แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1สังเกตสู่สร้างสรรค์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 เรื่องทัศนธาตุในสิ่งแวดแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายชัชชล ขวาธิจักร โรงเรียนบ้านต้องหนองสระปลา 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ1.1 ป.3/3 จ าแนก ทศันธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ม และงานทศันศิลป์ โดยเนน้เรื่อง เส้น สีรูปร่างรูปทรง พ้ืนผิว 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนจา แนกทศันธาตุสิ่งแวดลอ้ม และงานทศันศิลป์ได้(K) 2. นักเรียนเขียนแผนภาพความคิดทัศนธาตุต่างๆ ในงานทัศนศิลป์ ของตนเองได้(P) 3. นักเรียนเห็นความส าคัญของทัศนธาตุที่ใช้ในการสร้างงานทัศนศิลป์(A) 3. สาระส าคัญ ภาพวาดในงานทศันศิลป์โดยทวไป ั่น้นัจา เป็นตอ้งมีรูปร่างรูปทรง เส้น สีพ้ืนผิวเป็นพ้ืนฐาน 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ - ทศันธาตุในสิ่งแวดลอ้มและในงานทศันศิลป์ ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด -จ าแนก -เขียน 5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 7. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 1. ภาพวาดทิวทัศน์ 2. ดินสอ 3. สีไม้ 8.กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่1 กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน :ข้นันา 1.ครูน าภาพวาดเกี่ยวกับวิวทิวทัศน์มาให้นักเรียนดู จากน้นัร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - ภาพที่นักเรียนเห็นคือภาพอะไร (ตัวอย่างค าตอบ ภาพวิวทิวทัศน์) - ภาพมีอะไรบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ มีต้นไม้ มีภูเขา มีทุ่งนา) - สิ่งต่างๆ ที่อยู่ในภาพมีรูปร่างและรูปทรงอย่างไร (ตัวอย่างค าตอบ ต้นไม้มีรูปร่างตรง สูง และมี ใบแผ่ปกคลุมต้น ภูเขามีความสูง และมืดทึบ) - สิ่งต่างๆ ที่อยใู่นภาพมีเส้นลักษณะใดบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ เส้นตรง และเส้นโค้ง) - สิ่งต่างๆ ที่อยใู่นภาพมีสีอะไรบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ ต้นไม้และทุ่งนามีสีเขียว ภูเขามีสีเทา) - สิ่งต่างๆ ที่อยใู่นภาพมีพ้ืนผิวอยา่งไร(ต้นไม้และภูเขามีพื้นผิวที่ขรุขระ) 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ -ให้นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง สังเกตสู่สร้างสรรค์ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้:ข้นัสอน 3. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ภาพวาดในงานทศันศิลป์ที่นกัเรียนเห็นโดยทวั่ ไปน้นัจา เป็นตอ้งมีรูปร่าง รูปทรง เส้น สีพ้ืนผิวเป็นพ้ืนฐาน 4. ให้นกัเรียนสังเกตสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตวัเช่น โต๊ะเกา้อ้ีตน้ ไม้รถยนต์หนงัสือคน ถนน อาคาร เป็นตน้จากน้นัแต่ละคน เลือกสิ่งที่อยรู่อบตวั คนละ 1 อย่าง แลว้อธิบายในหัวขอ้ต่อไปน้ี - สิ่งที่อยรู่อบตวัที่นกัเรียนเลือกอธิบายคืออะไร - สิ่งๆ น้นัมีรูปร่างหรือรูปทรง อย่างไร - สิ่งๆ น้นัมีเส้นลกัษณะใด - สิ่งๆ น้นัมีสีอะไร - สิ่งๆ น้นัมีพ้ืนผิวเป็ นอย่างไร
5.ครูอธิบายให้นกัเรียนฟังว่า บางคร้ังศิลปิ นก็ได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างงานศิลปะจากรูปร่าง รูปทรง เส้น สีพ้ืนผิวที่อยใู่นธรรมชาติรูปร่างรูปทรง เส้น สีและพ้ืนผิวรวมเรียกว่า ทศันธาตุ 6. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประสบการณ์ในการสร้างงานศิลปะโดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - นักเรียนเคยสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอะไรบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ การวาดภาพ การพิมพ์ภาพ การปั้น) - แรงบันดาลใจในการสร้างงานศิลปะของนักเรียนคืออะไร (ตัวอย่างค าตอบ สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว สิ่งต่างๆ ที่ตนเองชื่นชอบ) - ในการสร้างสรรคผ์ลงานทุกคร้ัง นกัเรียนสังเกตหรือไม่ว่าผลงานของนักเรียนมีส่วนประกอบของทัศน ธาตุอะไรบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ เคย / ไม่เคย) 7. ครูให้นกัเรียนวาดภาพระบายสีสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว คนละ 1 ภาพ 8. ให้นักเรียนสังเกตภาพวาดของตนเองว่ามีลักษณะรูปร่าง รูปทรง เส้น สีและพ้ืนผิวเป็นอยา่งไรและ พิจารณาทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง เส้น สีและพ้ืนผิวในงานวาดภาพของตนเองจากน้นัเขียนเป็นแผนภาพความคิด ด้านหลังผลงาน ดังตัวอย่าง กิจกรรมรวมยอด: ข้นัสรุป 9.