ษาหรือ
ถกู ฟ้องร่วมกับสถานศกึ ษา ถ้าถูกฟ้องโดยมไิ ดด้อยู่ในการปฏิบัติราชการ ในกรอบอานาจ ผบู้ รหิ ารต้อง
รบั ผิดชอบเปน็ การเฉพาะตัว
5. โรงเรียนจัดทางบดุลประจาปแี ละรายงานสาธารณะทกุ สนิ้ ปงี บประมาณ

งบประมาณท่ีสถานศกึ ษานามาใช้จ่าย

1. แนวคดิ
การบริหารงานงบประมาณของสถานศึกษามุ่งเน้นความเป็นอิสระ ในการบริหารจัดการมีความคล่องตัว
โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ยึดหลักการบริหารมุ่งเน้นผลสมั ฤทธิ์และบรหิ ารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ใหม้ ีการจดั หา
ผลประโยชน์จากทรัพย์สิทของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการมาใช้บริหารจัดการเพ่ือประโยชน์ทาง
การศกึ ษา ส่งผลให้เกดิ คุณภาพท่ีดขี ึน้ ตอ่ ผู้เรยี น
2. วัตถุประสงค์
เพ่ือให้สถานศกึ ษาบริหารงานด้านงบประมาณมีความเปน็ อิสระ คลอ่ งตวั โปรง่ ใสตรวจสอบได้
2.1 เพื่อให้ไดผ้ ลผลิต ผลลพั ธ์เป็นไปตามขอ้ ตกลงการใหบ้ ริการ
2.2 เพ่อื ให้สถานศึกษาสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรท่ีได้อย่างเพยี งพอและประสทิ ธิภาพ

3

3. ขอบข่ายภารกจิ
3.1 กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารท่ีเกยี่ วข้อง
1. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบบั ท่ี 2)
2. พระราชบัญญตั ิบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
3. ระเบียบวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. 2545
4. หลักสูตรการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
5. แนวทางการกระจายอานาจการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาและสถานศกึ ษาตามกฎกระทรวง กาหนด
หลักเกณฑ์และวธิ ีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550

รายจ่ายตามงบประมาณ

จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ
1. รายจา่ ยของส่วนราชการและรฐั วิสาหกิจ

- งบบุคลากร
- งบดาเนนิ งาน
- งบลงทุน
- งบเงินอุดหนุน
- งบร่ายจ่ายอ่ืน
งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายท่ีกาหนดให้จ่ายเพ่ือการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่รายจ่ายท่ีจ่ายใน
ลกั ษณะเงินเดือน ค่าจา้ งประจา ค่าจ้างชั่วคราว และค่าตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงราจจ่ายท่ีกาหนดให้จ่าย
จากงบรายจ่ายอนื่ ใดในลักษณะราจจา่ ยดังกล่า
งบดาเนนิ งาน หมายถึง รายจ่ายท่ีกาหนดให้จ่ายเพื่อการบรหิ ารงานประจา ได้แก่ รายจ่ายทจ่ี ่ายใน
ลกั ษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงราจ่ายที่กาหนดใหจ้ ่ายจากงบรายจา่ ยอ่ืนใด
ในลักษณะรายจา่ ยดงั กลา่ ว
งบลงทุน หมายถึง รายจา่ ยท่ีกาหนดใหจ้ ่ายเพอื่ การลงทนุ ได้แก่ รายจา่ ยท่ีจา่ ยในลักษณะคา่ ครุภัณฑ์ ค่า
ท่ีดนิ และส่ิงก่อสร้าง รวมถงึ รายจ่ายท่ีกาหนดให้จา่ ยจากงบรายจา่ ยอ่นื ใดในลักษณะรายจ่ายดังกลา่ ว
งบดาเนินงาน หมายถงึ รายจ่ายที่กาหนดใหจ้ ่ายเพ่อื การบรหิ ารงานประจา ไดแ้ ก่ รายจา่ ยที่จา่ ยใน
ลกั ษณะคา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถงึ รายจ่ายที่กาหนดให้จา่ ยจากงบรายจา่ ยอนื่ ใด
ในลักษณะรายจา่ ยดังกลา่ ว
งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายท่ีกาหนให้จ่ายเพ่ือการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายท่ีจ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ค่า
ทดี่ ินและสิง่ ก่อนสร้าง รวมถงึ รายจา่ ยท่กี าหนดใหจ้ ่ายจากงบรายจ่ายอน่ื ใดในลกั ษณะรายจ่ายดังกลา่ ว
งบเงนิ อดุ หนนุ หมายถึง รายจ่ายท่กี าหนดใหจ้ ่ายเป็นคา่ บารุงหรอื เพอ่ื ช่วยเหลอื สนบั สนนุ งานของหนว่ ยงาน
อิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหน่วยงานของรัฐ ซ่ึงมิใช่ส่วนกลางตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
หน่วยงานในกากับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมถึงเงินอุดหนุน งบ
พระมหากษัตริย์ เงินอดุ หนุนศาสนา

4

งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่

สานักงานงบประมาณกาหนดใหใ้ ช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ เช่น เงินราชการลบั เงนิ ค่าปรับ ที่จ่ายคืนให้แก่ผู้ขายหรอื ผู้

รับจ้าง ฯลฯ

อตั ราเงินอุดหนนุ รายหวั นักเรียนตอ่ ปีการศึกษา

ระดับก่อนประถมศึกษา 1,700 บาท

ระดบั ประถมศึกษา 1,900 บาท

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 3,500 บาท

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท

การจดั สรรเงินอุดหนนุ รายหวั นักเรยี น แบ่งการใชต้ ามสดั ส่วน ดา้ นวิชาการ : ด้านบริหารทัว่ ไป : สารอง

จ่ายทงั้ 2 ด้านคือ

1. ดา้ นวชิ าการ ใหส้ ดั สว่ นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 นาไปใช้ไดใ้ นเร่อื ง

1.1 จัดหาวัสดุและครภุ ัณฑ์ทจี่ าเป็นตอ่ การเรยี นการสอน

1.2 ซอ่ มแซมวสั ดอุ ุปกรณ์

1.3 การพฒั นาบุคลาการด้านการสอน เช่น ส่งครเู ขา้ อบรมสมั มนา ค่าจ้างชัว่ คราวของครปู ฏบิ ัตกิ าร

สอน ค่าสอนพิเศษ

2. ดา้ นบรหิ ารทัว่ ไป ให้สัดส่วนไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 30 นาไปใชไ้ ด้ในเร่อื ง

2.1 คา่ วัสดุ ครภุ ณั ฑแ์ ละคา่ ท่ีดนิ สง่ิ กอ่ สร้าง คา่ จา้ งชวั่ คราวท่ีไมใ่ ชป่ ฏิบัติการสอนคา่ ตอบแทน ค่าใช้

สอย

2.2 สารองจ่ายนอกเหนือดา้ นวชิ าการและด้านบริหารท่วั ไป ให้สดั สว่ นไม่เกนิ รอ้ ยละ 20 นาไปใชใ้ น

เร่ืองงานตามนโยบาย

เงนิ อุดหนุนปัจจัยพน้ื ฐานสาหรับนกั เรยี นยากจน

1. เปน็ เงินที่จดั สรรให้แกส่ ถานศึกษาที่มนี กั เรยี นยากจน เพ่ือจัดหาปัจจยั พน้ื ฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวติ และ

เพมิ่ โอกาศทางการศกึ ษา เป็นการชว่ ยเหลือนกั เรียนนทยี่ ากจน ชน้ั ป.1 ถึง ม.3 ให้มโี อกาสได้รับการศึกา

ในระดบั ท่ีสงู ขน้ึ (ยกเว้นสถานศึกษาสงั กัดสานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ)

2. นักเรียนยากจน หมายถึง นกั เรียนที่ผปู้ กครองมีรายได้ตอ่ ครัวเรือน ไมเ่ กนิ 40,000 บาท

3. แนวการใช้

ให้ใช้ในลกั ษณะ ถวั จ่าย ในรายการต่อไปนี้

3.1 ค่าหนังสอื และอปุ กรณ์การเรียน(ยมื ใช้)

3.2 คา่ เส้ือผ้าและวัสดุเครือ่ งแตง่ กายนกั เรียน(แจกจ่าย)

3.3 คา่ อาหารกลางวัน (วัตถุดบิ จ้างเหมา เงินสด)

3.4 คา่ พาหนะในการเดินทาง (เงินสด จา้ งเหมา)

3.5 กรณจี า่ ยเปน็ เงินสด โรงเรยี นแต่งตงั้ กรรมการ 3 คน ร่วมกันจา่ ยเงนิ โดยใช้ใบสาคัญรับเงนิ เป็น

หลกั ฐาน

3.6 ระดับประถมศึกษา คนละ 1,000 บาท/ปี

3.7 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น คนละ 3,000 บาท/ปี

1.1 รายจา่ ยงบกลาง

5

1. เงินสวสั ดกิ ารคา่ รักษาพยาบาล/การศึกษาบุตร/เงินช่วยเหลอื บุตร
2. เงนิ เบีย้ หวัดบาเหนจ็ บานาญ
3. เงนิ สารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยข้าราชการ
4. เงนิ สมทบของลูกจา้ งประจา
2. รายจา่ ยงบกลาง หมายถึง รายจา่ ยท่ีต้ังไว้เพอ่ื จัดสรรใหส้ ่วนราชการและรัฐวสิ าหกจิ โดยท่วั ไปใช้จ่าย
ตามรายการดังต่อไปนี้
1. “เงินเบย้ี หวดั บาเหนจ็ บานาญ” หมายความว่า รายจ่ายท่ีตง้ั ไวเ้ พื่อจา่ ยเป็นเงินบานาญ
ข้าราชการ เงินบาเหน็จลูกจ้างประจา เงินทาขวัญข้าราชการและลูกจ้าง เงินทดแทนข้าราชการวิสามัญ เงินค่ า
ทดแทนสาหรับผู้ไดร้ ับอนั ตรายในการรักษาความมัน่ คงของประเทศ
เงินชว่ ยพเิ ศษขา้ ราชการบานาญเสียชีวิต เงินสงเคราะหผ์ ูป้ ระสบภยั เนือ่ งจากการชว่ ยเหลอื
ข้าราชการ การปฏิบัติงานของชาติหรือการปฏิบัติตามหน้าท่ีมนุษยธรรม และเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบ้ียหวัด
บานาญ
2. “เงนิ ช่วยเหลือขา้ ราชการ ลูกจ้าง และพนกั งานของรฐั ” หมายความว่า รายจา่ ยทีต่ ง้ั ไว้เพอื่
จ่ายเป็นเงินสวัสดิการช่วยเหลือในด้านต่างๆ ให้แก่ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ ได้แก่ เงินช่วยเหลือ
การศึกษาของบุตร เงินชว่ ยเหลือบตุ ร และเงินพิเศษในการณตี ายในระหว่างรับราชการ
3. “เงนิ เล่ือนขนั้ เลอื่ นอนั ดับเงินเดอื นและเงนิ ปรบั วุฒิข้าราชการ หมายความวา่ รายจา่ ยทีต่ ้ังไว้
เพ่อื จ่ายเป็นเงนิ เลื่อนขั้นเลื่อนอันดับเงินเดอื นข้าราชการประจาปี เงนิ เล่ือนข้ันเลื่อนอันดับเงนเดือนข้าราชการที่ไดร้ ับ
เลื่อนระดบั และหรอื แตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ ระหวา่ งปแี ละเงินปรับวุฒิข้าราชการ
4. “เงนิ สารอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยของขา้ ราชการ” หมายความว่า รายจ่ายทีต่ ้ังไว้เพ่อื
จ่ายเปน็ เงินสารอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยท่รี ฐั บาลนาส่งเข้ากองทนุ บาเหน็จบานาญขา้ ราชการ
5. “เงนิ สมทบของลูกจา้ งประจา” หมายความว่า รายจ่ายทต่ี ง้ั ไวเ้ พ่อื จา่ ยเปน็ เงนิ สมทบที่
รฐั บาลนาส่งเข้ากองทุนสารอง เลย้ี งชพี ลกู จา้ งประจา
6. “คา่ ใชจ้ า่ ยเก่ยี วกบั การเสดจ็ พระราชดาเนและต้อนรบั ประมุขตา่ งประเทศ หมายความวา่
รายจ่ายท่ีต้ังไว้เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายสนับสนุนพระราชภารกิจในการเสด็จพระราชดาเนินภายในประเทศ และหรือ
ตา่ งประเทศ และคา่ ใช้จ่ายในการตอ้ นรับประมุขต่างประเทศทีม่ ายาเยือนประเทศไทย
7. “เงนิ สารองจ่ายเพ่อื กรณีฉุกเฉินหรอื จาเปน็ ” หมายความวา่ รายจา่ ยทีต่ ้ังสารองไวเ้ พื่อ
จัดสรรเปน็ ค่าใชจ้ า่ ยในกรณฉี ุกเฉินหรือจาเป็น
8. “คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนนิ การรักษาความมั่นคงของประเทศ” หมายความว่า รายจา่ ยทต่ี ัง้ ไว้
เพื่อเปน็ คา่ ใช้จ่ายในการดาเนนิ งานรกั ษาความมนั่ คงของประเทศ
9. “เงนิ ราชการลับในการรักษาความมนั่ คงของประเทศ” หมายความว่า รายจ่ายทีต่ ้ังไวเ้ พือ่
เบิกจา่ ยเป็นเงินราชการลบั ในการดาเนินงานเพอ่ื รกั ษาความมั่นคงของประเทศ
10. “คา่ ใชจ้ า่ ยตามโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ” หมายความว่า รายจา่ ยทต่ี ัง้ ไว้เพ่อื
เปน็ คา่ ใช้จ่าในการดาเนินงานตามโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ
11. “ค่าใชจ้ ่ายในการราษาพยาบาลขา้ ราชการ ลกู จ้าง และพนกั งานของรัฐ” หมายความว่า
รายจ่ายท่ตี งั้ ไว้เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยในการช่วยเหลอื ค่ารกั ษาพยาบาลขา้ ราชการ ลกู จา้ งประจา และพนกั งานของรฐั

6

เงินนอกงบประมาณ

1. เงนิ รายไดส้ ถานศึกษา
2. เงินภาษหี กั ณ ทจ่ี ่าย
3. เงนิ ลูกเสือ เนตรนารี
4. เงนิ ยุวกาชาด
5. เงินประกันสัญญา
6. เงินบริจาคท่มี วี ัตถุประสงค์

เงนิ รายไดส้ ถานศึกษา หมายถึง เงินรายไดต้ ามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ซง่ึ เกิดจาก
1. ผลประโยชน์จากทรพั ย์สนิ ที่เปน็ ราชพัสดุ
2. คา่ บรกิ ารและค่าธรรมเนียม ท่ีไม่ขดั หรือแย้งนโยบาย วัตถปุ ระสงค์และภารกิจหลักของสถานศึกษา
3. เบย้ี ปรบั จากการผดิ สญั ญาลาศึกษาต่อและเบ้ียปรับการผดิ สญั ญาซือ้ ทรัพยส์ นิ หรอื จา้ งทาของจากเงนิ
งบประมาณ
4. ค่าขายแบบรปู รายการ เงินอุดหนุน อปท. รวมเงนิ อาหารกลางวัน
5. คา่ ขายทรัพยส์ ินที่ได้มาจากเงินงบประมาณ