นกัเรียนและครูร่วมกนัสรุปความรู้ดงัน้ีภาพวาดในงานทศันศิลป์โดยทวั่ ไปน้นัจา เป็นตอ้งมีรูปร่าง รูปทรง เส้น สีพ้ืนผิวเป็นพ้ืนฐาน 10. ให้นกัเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถามทา้ทาย ดงัน้ี - นักเรียนคิดว่าทัศนธาตุต่างๆ ที่อยใู่นสิ่งแวดลอ้ม มีความสา คญัตอ่การสร้างงานทัศนศิลป์ อย่างไร ค าศัพท์ ทิวทัศน์ landscape ชิ้นงาน / ภาระงาน แบบทดสอบเรื่อง สังเกตสู่สร้างสรรค์ เส้น พ้ืนผิว สี รูปร่าง รูปทรง ชื่อผลงานทัศนศิลป์ ..................................
9.การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 การท าแบบทดสอบ 2. เครื่องมือ 2.1 ประเมินจากแบบทดสอบ 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินการตดัสินภาระงาน / ชิ้นงาน เรื่อง สังเกตสู่สร้างสรรค์ เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน 4 ดีมาก (10 คะแนน) 3 (9 คะแนน) 2 (7-8 คะแนน) 1 (5-6 คะแนน) สังเกตสู่สร้างสรรค์ ท าแบบทดสอบได้ ถูกต้อง 9-10 ข้อ ท าแบบทดสอบได้ ถูกต้อง 7-8 ข้อ ท าแบบทดสอบได้ ถูกต้อง 5-6ข้อ ท าแบบทดสอบได้ ถูกต้อง 1-4 ข้อ 3.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งภายในและภายนอกโรงเรียน ั ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) 4.2.1ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ จากหนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อเทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ท้งั ภายใน และ ภายนอกโรงเรียน และ เลือกใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม 4.2.2 บันทึกความรู้วิเคราะห์ ขอ้มูลจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็น องค์ความรู้ 4.2.3แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย วิธีการต่าง ๆและน าไปใช้ ในชีวิตประจ าวัน ไม่ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ จาก หนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อ เทคโนโลยีหรือ จากแหล่งเรียนรู้ อื่น ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ ์สื่อ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น และมีการบันทึก ความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น มี การบันทึกความรู้ และแลกเปลี่ยน ความรู้กับผู้อื่น
3.3 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ข้อ2. ความสามารถในการคิด ความสามารถ ดีมาก(3) ดี (2) ผ่าน (1) 1. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 4. มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 5. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม ่าเสมอ ให้ 3 คะแนน = ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน = ดี พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน = พอใช้ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แบบทดสอบวิชา ทัศนศิลป์ หน่วยที่ 1 เรื่อง สังเกตสู้สร้างสรรค์ ชื่อ........................................................ นามสกุล.................................................. ช้นั...............เลขที่.......... ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ตวัช้ีวดัศ1.1 ป.3/3 จ าแนก ทศันธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ม และงานทศันศิลป์ โดยเนน้เรื่อง เส้น สีรูปร่างรูปทรง พ้ืนผิว ค าสั่ง :ระบายในวงกลมที่เป็ นค าตอบที่ถูกที่สุด ในกระดาษค าตอบ 1.ขอ้ใดบา้งที่เป็นเส้นโคง้ท้งหมดั ฝาขวด นาฬิกา ธนบัตร ปากกา ดินสอ สมุด ถูกทุกข้อ 2. สิ่งใดบา้งที่มีรูปร่างเหมือนแตงโม ปากกา ส้ม ยางลบ สีไม้ ส้ม ลูกบอล ดอกไม้ สมุด 3. สิ่งใดเป็นสิ่งที่ธรรมชาติสร้างข้ึน คอมพิวเตอร์ แหวน ทะเล กระเป๋ า 4. ข้อใดเป็นรูปทรงกลม ลูกปิ งปอง ลูกธนู ลูกขนไก ลูกเต๋า 5. ภาพคลื่นทะเลประกอบด้วยเส้นใด เส้นตรง เส้นโค้ง เส้นเฉียง เส้นคลื่น 6. สิ่งใดเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้าง คอมพิวเตอร์ ต้นไม้ ทะเล แมว 7. เราใช้อวัยวะใดสังเกตลักษณะภายนอกวัตถุ ปาก มือ ตา จมูก 8. ภาพใดควรระบายด้วยสีฟ้า ทะเลทราย ท้องฟ้า ทุ่งหญ้า ป่ าไม้ 9. ลูกปิงปองมีพ้ืนผิวอยา่งไร ขรุขระ เรียบ เปียกลื่น นุ่ม 10. ภาพก้อนเมฆเวลาฝนตก ควรระบายด้วยสีใด ฟ้า เทา แดง เหลือง