งานพัสดุ

“การพสั ดุ” หมายความว่า การจดั ทาเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและ
ควบคมุ งาน การแลกเปล่ยี น การเชา่ การควบคมุ การจาหน่าย และการดาเนินการอื่นๆ ท่กี าหนดไวใ้ นระเบียบนี้

“พสั ด”ุ หมายความวา่ วสั ดุ ครภุ ัณฑ์ ทด่ี ินและสิ่งก่อสร้าง ท่ีกาหนดไวใ้ นหนังสือ การจาแนกประเภท
รายจา่ ยตามงบประมาณของสานกั งบประมาณ หรอื การจาแนกประเภทรายจ่าย ตามสัญญาเงนิ ก้จู ากต่างประเทศ

“การซ้อื ” หมายความวา่ การซือ้ พสั ดุทุกชนดิ ท้ังทีม่ ีการติดตั้ง ทดลอง และบรกิ ารที่เก่ียวเนือ่ งอื่นๆ แต่
ไม่รวมถึงการจัดหาพสั ดุในลกั ษณะการจา้ ง

“การจ้าง” ใหห้ มายความรวมถงึ การจ้างทาของและการับขนตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ และ
การจา้ งเหมาบริการ แตไ่ ม่รวมถงึ การจา้ งลูกจา้ งของสว่ นราชการตามระเบยี บของกระทรวงการคลงั การับขนในการ
เดินทางไปราชการตามกฎหมายว่าดว้ ยค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ การจ้างท่ปี รึกษ การจ้างออกแบบและ
ควบคุมงาน และการจา้ งแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ขอบข่ายภารกิจ
1. กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง
2. ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพ่มิ เติม
3. ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการพัสดดุ ้วยวธิ กี ารทางอเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549
4. แนวทางการปฏิบตั ิตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดดุ ้วยวิธกี ารทางอเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2549
หน้าที่และความรบั ผดิ ชอบ

7

1. จดั วางระบบและปฏบิ ตั ิงานเกี่ยวกับจัดหา การซ้ือ การจ้าง การเก็บรกั ษา และการเบิกพสั ดุ การควบคมุ
และการจาหนา่ ยพสั ดุให้เปน็ ไปตามระเบยี บที่เกี่ยวข้อง

2. ควบคุมการเบกิ จ่ายเงนิ ตามประเภทเงิน ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏบิ ัติราชการรายปี
3. จดั ทาทะเบยี นท่ดี นิ และสง่ิ ก่อสร้างทุกประเภทของสถานศกึ ษา
4. ประสานงานและวางแผนในการใชพ้ ืน้ ที่ของสถานศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนพัฒนาการศึกษา
5. กาหนดหลกั เกณฑว์ ธิ ีการและดาเนินการเกยี่ วกับการจดั หาประโยชน์ทีร่ าชพสั ดุการใช้และการขอใช้อาคาร

สถานทข่ี องสถานศกึ ษาให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกีย่ วข้องควบคุมดู ปรับปรงุ ซ่อมแซม
บารุงรกั ษาครภุ ัณฑ์ ให้อยใู่ นสภาพเรียบรอ้ ยต่อการใชง้ านและพัฒนาอาคารสถานที่ การอนุรักษ์พลังงาน
การรักษาสภาพแวดลอ้ ม และระบบสาธารณปู โภคของสถานศึกษาใหเ้ ปน็ ระเบียบและสวยงาม
6. จดั เวรยามดูแลอาคารสถานที่ของสถานศกึ ษาให้ปลอดภยั จากโจรภยั อคั คีภยั และภัยอืน่ ๆ
7. จดั วางระบบและควบคุมการใชย้ านพาหนะ การเบิกจา่ ยน้ามนั เช้ือเพลิงการบารงุ รักษาและการพสั ดุต่างๆ
ท่ีเกีย่ วกับยานพาหนะของสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บท่เี กย่ี วข้อง
8. ใหค้ าแนะนา ชี้แจง และอานวยความสะดวกแกบ่ ุคลากรในสถานศึกษาเกย่ี วกับงานในหน้าท่ี
9. เกบ็ รกั ษาเอกสารและหลักฐานตา่ งๆ ไว้เพ่ือการตรวจสอบและดาเนนิ การทาลายเอกสารตามระเบยี บท่ี
เก่ียวข้อง
10. ประสานงานและใหค้ วามร่วมมือกับหนว่ ยงานตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
11. เสนอโครงการและรายงานการปฏิบตั งิ านในหนา้ ท่ีตามลาดับขน้ั
12. ปฏบิ ตั อิ ่นื ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย

สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

1. ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ
1.1 กฎหมายและระเบยี บทเี่ ก่ียวข้อง
1.2 พระราชกฤษฎกี าค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพมิ่ เติม
1.3 ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการเบิกคา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550

2. ค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการ
การอนมุ ัตเิ ดินทางไปราชการ ผมู้ ีอานาจอนุมัตใิ หเ้ ดนิ ทางไปราชการ อนมุ ตั ิระยะเวลาในการเดนิ ทาง
ล่วงหนา้ หรือระยะเวลาหลังเสรจ็ สิน้ การปฏิบตั ริ าชการได้ตามความจาเป็น

3. การนับเวลาเดนิ ทางไปราชการเพอ่ื คานวณเบี้ยเลย้ี ง กรณีพกั ค้าง
3.1 ใหน้ บั 24 ช่ัวโมงเปน็ 1 วนั
3.2 ถา้ ไม่ถึง 24 ชัว่ โมงหรือเกนิ 24 ชั่วโมง และส่วนที่ไมถ่ ึงหรือเกนิ 24 ชั่วโมง นบั ไดเ้ กนิ 12 ช่ัวโง
ให้ถอื เป็น 1 วนั

4. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพอ่ื คานวณเบ้ียเล้ียงเดินทาง กรณีไม่พักคา้ ง
4.1 หากนับได้ไม่ถึง 24 ชวั่ โมงและสว่ นท่ไี มถ่ ึงนับได้เกนิ 12 ช่วั โมง ใหถ้ อื เปน็ 1วัน
4.2 หากนบั ได้ไม่เกิน 12 ชว่ั โมง แต่เกนิ 6 ช่ัวโมงขนึ้ ไป ใหถ้ อื เป็นคร่ึงวัน

5. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพอ่ื คานวณเบย้ี เลย้ี งเดนิ ทาง

8

6. กรณีลากิจหรือลาพักผ่อนก่อนปฏบิ ัติราชการ ให้นับเวลาตง้ั แตเ่ ร่ิมปฏบิ ัติราชการเป็นต้นไป
7. กรณีลากิจหรือลาพักผอ่ นหลงั เสร็จสิ้นการปฏบิ ตั ริ าชการ ให้ถือวา่ สทิ ธใิ นการเบกิ จา่ ยเบ้ียเลี้ยงเดินทางส้ินสดุ

ลงเม่อื สนิ้ สุดเวลาการปฏิบตั ริ าชการ
8. หลักเกณฑก์ ารเบิกคา่ เชา่ ทีพ่ ักในประเทศ

การเบิกค่าพาหนะ

1. โดยปกติให้ใชย้ านพาหนะประจาทางและใหเ้ บิกคา่ พาหนะโดยประหยัด
2. กรณีไมม่ ียานพาหนะประจาทาง หรอื มแี ตต่ ้องการความรวดเร็ว เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่ทางราชการ

ใหใ้ ช้ยานพาหนะอน่ื ได้ แต่ต้องชแี้ จงเหตุผลและความจาเปน็ ไวใ้ นหลักฐานขอเบกิ คา่ พาหนะน้ัน
3. ข้าราชการระดับ 6 ขึน้ ไป เบิกคา่ พาหนะรบั จา้ งได้ ในกรณตี ่อไปน้ี

3.1 การเดนิ ทางไป-กลับ ระหว่างสถานทอ่ี ยู่ ที่พกั หรือสถานท่ปี ฏบิ ตั ิราชการกับสถานี
ยานพาหนะประจาทาง หรอื สถานที่จดั พาหนะที่ใชเ้ ดินทางภายในเขตจงั หวดั เดยี วกัน
3.2 การเดินทางไป-กลบั ระหว่างสถานที่อยู่ ท่ีพกั กับสถานที่ปฏิบตั ิราชการภายในเขตจังหวดั
เดยี วกัน วันละไม่เกนิ 2 เท่ียว
3.3 การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร กรณเี ปน็ การเดินทางขา้ มเขตจังหวดั ใหเ้ บกิ
ตามอตั ราทก่ี ระทรวงการคลังกาหนด คือ ใหเ้ บิกตามที่จา่ ยจริง ดงั นี้ ระหวา่ งกรงุ เทพมหานครกบั เขต
จงั หวดั ติดตอ่ กรงุ เทพมหานคร ไมเ่ กินเที่ยวละ่ 400 บาท เดนิ ทางขา้ มเขตจงั หวดั อ่ืนนอกเหนือกรณี
ดงั กล่าวขา้ งต้นไม่เกินเทย่ี วละ 300 บาท
3.4 ผูไ้ มม่ ีสทิ ธเิ บิก ถ้าต้องนาสัมภาระในการเดินทาง หรอื ส่ิงของเครอ่ื งใช้ของทางราชการไปด้วย
และเป็นเหตุให้ไมส่ ะดวกทจี่ ะเดินทางโดยยานพาหนะประจาทาง ให้เบกิ ค่าพาหนะรบั จ้างได(้ โดยแสดง
เหตุผลและความจาเป็นไว้ในรายงานเดนิ ทาง)
3.5 การเดินทางลว่ งหน้า หรอื ไม่สามารถกลับเมื่อเสรจ็ สิ้นการปฏิบตั ิราชการเพราะมีเหตสุ ่วนตวั
(ลากจิ - ลาพกั ผ่อนไว)้ ให้เบกิ คา่ พาหนะเท่าท่จี า่ ยจริงตามเสน้ ทางท่ีไดร้ ับคาสง่ั ให้เดินทางไปราชการ
กรณีมีการเดนิ ทางนอกเสน้ ทางในระหว่างการลาน้ัน ใหเ้ บิกคา่ พาหนะไดเ้ ท่าท่ีจา่ ยจริงโดยไมเ่ กนิ อตั ราตาม
เส้นทางท่ีได้รับคาสง่ั ให้เดินทางไปราชการ
3.6 การใชย้ านพาหนะส่วนตัว (ใหข้ ออนุญาตและได้รบั อนุญาตแล้ว) ใหไ้ ด้รับเงินชดเชย คือ
รถยนต์กิโลเมตรละ 4 บาท

คา่ ใช้จา่ ยในการฝึกอบรม

การฝึกอบรม หมายถึง การอบรม ประชมุ /สมั มนา (วชิ าการเชงิ ปฏบิ ตั ิการ) บรรยายพิเศษ ฝึกงาน ดงู าน
การฝึกอบรม ประกอบดว้ ย

1. หลกั การและเหตผุ ล
2. โครงการ/หลักสูตร
3. ระยะเวลาจัดที่แน่นอน
4. เพอื่ พัฒนาหรอื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน

9

ค่ารกั ษาพยาบาล

ค่ารกั ษาพยาบาล หมายถงึ เงนิ ทีส่ ถานพยาบาลเรยี กเก็บในการรักษาพยาบาลเพื่อใหร้ า่ งกายกลบั สสู่ ภาวะ
ปกติ (ไม่ใชเ่ ปน็ การป้องกันหรอื เพ่ือความสวยงาม)

1. ระเบยี บและกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง
1.1 พระราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดิการเก่ียวกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และแกไ้ ขเพิ่มเติม( 8 ฉบับ)
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการเบิกจ่ายเงนิ สวัสดกิ ารเกยี่ วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2545

2. ผทู้ ี่มีสิทธิรับเงินคา่ รักษาพยาบาล คือ ผ้มู ีสทิ ธิและบุคคลในครอบครัว
2.1 บิดา
2.2 มารดา
2.3 ค่สู มรสทช่ี อบด้วยกฎหมาย
2.4 บุตรทช่ี อบด้วยกฎหมาย ซง่ึ ยงั ไมบ่ รรลนุ ิตภิ าวะ หรอื บรรลุนติ ิภาวะแล้ว แต่เปน็ คนไร้ความสามารถ
หรอื เสมือนคนไร้ความสามารถ(ศาลสง่ั ) ไม่รวมบุตรบุญธรรมหรอื บตุ รซง่ึ ได้ยกเปน็ บุตรบญุ ธรรมบุคคล
อืน่ แลว้

3. ผมู้ สี ิทธิ หมายถึง ข้าราชการ ลูกจา้ งประจา ผู้รับเบย้ี หวดั บานาญ และลกู จ้างชาวต่างประเทศซ่ึงได้รบั
คา่ จ้างจากเงินงบประมาณ
คา่ รักษาพยาบาล แบง่ เปน็ 2 ประเภท
ประเภทไขน้ อก หมายถงึ เข้ารบั การรักษาในสถานพยาบาลของทางราชการโดยไมไ่ ด้นอนพกั

รักษาตัว นาใบเสรจ็ รบั เงนิ มาเบิกจ่าย ไม่เกนิ 1 ปี นบั จากวันท่ีจ่ายเงิน
ประเภทไขใ้ น หมายถึง เข้ารับการรกั ษาในสถานพยาบาลของเอกชน หรอื สถานพยาบาลของทาง

ราชการ สถานพยาบาลเอกชน ใช้ใบเสร็จรบั เงนิ นามาเบิกจา่ ยเงนิ พรอ้ มให้แพทย์รบั รอง “หากผ้ปู ่วยมิไดเ้ จา้ รบั
การรกั ษาพยาบาลในทันทีทนั ใด อาจเป็นอนั ตรายถึงชวี ติ ” และสถานพยาบาลทางราชการ ใชห้ นังสอื รับรองสิทธิ
กรณียังไม่ไดเ้ บกิ จ่ายตรง

การศกึ ษาบุตร

ค่าการศึกษาของบุตร หมายความว่า เงนิ บารงุ การศกึ ษา หรอื เงนิ ค่าเล่าเรยี น หรอื เงินอนื่ ใดทีส่ ถานศึกษา
เรียกเกบ็ และรฐั ออกให้เป็นสวัสดิการกับขา้ ราชการผู้มีสทิ ธิ

1. ระเบยี บและกฎหมายท่เี ก่ียวข้อง
1.1 พระราชราชกฤษฎีกาเงินสวสั ดิการเก่ียวกบั การศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการเบกิ จ่ายเงนิ สวัสดิการเกยี่ วกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2547
1.3 หนงั สอื เวยี นกรมบญั ชีกลาง กค 0422.3/ว 161 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2552 เร่ือง ประเภท
และอตั ราเงินบารุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ และคา่ เลา่ เรยี นในสถานศกึ ษาของเอกชน
และกรมบัญชกี ลาง ที่ กค 0422.3/ว 226 ลงวนั ที่ 30 มิถุนายน 2552 เรือ่ งการเบิกเงินสวสั ดิการ
เก่ียวกับการศกึ ษาของบุตร