เฉลยแบบทดสอบเรื่อง สังเกตสู่สร้างสรรค์ 1. 1 6. 1 2. 3 7. 3 3. 3 8. 2 4. 1 9. 2 5. 4 10 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1สังเกตสู่สร้างสรรค์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 เรื่องการถ่ายทอดความรู้สึกที่เห็นออกมาเป็ นผลงาน เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายชัชชล ขวาธิจักร โรงเรียนบ้านต้องหนองสระปลา 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ1.1 ป.3/1 บรรยายรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้มและงานทศันศิลป์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกรูปร่างลกัษณะของสิ่งต่างๆ รอบตัวได้(K) 2. นักเรียนสังเกตสิ่งที่อยู่รอบตัวแล้วฝึ กฝนการวาดได้(P) 3. นักเรียนเห็นความส าคัญของการเป็ นคนช่างสังเกต(A) 3. สาระส าคัญ ความงามของรูปร่าง รูปทรง เส้น สี และความสมดุลของธรรมชาติรอบๆ ตัว สามารถเป็ นต้นแบบและแรง บนัดาลใจให้ศิลปินเกิดความซาบซ้ึงและอยากบนัทึกไว้เป็นผลงาน 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ -การถ่ายทอดความรู้สึกที่เห็นออกมาเป็ นผลงาน ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด -บอก -สังเกต 5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 7. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 1. ภาพวาด เช่น วิวทะเล ดอกไม้ 2. ดินสอ 3. สีไม้ 8.กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่2 กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน :ข้นันา 1. ครูติดภาพวาดสิ่งต่างๆ เช่น ภาพหมู่มวลดอกไม้ภาพวิวชายทะเล ภาพกล้วยไม้ ให้นักเรียนดูบนกระดาน จากน้นัร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - ภาพที่นักเรียนเห็นมีภาพอะไรบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ ภาพวิวทิวทัศน์) - ภาพต่างๆ ที่นักเรียนเห็นสวยหรือไม่ (ตัวอย่างค าตอบ สวย) - ภาพต่างๆ ที่เห็น มีรูปร่าง รูปทรง เส้น สีพ้ืนผิวเป็นอยา่งไร(นักเรียนตอบตามประสบการณ์) - นักเรียนคิดว่าศิลปินที่วาดภาพต่างๆ เหล่าน้ีตอ้งการสื่อความหมายอะไร (ตัวอย่างค าตอบ ความงามของดอกไม้ ชนิดต่างๆ ความสวยงามและเย็นสบายของชายทะเล ความสวยงามและเป็ นเอกลักษณ์ของกล้วยไม้) - นกัเรียนเคยพบเห็นสิ่งต่างๆ แล้วเกิดความประทับใจหรือไม่ (ตัวอย่างค าตอบ เคย) - นักเรียนเคยมีความคิดอยากที่จะบนัทึกสิ่งต่างๆ ที่ตนเองประทบั ใจไวเ้ป็นผลงานของตนเองหรือไม่ (ตัวอย่าง ค าตอบ เคยคิด) 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้:ข้นัสอน 3. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ความงามของรูปร่าง รูปทรง เส้น สี และความสมดุลของธรรมชาติรอบๆ ตัว สามารถเป็ นต้นแบบและแรงบันดาลใจให้ศิลปินเกิดความซาบซ้ึง และอยากบนัทึกไวเ้ป็นผลงาน เช่น ดอกไมห้ลาก ชนิดหลากสีสันสวยงามท่ามกลางหมู่แมลง หรือชายทะเลที่สวยสดใส มีก้อนเมฆรูปร่างแปลกตาน่าชม แสงอาทิตย์สีส้มส่องมายังชายหาดสีทอง เส้นของเกลียวคลื่นที่มว้นตวัเขา้มากระทบฝั่ง สิ่งเหล่าน้ีลว้นเป็นสิ่ง บันดาลใจให้ศิลปิ นในการสร้างสรรค์ผลงาน 4.ครูให้นกัเรียนเล่าประสบการณ์ความประทบั ใจต่อสิ่งต่างๆ ที่เคยพบเห็น คนละ1 ประสบการณ์ 5. นักเรียนถ่ายทอดความประทบั ใจต่อสิ่งต่างๆ ออกมาเป็นภาพวาด คนละ 1 ภาพ ในระหว่างที่นักเรียน สร้างสรรค์ผลงานการวาดภาพสิ่งที่ตนเองประทบั ใจ ครูให้ข้อสังเกตกับนักเรียนว่า ในการวาดภาพระบายสีไม่ จ าเป็ นต้องวาดภาพระบายสีจนเหมือนภาพจริง นักเรียนอาจจะมีจินตนาการใช้สีที่เหนือจริง เรียกว่า การเขียนสี ตามความรู้สึก ซึ่งไม่ใช่การเขียนตามที่ตามองเห็นโดยตรง ก็จะได้ภาพที่น่าชมไปอีกแบบ และอาจ