10

2. ผู้ทม่ี ีสทิ ธริ บั เงินค่าการศึกษาของบตุ ร
2.1 บุตรชอบโดยกฎหมายอายุไมเ่ กนิ 25 ปบี ริบูรณ์ ในวันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปี ไม่รวมบตุ รบุญ
ธรรม หรอื บุตรซึง่ ได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมคนอ่ืนแล้ว
2.2 ใชส้ ิทธิเบกิ ได้ 3 คน เวน้ แต่บตุ รคนท่ี 3 เปน็ ฝาแฝดสามารถนามาเบิกได้ 4 คน
2.3 เบิกเงินสวสั ดิการเกี่ยวกับศกึ ษาบตุ รภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันเปดิ ภาคเรียนของแตล่ ะภาค
จานวนเงินทเ่ี บิกได้
1. ระดบั อนุบาลหรอื เทียบเทา่ เบิกได้ปีละไมเ่ กิน 4,650 บาท
2. ระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท่า เบกิ ไดป้ ลี ะไมเ่ กนิ 3,200 บาท
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น/มธั ยมศึกษาตอนปลาย/หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) หรือ
เทยี บเทา่ เบิกได้ปีละไม่เกิน 3,900 บาท
4. ระดบั อนุปริญญาหรือเทียบเท่า เบิกได้ปีละไม่เกิน 11,000 บาท

คา่ เช่าบา้ น

1. ระเบยี บและกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง
1.1 พระราชกฤษฎีกาคา่ เช่าชา้ นข้าราชการ พ.ศ. 2550
1.2 ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการเบิกจ่ายเงนิ คา่ เชา่ บ้าน พ.ศ. 2549

2. สทิ ธกิ ารเบกิ เงินคา่ เช่าบ้าน
2.1 ได้รับคาสั่งให้เดนิ ทางไปประจาสานกั งานใหม่ในตา่ งท้องท่ี เวน้ แต่
2.1.1 ทางราชการได้จดั ท่ีพักอาศยั ใหอ้ ย่แู ลว้
2.1.2 มเี คหสถานเป็นของตนเองหรือคู่สมรส
2.1.3 ไดร้ ับคาสัง่ ให้เดนิ ทางไปประจาสานักงานใหม่ในต่างท้องทีต่ ามคาร้องขอของตนเอง
2.2 ข้าราชการผูไ้ ดร้ บั คาส่ังให้เดนิ ทางไปประจาสานกั งานในท้องท่ที ี่รับราชการครั้งแรกหรือท้องท่ีที่กลบั เขา้
รบั ราชการใหม่ ให้มีสทิ ธไิ ด้รับเงนิ ค่าเช้าบ้าน (พระราชกฤษฎกี าเชา่ บ้าน 2550 (ฉบับที่ 2) มาตรา
7)
2.3 ข้าราชการมสี ิทธไิ ดร้ ับเงนิ คา่ เช่าบ้านต้งั แต่วันทีเ่ ชา่ อยจู่ รงิ แตไ่ ม่ก่อนวันท่รี ายงานตัวเพื่อเข้ารบั หน้าที่
(พระราชกฤษฎีกาคา่ เชา่ บา้ น 2547 มาตรา 14)
2.4 ขา้ ราชการซ่ึงมีสทิ ธิไดร้ ับเงินค่าเช่าบา้ นได้เชา่ ซ้ือหรือผอ่ นชาระเงินกูเ้ พื่อชาระราคาบา้ นท่ีค้างชาระอยู่
ในทอ้ งทท่ี ่ีไปประจาสานักงานใหม่ มีสิทธินาหลักฐานการชาระค่าเชา่ ซ้ือหรอื ค่าผ่อนชาระเงนิ กู้ฯ มา
เบิกได้ (พระราชกฤษฎีกาคา่ เช่าบา้ น 2547 มาตรา 17)

11

กองทนุ บาเหนจ็ บานาญข้าราชการ (กบข.)

1. กฎหมายที่เก่ยี วข้อง
1.1 พ.ร.บ.กองทนุ บาเหนจ็ บานาญข้าราชการ พ.ศ. 2539
มาตรา 3 ในพระราชบญั ญตั ิน้ี (ส่วนท่เี กีย่ วขอ้ ง)
บานาญ หมายความว่า เงนิ ท่ีจ่ายใหแ้ ก่สมาชกิ เป็นรายเดือนเม่ือสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง
บาเหน็จตกทอด หมายความวา่ เงินทจ่ี ่ายใหแ้ ก่สมาชกิ โดยจา่ ยให้ครง้ั เดยี วเมื่อสมาชกิ ภาพ

ของสมาชิกสิ้นสุดลง
บาเหนจ็ ตกทอด หมายความวา่ เงนิ ทจ่ี ่ายใหแ้ กท่ ายาทโดยจ่ายใหค้ ร้งั เดียวในกรณที ี่สมาชิก

หรอื ผู้รับบานาญถึงแก่ความตาย
1.2 พ.ร.บ.กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (ฉบบั ท่ี 2 ) พ.ศ. 2542

2. ข้าราชการทุกประเภท (ยกเว้นราชการทางการเมือง) มสี ทิ ธสิ มัครเป็นสมาชิก กบข. ได้แก่ ขา้ ราชการครู
ขา้ ราชการใหม่ ได้แก่ ผซู้ ง่ึ เขา้ รบั ราชการหรอื โอนมาเป็นราชการตั้งแต่วันท่ี 27 มีนาคม 2540 เปน็ ตน้ จะต้อง
เปน็ สมาชกิ กบข. และสะสมเงินเขา้ กองทุน สมาชิกที่จา่ ยสะสมเขา้ กองทุนในอัตราร้อยละ 3 ของเงนิ เดอื นเปน็
ประจาทุกเดือน รัฐบาลจะจา่ ยเงินสมทบใหก้ ับสมาชกิ ในอัตรารอ้ ยละ 3 ของเงนิ เดือนเป็นประจาทุกเดือน
เช่นเดียวกัน และจะนาเงนิ ดังกลา่ วไปลงทุนหาผลประโยชนเ์ พื่อจา่ ยให้กับสมาชิกเมื่อกอกจากราชการ

ระเบียบสานักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ สวัสดกิ ารและสวัสดิภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษาว่า
ดว้ ยการฌาปนกิจสงเคราะห์เพอ่ื นครูและบุคลากรทางการศกึ ษา(ช.พ.ค.)