ตัดทอนหรือแต่งเติมรายละเอียดของภาพได้ตามความคิดสร้างสรรค์ 6. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมกบันกัเรียนว่า ธรรมชาติและสิ่งของรอบๆ ตวัเราสามารถเป็นครูให้กบัเราได้ถา้ นกัเรียนรู้จกัสังเกตและมองดว้ยสายตาของศิลปิน นกัเรียนจึงตอ้งสังเกตดูสีสันที่เห็นในสิ่งแวดลอ้มให้เขา้ใจแล้วฝึ ก การวาดภาพ ระบายสีให้ช านาญจนสามารถถ่ายทอดสีที่ตาเห็นออกมาเป็ นภาพได้อย่างลงตัว กิจกรรมรวมยอด: ข้นัสรุป 7. นกัเรียนและครูร่วมกนัสรุปความรู้ดงัน้ีธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้มรอบๆ ตวัสามารถเป็น แรงบันดาลใจ ในการสร้างสรรค์ผลงาน ถ้าเรารู้จักสังเกตและมองสิ่งต่างๆ เหล่าน้นัดว้ยสายตาของศิลปิน 8. ให้นกัเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถามทา้ทาย ดงัน้ี - ถ้านักเรียนต้องการเป็นจิตรกรวาดภาพที่มีชื่อเสียงจะเริ่มตน้ฝึกฝนตนเองอยา่งไร ค าศัพท์ สวนดอกไม้ flower garden ชิ้นงาน / ภาระงาน ใบงานที่ 1เรื่องภาพที่ถ่ายทอดความรู้สึกต่อสิ่งต่างๆ ที่พบเห็น
9.การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1การท าใบงาน 2. เครื่องมือ 2.1 ประเมินจากใบงาน 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1การประเมินการตดัสินภาระงาน / ชิ้นงาน เรื่อง ภาพที่ถ่ายทอดความรู้สึกต่อสิ่งต่างๆ ที่พบเห็น เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน 4 ดีมาก (10 คะแนน) 3 (9 คะแนน) 2 (7-8 คะแนน) 1 (5-6 คะแนน) ภาพที่ถ่ายทอด ความรู้สึกต่อสิ่ง ต่างๆ ที่พบเห็น ถ่ายทอดความรู้สึกที่ ไดพ้บเห็นสิ่งๆต่าง รอบตัวออกมาเป็ น ผลงานได้อย่าง สร้างสรรค์สวยงาม ถ่ายทอดความรู้สึกที่ ไดพ้บเห็นสิ่งๆต่าง รอบตัวออกมาเป็ น ผลงานได้อย่าง สร้างสรรค์ ถ่ายทอดความรู้สึกที่ ไดพ้บเห็นสิ่งๆต่าง รอบตัวออกมาเป็ น ผลงานได้ ถ่ายทอดความรู้สึกที่ ได้พบเห็นออกมา เป็ นผลงานได้
3.2คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) 4.2.1 ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อเทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ท้งั ภายใน และ ภายนอกโรงเรียน และ เลือกใช้สื่อได้ อย่าง เหมาะสม 4.2.2 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ข้อมูลจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็ น องค์ความรู้ 4.2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วย วิธีการต่าง ๆและน าไปใช้ ในชีวิตประจ าวัน ไม่ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ จาก หนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อ เทคโนโลยี หรือ จาก แหล่งเรียนรู้ อื่น ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ ์ สื่อ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น และมีการบันทึก ความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น มี การบันทึกความรู้ และแลกเปลี่ยน ความรู้กับผู้อื่น
3.3 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ข้อ2. ความสามารถในการคิด ความสามารถ ดีมาก (3) ดี (2) ผ่าน (1) 1. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 4. มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 5. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม ่าเสมอ ให้ 3 คะแนน = ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน = ดี พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน = พอใช้ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1สังเกตสู่สร้างสรรค์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 เรื่องการจัดกลุ่มของภาพตาม ทัศนธาตุที่เน้นในงานทัศนศิลป์ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายชัชชล ขวาธิจักร โรงเรียนบ้านต้องหนองสระปลา ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/3 จา แนกทศันธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ม และงานทศันศิลป์โดยเนน้ เรื่อง เส้น สีรูปร่าง รูปทรง พ้ืนผิว ศ1.1 ป.3/9 ระบุและจัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตุที่เน้นในงานทัศนศิลป์ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนระบุกลุ่มภาพตามทัศนธาตุที่เน้นในงานทัศนศิลป์ได้(K) 2. นักเรียนจัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตุที่เน้นในงานทัศนศิลป์ได้(P) 3. นักเรียนชื่นชมผลงานทศันศิลป์ท้งภาพลายเส้นและภาพกลุ่มสีต่างๆ ั (A) 3. สาระส าคัญ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ สามารถถ่ายทอดความคิดลงบนภาพได้อย่างหลากหลาย โดยเน้นการใช้ทัศนธาตุ ที่แตกต่าง 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ -การจัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตุที่เน้นในงานทัศนศิลป์ ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด -ระบุ -จัดกลุ่ม 5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ . 7สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ ภาพวาด สีน้า สีเทียน 8.กิจกรรม /กระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่3 กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน :ข้นันา 1.ทักทายพูดคุยเกี่ยวกบัสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเรา และถามนกัเรียนว่าสิ่งที่อยรู่อบตวัเราที่ทัศนธาตุเป็ น ลักษณะอย่างไรให้นักเรียนยกตัวอย่าง 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้:ข้นัสอน 3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็ น 4 กลุ่ม ครูน าภาพลายเส้นและภาพที่ระบายดว้ยสีเทียน สีไม้สีน้า หรือสี โปสเตอร์ มาให้นักเรียนดูกลุ่มละ 1 ภาพ ให้แต่ละกลุ่มจ าแนกทัศนธาตุต่างๆ ของภาพ เช่น รูปร่าง รูปทรง เส้น สี และพ้ืนผิวจากน้นัแต่ละกลุ่มออกมานา เสนอหนา้ช้นั 4. นักเรียนน าภาพในข้อ 1 มาติดลงบนกระดาน แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - ภาพที่นักเรียนเห็นมีภาพอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) - ภาพที่นักเรียนเห็นมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ เป็ นภาพที่มีรายละเอียดไม่ เหมือนกัน มีภาพที่เป็ นลายเส้นไม่ลงสี และภาพที่ลงสีชนิดต่างๆ) - ภาพใดเป็นภาพสีน้า หรือสีโปสเตอร์ (นักเรียนตอบตามความเป็ นจริง) - ภาพใดเป็ นภาพสีเทียน (นักเรียนตอบตามความเป็ นจริง) - ภาพใดเป็ นภาพสีไม้ (นักเรียนตอบตามความเป็ นจริง) - ภาพใดเป็ นภาพลายเส้น (นักเรียนตอบตามความเป็ นจริง) - ภาพลายเส้นที่นักเรียนเห็นมีความสวยงามหรือไม่(ตัวอย่างค าตอบ มีความสวยงาม) 5.ครูอธิบายให้นกัเรียนฟังว่า ในงานทศันศิลป์นกัเรียนจะสังเกตไดว้่า สิ่งใดเป็นเส้น สีรูปร่าง รูปทรง สิ่ง เหล่าน้ีก็คือทศันธาตุนนั่เองแมว้่าภาพบางภาพจะไม่ลงสี แต่ก็เกิดความสวยงามได้ ภาพสีจะเน้นทัศนธาตุที่ต่างจากภาพลายเส้น คือเน้นการใช้สีสันในภาพ ไม่ว่าจะเป็นสีเทียน สีไม้สีน้า หรือ สีโปสเตอร์ ซึ่งในการสร้างงานทัศนศิลป์ นักเรียนสามารถถ่ายทอดความคิดลงบนภาพได้อย่างหลากหลาย โดยเน้น การใช้ทัศนธาตุที่แตกต่างกัน จากน้นันกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น ดงัน้ี - ถ้าให้นักเรียนจัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตุ นักเรียนจะจัดกลุ่มตามทัศนธาตุอะไร (ตัวอย่างค าตอบ สี) -
นักเรียนจะจัดกลุ่มภาพต่างๆ เป็ นกลุ่มภาพอะไรบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ กลุ่มภาพลายเส้น กลุ่ม ภาพสีน ้าหรือสีโปสเตอร์ กลุ่มภาพสีไม้ และกลุ่มภาพสีเทียน) ครูเขียนค าตอบของนักเรียนเป็นแผนภาพความคิดลงบนกระดาน ดงัน้ี 6.ครูนา ภาพลายเส้น ภาพสีน้า หรือสีโปสเตอร์ภาพสีไม้ภาพสีเทียน อยา่งละ3– 4 ภาพ มาให้นักเรียนดู จากน้นั ให้นกัเรียนร่วมกนัจดักลุ่ม ว่าภาพต่างๆ ที่ครูน ามาให้ดูเป็ นภาพในกลุ่มภาพชนิดใด ให้นักเรียนน าภาพต่างๆ เหล่าน้นั ไปติดลงบนแผนภาพความคิดลงบนกระดาน ครูตรวจสอบความถูกตอ้ง ให้นกัเรียนร่วมกนัแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกลุ่มภาพตามทัศนธาตุที่เนน้ ในงานทศันศิลป์โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - นักเรียนชอบงานทัศนศิลป์ ในกลุ่มภาพใดมากที่สุด เพราะอะไร (นักเรียนตอบตามความคิด) กิจกรรมรวมยอด: ข้นัสรุป 7. นกัเรียนและครูร่วมกนัสรุปความรู้ดงัน้ีในการสร้างงานทศันศิลป์เราสามารถใชท้ศันธาตุที่แตกต่าง สร้างงานทัศนศิลป์ ได้อย่างหลากหลาย 8. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถามทา้ทาย ดงัน้ี - นักเรียนคิดว่าภาพในกลุ่มใดสวยที่สุด ค าศัพท์ สีไม้ wood color ชิ้นงาน / ภาระงาน - กลุ่มภาพ ลายเส้น กลุ่มภาพสี เทียน กลุ่มภาพสีน้า หรือสี โปสเตอร์ กลุ่มภาพสี ไม้ กลุ่มภาพตามทัศน ธาตุ