ในระเบยี บนี้ ช.พ.ค. หมายความว่า การฌาปนกจิ สงเคราะห์ชว่ ยเพ่อื นครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาการ
จดั ตัง้ ช.พ.ค. มคี วามม่งุ หมายเพ่ือเป็นการกศุ ลและมวี ัตถุประสงค์ให้สมาชิกได้ทาการสงเคราะห์ซึ่งกนั และกนั ในการ
จัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัวของสมาชกิ ช.พ.ค. ท่ีถึงแก่กรรมหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจ่ายเงินคา่ จัดการศพและ
เงนิ สงเคราะห์ครอบครวั ใหเ้ ป็นไปตามท่คี ณะกรรมการ ช.พ.ค. กาหนด

ครอบครวั ของสมาชกิ ช.พ.ค. หมายถงึ บุคคลตามลาดบั ดงั นี้
1. คูส่ มรสทีช่ อบด้วยกฎหมาย บุตรทช่ี อบด้วยกฎหมาย บุตรบญุ ธรรม บุตรนอกสมรสท่ีบดิ ารับรองแล้ว
และบิดามารดาของสมาชกิ ช.พ.ค.
2. ผู้อยใู่ นอปุ การะอย่างบตุ รของสมาชกิ ช.พ.ค.
3. ผอู้ ปุ การะสมาชิก ช.พ.ค.
ผูม้ ีสิทธิได้รับการสงเคราะห์ตามวรรคหน่ึงยังมชี วี ิตอยู่ หรือมีผู้รบั มรดกยงั ไม่ขาดสายแล้วแต่กรณใี น
ลาดับหน่งึ ๆ บคุ คลที่อยู่ในลาดับถดั ไปไม่มสี ิทธไิ ด้รับเงินสงเคราะหค์ รอบครวั ระเบยี บนี้
การสงเคราะหค์ รอบครัวของสมาชกิ ช.พ.ค. สาหรบั บตุ รให้พจิ ารณาให้บุตรสมาชกิ ช.พ.ค. ไดร้ ับ
ความช่วยเหลือเปน็ เงินทนุ สาหรบั การศึกษาเลา่ เรยี นเปน็ ลาดบั แรก
สมาชิก ช.พ.ค. ตอ้ งระบบุ ุคคลใดบุคคลหนงึ่ หรือหลายคน เปน็ ผมู้ ีสทิ ธิรับเงนิ สงเคราะห์
สมาชกิ ช.พ.ค. มีหน้าทีด่ งั ตอ่ ไปนี้
1. ต้องปฏบิ ัตติ ามระเบียบน้ี
2. สง่ เงินสงเคราะหร์ ายศพ เมื่อสมาชิก ช.พ.ค. อน่ื ถงึ แก่กรรมศพละหน่ึงบาทภายใต้เงอื่ นไขดังต่อไปน้ี

12

3. สมาชิก ช.พ.ค. ที่เปน็ ข้าราชการประจา ขา้ ราชการบานาญและผ้ทู ี่มีเงนิ เดือนหรือรายได้ รายเดือน ต้อง
ยินยอมใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีผ้จู า่ ยเงนิ เดอื นหรอื เงนิ บานาญเปน็ ผูห้ กั เงินเพื่อชาระเงนิ สงเคราะห์รายศพ ณ ทจี่ ่าย
ตามประกาศรายช่ือสมาชิก ช.พ.ค. ที่ถึงแก่กรรม

คาจากัดความ

แผนการปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการปฎบิ ตั ิงาน และ
แสดงรายละเอยี ดการใชจ้ า่ ยงบประมาณรายจ่ายตามแผนการปฏิบัตงิ านของโรงเรยี นบา้ นห้วงปลาไหล “สิงหะวทิ ยา”
ในรอบปงี บประมาณ

การใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายของโรงเรียนบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะ
วทิ ยา” เพื่อดาเนนิ ตามแผนการปฏบิ ตั งิ านในรอบปี

การจัดสรรงบประมาณ หมายถึง การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม ให้ส่วนราชการใช้จ่ายหรือก่อหน้ีผูกพัน ท้ังน้ี อาจ
ดาเนนิ การโดยใช้การอนมุ ตั เิ งนิ ประจางวดหรอื โดยวิธกี ารอ่นื ใดตามท่ีสานักงบประมาณกาหนด

เป้าหมายยุทธศาสตร์ หมายถึง ผลสัมฤทธ์ิท่ีการใช้จา่ ยงบประมาณต้องการจะให้เกิดตอ่ นักเรียน บุคลากร
โรงเรียนบ้านห้วงปลาไหล “สงิ หะวทิ ยา”

แผนการปฏิบัติงาน หมายถึง แผนการปฏิบัติงานของโรงเรียนบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะวิทยา” ในรอบ
ปีงบประมาณ

แผนการใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายสาหรับ
โรงเรียนบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะวิทยา” เพ่ือดาเนินงานตามแผนการปฏิบัตงิ านในรอบปีงบประมาณ

โครงการ หมายถึง โครงการท่ีกาหนดขึ้นเพื่อใชจ้ า่ ยเงนิ เปน็ ไปตามในระหวา่ งปงี บประมาณ
งบรายจา่ ย หมายถึง กลุ่มวัตถุประสงค์ของรายจ่าย ที่กาหนดใหจ้ ่ายตามหลกั การจาแนกประเภทรายจา่ ย
ตามงบประมาณ
จาแนกงบรายจา่ ยตามหลักจาแนกประเภทงบประมาณตามงบรายจา่ ย ดังน้ี
งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายท่ีกาหนดให้จ่ายเพ่ือการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ
เงินเดือน ค่าจ้างประจา ค่าจ้างชั่วคราว และค่าตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจ่ายท่ีกาหนดให้จ่ายจากงบ
รายจา่ ยอ่นื ในลกั ษณะดงั กล่าว
งบดาเนินงาน หมายถึง รายจ่ายท่ีกาหนดให้จ่ายเพ่ือการบริหารงานประจา ได้แก่รายจ่ายท่ีจ่ายในลักษณะ
ค่าตอบแทน ค่าใชส้ อย คา่ วัสดุ คา่ สาธารณูปโภค
งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายท่ีกาหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดิน
และสง่ิ ก่อสรา้ ง
งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเป็นค่าบารุง หรือเพ่ือช่วยเหลือสนับสนุนการดาเนินงาน
ของหนว่ ยงานองคก์ รตามรัฐธรรมนญู หรือหนว่ ยงานของรัฐซึ่งมิใช่ส่วนราชการสว่ นกลางตามพระราชบญั ญตั ิระเบียบ
บริหารราชการแผน่ ดนิ หน่วยงานในกากับของรัฐองค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาตาบล
องค์การระหว่างประเทศบิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ รวมถึง เงินอุ ดหนุนงบ
พระมหากษัตรยิ ์ เงนิ อดุ หนนุ การศาสนา และรายจา่ ยทส่ี านักงบประมาณกาหนดใหจ้ า่ ยในงบรายจา่ ยนี้

13

งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายท่ีไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่
สานกั งบประมาณกาหนดให้ใชจ้ า่ ยในงบรายจา่ ยนี้ เชน่

(1) เงินราชการลบั
(2) เงินค่าปรับท่ีจ่ายคืนให้แกผ่ ้ขู ายหรอื ผ้รู บั จา้ ง
(3) ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผลหรือพัฒนาระบบต่างๆ ซึ่งมิใช่เพ่ือการจัดหา หรือปรับปรุง

ครุภัณฑ์ท่ีดนิ หรอื สงิ่ ก่อสร้าง
(4) คา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการตา่ งประเทศชวั่ คราว
(5) ค่าใช้จ่ายสาหรบั หน่วยงานองค์กรตามรฐั ธรรมนูญ (ส่วนราชการ)
(6) คา่ ใช้จา่ ยเพ่ือชาระหนเ้ี งนิ กู้
(7) ค่าใชจ้ า่ ยสาหรับกองทุน หรือเงนิ ทนุ หมุนเวียน

หนา้ ทคี่ วามรบั ผิดชอบ

กลมุ่ การบริหารงบประมาณ
นายกาสี ยกน้อยวงษ์ ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มบริหารงบประมาณ มีหน้าท่ีดูแล กากับติดตาม กล่ันกรอง