9.การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 ระดับ ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง 3.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) 4.2.1ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ จากหนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อเทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ท้งั ภายใน และ ภายนอกโรงเรียน และ เลือกใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม 4.2.2 บันทึกความรู้วิเคราะห์ ขอ้มูลจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็น องค์ความรู้ 4.2.3แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย วิธีการต่าง ๆและน าไปใช้ ในชีวิตประจ าวัน ไม่ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ จาก หนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อ เทคโนโลยีหรือ จากแหล่งเรียนรู้ อื่น ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ ์สื่อ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น และมีการบันทึก ความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น มี การบันทึกความรู้ และแลกเปลี่ยน ความรู้กับผู้อื่น
3.3 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ข้อ2. ความสามารถในการคิด ความสามารถ ดีมาก (3) ดี (2) ผ่าน (1) 1. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 4. มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 5. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม ่าเสมอ ให้ 3 คะแนน = ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน = ดี พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน = พอใช้ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม เลข ที่ ชื่อ-สกุล รายการ รับผิดชอบ งานที่ได้รับ มอบหมาย (2คะแนน) รับฟังความ คิดเห็นของ คนอื่น (2คะแนน) น าเสนอ ผลงานได้ น่าสนใจ (2คะแนน) มีความริเริ่ม สร้างสรรค์ (2คะแนน) ท างานเสร็จ ตามเวลาที่ ก าหนด (2คะแนน) รวม (10 คะแนน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1สังเกตสู่สร้างสรรค์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 เรื่องการฝึ กฝนทักษะพื้นฐาน ในการท างานทัศนศิลป์ : สังเกตเส้นในธรรมชาติ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายชัชชล ขวาธิจักร โรงเรียนบ้านต้องหนองสระปลา 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/3 จา แนกทศันธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ม และงานทศันศิลป์ โดยเนน้เรื่อง เส้น สีรูปร่างรูปทรง พ้ืนผิว 2.จุดประสงค์ปลายทางการเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกลักษณะของเส้นต่าง ๆ ในธรรมชาติได้(K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานการวาดภาพโดยอาศัยการสังเกตเส้นต่าง ๆ ในธรรมชาติได้(P) 3. นักเรียนชื่นชมผลงานการวาดภาพของตนเองและผู้อื่น(A) 3. สาระส าคัญ ภาพทุกภาพล้วนเกิดจากเส้นโค้งและเส้นตรง 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ -การสังเกตเส้นในธรรมชาติ ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด -บอก -สร้างสรรค์ 5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 7. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ ภาพวาดสิ่งต่างๆรอบตวั 8.กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่4 กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน :ข้นันา 1. ทกัทายพูดคุยเกี่ยวกบัสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตวัเราและถามนกัเรียนว่าสิ่งที่อยรู่อบตวัเราที่เป็ นลักษณะของ เส้นธรรมชาติมีอะไรบ้าง ให้นักเรียนยกตัวอย่าง 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้:ข้นัสอน 3. ให้นักเรียนสังเกตธรรมชาติและสิ่งรอบตวั จากน้นั นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้ค าถาม ดงัน้ี - สิ่งต่างๆ ที่อยู่ในธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้มรอบๆ ตวัของนกัเรียน มีอะไรบา้ง (ตัวอย่างค าตอบ ต้นไม้ อาคารเรียน รั้วโรงเรียน โต๊ะ เก้าอี้ ) - สิ่งต่างๆ เหล่าน้ีมีเส้นลักษณะใดบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ เส้นโค้ง เส้นตรง) - สิ่งต่างๆ ที่นกัเรียนมองเห็น มีอะไรบา้งที่เป็นเส้นตรงและมีอะไรบ้างที่เป็ นเส้นโค้ง (นักเรียน ตอบตามสิ่งที่เห็น) - เมื่อนกัเรียนมองสิ่งต่างๆ ที่เป็นเส้นโคง้นกัเรียนรู้สึกอยา่งไร(ตัวอย่างค าตอบ รู้สึกถึงความ อ่อนไหว การเคลื่อนไหว) - เมื่อนกัเรียนมองสิ่งต่างๆ ที่เป็นเส้นตรง นกัเรียนรู้สึกอยา่งไร(ตัวอย่างค าตอบ รู้สึกถึงความ มั่นคง และแข็งแรง) 4.ครูอธิบายให้นกัเรียนฟังเพิ่มเติมว่า ในธรรมชาติมีเส้นโค้งมากมาย นักเรียนลองสังเกตแล้วคิดตาม อาจ ค้นพบภาพที่ประกอบด้วยเส้นโค้งอีกหลายภาพ เช่น เส้นขดที่มีอยู่มากมายและหลากหลายในธรรมชาติ เส้นต่างๆ สามารถแสดงอารมณ์และความรู้สึกได้ 5. นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี 6. ครูให้นกัเรียนเล่นเกม แข่งวาดเส้นในธรรมชาติโดยมีวิธีการเล่น ดงัน้ี 1. แบ่งกลุ่มนักเรียน ออกเป็ น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน 2. ครูแจกกระดาษปรู๊ฟให้แต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 2 แผ่น พร้อมอุปกรณ์วาดภาพ กลุ่มละ 1 ชุด 3. แต่ละกลุ่มเขียนชื่อกลุ่มและสมาชิกของกลุ่มลงด้านหลังของกระดาษ
4. ให้นกัเรียนแต่ละกลุ่ม วาดภาพ สิ่งต่างๆ ในธรรมชาติที่เป็ นเส้นโค้งให้ได้มากที่สุด ลงใน กระดาษปรู๊ฟ แผ่นที่1และวาดภาพ สิ่งต่างๆ ในธรรมชาติที่เป็นเส้นตรงให้ได้มากที่สุด ลงในกระดาษ ปรู๊ฟแผ่นที่ 2 5). ครูให้เวลาในการวาดภาพ 30 นาทีเมื่อหมดเวลา แต่ละกลุ่มน าผลงานออกมาน าเสนอ หน้า ช้นั 6. กลุ่มที่วาดภาพสิ่งต่างๆ ที่เป็ นเส้นตรง และเส้นโค้งได้มากที่สุด เป็นกลุ่มที่ชนะ 7. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นหลังจากเล่นเกม โดยครูใช้ค าถาม ดงัน้ี - กลุ่มที่ชนะการเล่นเกม คือกลุ่มใด (นักเรียนตอบตามความเป็ นจริง) - นกัเรียนคิดว่าเพราะอะไรกลมุ่ที่ชนะการเล่นเกม จึงวาดภาพสิ่งต่างๆ ได้อย่างมากมายและไม่ซ้า กัน (ตัวอย่างค าตอบ เพราะเป็ นคนช่างสังเกตสิ่งต่างๆ รอบตัว มีทักษะการวาดภาพที่ดี มีการวางแผนใน การวาดภาพก่อนลงมือวาด มีความสามัคคีกันในกลุ่ม) ครูอธิบายให้นกัเรียนฟังเพิ่มเติมว่าการเป็นคนช่างสังเกต จะทา ให้เราจดจา สิ่งต่างๆ รอบตวั ไดอ้ยา่งแม่นยา และหลากหลาย และหากนักเรียนสังเกตสิ่งต่างๆ รอบตวัแลว้หมนั่ฝึกฝนการวาดภาพเหล่าน้นับ่อยๆ จะทา ให้เป็น คนที่วาดภาพต่างๆ ได้ดี สา หรับการทา งานกลุ่มทุกคร้ังก่อนลงมือทา งานควรมีการวางแผนข้นัตอนต่างๆ ของการ ท างาน และที่ส าคัญที่สุดในการท างานกลุ่ม คือ ความสามัคคี ที่จะช่วยให้งานต่างๆ ออกมาดีและประสบผลส าเร็จ 8. นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวาดภาพให้เรียบร้อย กิจกรรมรวมยอด: ข้นัสรุป นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า ภาพทุกภาพล้วนเกิดจากเส้นโค้งและเส้นตรง เส้นต่างๆ สามารถแสดงอารมณ์ และความรู้สึกได้ ค าศัพท์ เส้น line ชิ้นงาน / ภาระงาน -
9.การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 ระดับ ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง 3.2คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) 4.2.1ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ จากหนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อเทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ท้งั ภายใน และ ภายนอกโรงเรียน และ เลือกใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม 4.2.2 บันทึกความรู้วิเคราะห์ ขอ้มูลจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็ น องค์ความรู้ 4.2.3แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย วิธีการต่าง ๆและน าไปใช้ ในชีวิตประจ าวัน ไม่ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ จาก หนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อ เทคโนโลยีหรือ จากแหล่งเรียนรู้ อื่น ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ ์สื่อ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น และมีการบันทึก ความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น มี การบันทึกความรู้ และแลกเปลี่ยน ความรู้กับผู้อื่น