อานวยความสะดวก ให้คาแนะนาปรึกษาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติงานในกลุ่มบริหารงบประมาณ ตาม
ขอบข่ายและภารกิจการบริหารงบประมาณ ปฏิบัติหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องกับการจัดระบบบริหารองค์กรการประสานงาน
และใหบ้ ริการสนับสนนุ สง่ เสริมใหฝ้ ่ายบริหารงบประมาณตา่ งๆ ในโรงเรียนสามารถบรหิ ารจดั การและดาเนินการตาม
บทบาทภารกจิ อานาจหน้าทด่ี ้วยความเรียบรอ้ ยตลอดจนสนับสนนุ และใหบ้ ริการขอ้ มูล ข่าวสาร เอกสาร ส่อื อุปกรณ์
ทางการศึกษาและทรัพยากรที่ใช้ในการจัดการศึกษาแก่เจ้าหน้าที่ของแต่ละฝ่ายงานเพ่ือให้ฝ่ายงานบริหารจัดการได้
อยา่ งสะดวกคล่องตวั มีคุณภาพและเกิดประสิทธิผล
ขอบข่ายกลุ่มการบริหารงบประมาณ มดี งั นี้
1. การจัดทาแผนงบประมาณและคาขอตั้งงบประมาณเพอื่ เสนอต่อเลขาธิการคณะกรรมการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

ผู้รบั ผิดชอบ นายกาสี ยกนอ้ ยวงษ์ หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) จัดทาข้อมูลสารสนเทศทางการเงินของสถานศึกษา ได้แก่ แผนช้ันเรียน ข้อมูลครูนักเรียน และ
สิ่งอานวยความสะดวกของสถานศึกษา โดยความรว่ มมอื ของสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา
2) จดั ทากรอบงบประมาณรายจา่ ยล่วงหนา้ และแผนงบประมาณ
3) เสนอแผนงบประมาณขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพ่ือใช้เป็นคา
ขอตั้งงบประมาณตอ่ สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา

2. การจัดทาแผนปฏิบตั ิการใช้จ่ายเงิน ตามที่ได้รับจัดสรรงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พืน้ ฐานโดยตรง

ผูร้ บั ผดิ ชอบ นายกาสี ยกน้อยวงษ์ หน้าทีร่ บั ผิดชอบปฏิบัติงานและผรู้ ับผดิ ชอบโครงการฯ ดงั นี้
1) จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปแี ละแผนการใช้จ่ายงบประมาณภายใตค้ วามร่วมมอื ของสานักงาน
เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
2) ขอความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐาน

14

3. การอนุมัตกิ ารใชจ้ า่ ยงบประมาณท่ไี ดร้ บั จัดสรร
ผรู้ ับผดิ ชอบ นายกาสี ยกน้อยวงษ์ หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบเสนอโครงการดังน้ี
- ผู้อานวยการสถานศึกษาอนุมัตกิ ารใช้จ่ายงบประมาณตามงาน/โครงการท่ีกาหนดไว้ในแผนปฏิบัติ

การประจาปี และแผนการใช้จา่ ยเงนิ ภายใต้ความร่วมมอื ของสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา
4. การขอโอนและการขอเปล่ยี นแปลงงบประมาณ

ผูร้ ับผดิ ชอบ นายกาสี ยกนอ้ ยวงษ์ หน้าท่รี บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดงั น้ี
1) ตรวจสอบรายละเอียดรายการงบประมาณที่จาเป็นต้องขอโอนหรือเปลย่ี นแปลงเช่นเดยี วกับ
สถานศกึ ษาประเภทท่ี 1 เสนอความเหน็ ชอบคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน แลว้ เสนอ ขอโอนหรือ
เปล่ียนแปลงรายการงบประมาณต่อสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา เพือ่ ดาเนนิ การตอ่ ไป
5. การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
ผู้รบั ผดิ ชอบ นางทตุ ยิ า ธปู ขนุ ทด หน้าทร่ี บั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดังน้ี
1) รายงานผลการดาเนินงาน ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจาปี ไปยังสานักงานเขต
พน้ื ทก่ี ารศึกษา
6. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงานการใช้งบประมาณ
ผู้รบั ผิดชอบ นางทุติยา ธูปขุนทด หนา้ ทรี่ บั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดงั นี้
1) จัดการให้มกี ารตรวจสอบและติดตามให้ กลุ่ม ฝา่ ยงาน ในสถานศกึ ษา รายงานผลการปฏิบัตงิ าน
และผลการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อจัดทารายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแบบที่สานัก
งบประมาณกาหนด และจัดส่งไปยังสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกไตรมาส ภายในระยะเวลาที่สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษากาหนด
2) จัดทารายงานประจาปีท่ีแสดงถึงความสาเร็จในการปฏิบัติงาน และจัดส่งให้สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาภายในระยะเวลาที่สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากาหนด
7. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงานการใชผ้ ลผลติ จากงบประมาณ
ผูร้ บั ผดิ ชอบ นายกาสี ยกน้อยวงษ์ หนา้ ที่รับผิดชอบปฏิบตั งิ านดังนี้
1) ประเมนิ คุณภาพการปฏบิ ัตงิ านตามทไี่ ด้รับมอบหมาย
2) วางแผนประเมินประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลการดาเนนิ งานของสถานศึกษา
3) วิเคราะห์และประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัด และความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรของ
หนว่ ยงานในสถานศกึ ษา
8. การระดมทรพั ยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
ผรู้ ับผิดชอบ นางทตุ ยิ า ธปู ขุนทด หน้าทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดงั นี้
1) วางแผน รณรงค์ ส่งเสริมการระดมทุนการศึกษาและทุนเพ่ือการพัฒนาการศึกษาให้ดาเนินงาน
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผล คุ้มคา่ และมีความโปร่งใส
2) จัดทาข้อมูลสารสนเทศ และระบบการรับจ่ายทุนการศึกษาและเพ่ือการพัฒนาการศึกษาให้
ดาเนนิ งานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล ค้มุ ค่า และมคี วามโปรง่ ใส
3) สรุป รายงาน เผยแพร่ และเชิดชูเกียรติผู้สนับสนุนทุนการศึกษาและทุนเพ่ือการพัฒนา
สถานศกึ ษา โดยความชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

15

9. การบริหารจดั การทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา
ผู้รบั ผดิ ชอบ นายกาสี ยกน้อยวงษ์ หน้าท่ีรับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี
1) จัดทารายการทรัพยากรเพือ่ เป็นสารสนเทศไดแ้ กแ่ หล่งเรียนรู้ภายในสถานศกึ ษา แหลง่ เรียนรูใ้ น

ท้องถิ่นทั้งที่เป็นแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ท่ีเป็นสถานประกอบการ เพื่อการรับรู้ของ
บคุ ลากรในสถานศึกษา นักเรียนและบุคคลทว่ั ไปจาไดเ้ กดิ การใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั ในการจดั การศึกษา

2) วางระบบหรือกาหนดแนวปฏิบัติการใช้ทรัพยากรร่วมกันกับบคุ คล หน่วยงานรัฐบาลและเอกชน
เพ่ือใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด

3) กระตุ้นให้บุคคลในสถานศึกษาร่วมใช้ทรัพยากรภายในและภายนอก รวมท้ังให้บริการการใช้
ทรพั ยากรภายในเพื่อประโยชน์ตอ่ การเรียนรแู้ ละสง่ เสรมิ การศึกษาในชมุ ชน

4) ประสานความร่วมมือกับผู้รับผิดชอบแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรที่มนุษย์สร้าง
ทรพั ยากรบคุ คลที่มีศกั ยภาพให้การสนบั สนุนการจดั การศึกษา

5) ดาเนินการเชิดชูเกียรติบุคคลและหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่สนับสนุนการใช้ทรัพยากร
ร่วมกันเพื่อการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

10. การวางแผนพสั ดุ
ผู้รับผิดชอบ นางอชั รายุ ชูชะกา หน้าทร่ี ับผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดังนี้
1) การวางแผนพสั ดลุ ่วงหน้า 3 ปี ใหด้ าเนินการตามกระบวนการของการวางแผนงบประมาณ
2) การจัดทาแผนการจัดหาพัสดุให้ฝ่ายท่ีทาหน้าที่จัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้ดาเนินการ โดยให้ฝ่าย

ที่ต้องการใช้พัสดุ จัดทารายละเอียดพัสดุที่ต้องการ คือรายละเอียดเกี่ยวกับปริมาณ ราคา คุณลักษณะเฉพาะ หรือ
แบบรูปรายการและระยะเวลาท่ีตอ้ งการน้ีต้องเป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจาปี (แผนปฏบิ ัติงาน) และตามท่ีระบุไว้
ในเอกสารประกอบพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปี ส่งใหฝ้ ่ายท่ีทาหน้าท่ีจัดซื้อจัดจา้ งเพื่อจัดทาแผนการ
จัดหาพัสดุ

3) ฝ่ายท่จี ัดทาแผนการจัดหาพัสดุทาการรวบรวมขอ้ มูลรายละเอียดจากฝา่ ยท่ีต้องการใช้พัสดโุ ดยมี
การสอบทานกับแผนปฏิบัติงานและเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี และความ
เหมาะสมของวิธีการจัดหาว่าควรเป็นการซ้ือ การเช่าหรือการจัดทาเองแล้วจานาข้อมูลท่ีสอบทานแล้วมาจัดทา
แผนการจดั หาพสั ดใุ นภาพรวมของสถานศึกษา
11. การกาหนดแบบรปู รายการหรือคุณลักษณะเฉพาะของครุภณั ฑ์หรอื ส่ิงก่อสร้างทใ่ี ช้เงนิ งบประมาณเพ่ือสนอง
ตอ่ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

ผู้รบั ผดิ ชอบ นางสาวนติ ยา ราชโยธี หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ัตงิ านดังนี้
1) กาหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะเพื่อประกอบการขอตั้งงบประมาณ ส่งให้
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
2) กรณีท่ีเป็นการจัดหาจากเงินนอกงบประมาณให้กาหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ
ได้โดยให้พิจารณาจากแบบมาตรฐานก่อนหากไม่เหมาะสมก็ให้กาหนดตามความต้องการโดยยึดหลักความโปร่งใส
เป็นธรรมและเปน็ ประโยชนก์ ับทางราชการ
12. การจัดหาพัสดุ
ผ้รู บั ผิดชอบ นางสาวนติ ยา ราชโยธี หน้าที่รับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้
1) การจัดหาพสั ดุถือปฏบิ ัติตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุของส่วนราชการและคาสัง่ มอบอานาจของ
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

16

2) การจัดทาพัสดุถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาว่าด้วยการให้สถานศึกษารับจัดทารับ
บรกิ าร

13. การควบคมุ ดแู ล บารุงรกั ษาและจาหน่ายพัสดุ
ผรู้ ับผดิ ชอบ นางสาวนติ ยา ราชโยธี หนา้ ทร่ี บั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดังน้ี
1) จัดทาทะเบียนคุมทรพั ยส์ ินและบัญชีวสั ดุไม่วา่ จะได้มาด้วยการจดั หาหรือการรบั บรจิ าค
2) ควบคมุ พสั ดใุ หอ้ ยใู่ นสภาพพรอ้ มการใชง้ าน
3) ตรวจสอบพัสดุประจาปี และให้มีการจาหน่ายพัสดุที่ชารุด เส่ือมสภาพหรือไม่ใช้ในราชการอีก

ต่อไป
4) พสั ดทุ ่ีเปน็ ที่ดนิ หรอื ส่ิงกอ่ สร้าง กรณีทไี่ ดม้ าดว้ ยเงนิ งบประมาณให้ดาเนินการขนึ้ ทะเบยี น เป็น

ราชพสั ดุ กรณีท่ีไดม้ าจากการรบั บริจาคหรือจากเงินรายไดส้ ถานศกึ ษาใหข้ ึ้นทะเบยี นเป็นกรรมสิทธิข์ องสถานศึกษา
14. การรับเงนิ การเก็บรกั ษาเงิน และการจา่ ยเงนิ

ผู้รับผดิ ชอบ นางทตุ ิยา ธปู ขนุ ทด หน้าทรี่ บั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดังน้ี
1) การปฏิบัติเกี่ยวกบั การรับเงิน และการจ่ายเงนิ ให้ปฏิบัติตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลังกาหนด
คอื ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลังในหน้าท่ีของอาเภอ พ.ศ. 2520 โดยสถานศึกษาสามารถกาหนด
วิธีปฏบิ ตั ิเพ่ิมเติมได้ตามความเหมาะสมแตต่ อ้ งไมข่ ดั หรือแยง้ กบั ระเบยี บดังกลา่ ว
2) การปฏิบัติเก่ียวกับการเก็บรักษาเงินให้ปฏิบัติตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกาหนด
คอื ระเบยี บการเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลงั ในส่วนของราชการ พ.ศ. 2520 โดยอนุโลม
15. การนาเงินส่งคลัง
ผรู้ ับผดิ ชอบ นางทุตยิ า ธูปขุนทด หน้าที่รับผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดังน้ี
1) การนาเงินส่งคลังให้นาส่งต่อสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาภายในระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ตาม
ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลังในหน้าท่ีของอาเภอพ.ศ. 2520 หากนาส่งเป็นเงินสดให้ต้ัง
คณะกรรมการนาส่งเงนิ ด้วย
16. การจดั ทาบญั ชีการเงิน
ผ้รู ับผิดชอบ นางทตุ ิยา ธปู ขุนทด หน้าทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังนี้
1) ให้จัดทาบัญชีการเงินตามระบบท่ีเคยจัดทาอยู่เดิม คือ ตามระบบที่กาหนดไว้ในคู่มือการบัญชี
หนว่ ยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรือตามระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2544 แล้ว แต่กรณี
17. การจัดทารายงานทางการเงินและงบการเงิน
ผรู้ บั ผดิ ชอบ นางทตุ ยิ า ธูปขุนทด หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) จัดทารายงานตามท่ีกาหนดในคู่มือการบัญชีสาหรับหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรือ ตามระบบ
การควบคุมการเงินของหน่วยงานยอ่ ยพ.ศ. 2515 แล้วแตก่ รณี
2) จัดทารายงานการรับจ่ายเงินรายได้สถานศึกษา ตามท่ีสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐานกาหนด คอื ตามประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานว่าด้วยหลักเกณฑ์ อัตราและวิธีการนา
เงินรายได้สถานศึกษาไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคลรายได้สถานศึกษาไป
จ่ายเป็นค่าใชจ้ ่ายในการจดั การของสถานศึกษาท่เี ป็นนิตบิ คุ คลในสงั กดั เขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา
18. การจดั ทาและจดั หาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียนและรายงาน
ผรู้ บั ผิดชอบ นางทตุ ิยา ธปู ขนุ ทด หน้าท่ีรบั ผิดชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี
1) แบบพิมพ์บัญชี ทะเบียนและแบบรายงานให้จัดทาตามแบบที่กาหนดในคู่มือการบัญชีสาหรับ
หนว่ ยงานยอ่ ย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบการควบคมุ การเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2544


Click to View FlipBook Version