3.3 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ข้อ4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถ ดีมาก(3) ดี (2) ผ่าน (1) 1. เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย 2. สามารถท างานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ 3. น าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 4. จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม 5. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม ่าเสมอ ให้ 3 คะแนน = ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน = ดี พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน = พอใช้ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม เลข ที่ ชื่อ-สกุล รายการ รับผิดชอบ งานที่ได้รับ มอบหมาย (2คะแนน) รับฟังความ คิดเห็นของ คนอื่น (2คะแนน) น าเสนอ ผลงานได้ น่าสนใจ (2คะแนน) มีความริเริ่ม สร้างสรรค์ (2คะแนน) ท างานเสร็จ ตามเวลาที่ ก าหนด (2คะแนน) รวม (10 คะแนน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1สังเกตสู่สร้างสรรค์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 เรื่องวาดเส้นให้สนุก เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายชัชชล ขวาธิจักร โรงเรียนบ้านต้องหนองสระปลา 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/3 จา แนกทศันธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ม และงานทศันศิลป์ โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พ้ืนผิว 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกวิธีต่างๆ ของวาดเส้นได้(K) 2. นักเรียนวาดเส้นด้วยวิธีต่าง ๆได้(P) 3. นักเรียนชื่นชมผลงานการวาดภาพของตนเองและผู้อื่น(A) 3. สาระส าคัญ การวาดเส้นให้สนุก สามารถวาดไดห้ลายวิธีเช่น วาดแบบประณีตเล้ียงเส้นให้สะอาด วาดแบบหวัด วาด แบบฝนเส้น วาดแบบเส้นขมวดลื่นไหลวกวน วาดแบบเส้นตัดกันไปมา วาดด้วยเส้นขาด วาดด้วยเส้นพู่กัน เป็ นต้น 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ -วาดเส้นให้สนุก ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด -บอก -วาด 5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 7. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 1.กระดาษ 2. ดินสอ 3. สีไม้ 8.กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่5 กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน :ข้นันา 1. ทกัทายพูดคุยเกี่ยวกบัสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตวัเราและถามนักเรียนเคยวาดเส้นและเส้นที่นักเรียนวาดมี ลักษณะอย่างไรให้นักเรียนยกตัวอย่าง 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้:ข้นัสอน 3.ครูวาดเส้นลกัษณะต่างๆ ลงบนกระดาน ให้นกัเรียนดูดงัน้ี 1.วาดแบบประณีตเล้ียงเส้นให้สะอาด 2. วาดแบบหวัด 3. วาดแบบฝนเส้น 4. วาดแบบเส้นขมวดลื่นไหลวกวน 5. วาดแบบเส้นตัดกันไปมา 6. วาดแบบเส้นขาด 7. วาดเส้นด้วยพู่กัน จากน้นันกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - ภาพที่ครูวาดให้ดู มีเส้นอะไรบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ เส้นโค้ง เส้นตรง เส้นขด) - นกัเรียนเคยเห็นเส้นต่างๆ เหล่าน้ีในภาพอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) - นกัเรียนคิดว่าการฝึกวาดเส้นต่างๆ เหล่าน้ีมีความสา คญัต่อการวาดภาพหรือไม่อยา่งไร (ตัวอย่างค าตอบ มีความส าคัญ เพื่อน าไปใช้เป็ นพื้นฐานในการวาดภาพ) 4.ครูอธิบายให้นกัเรียนฟังเพิ่มเติมว่าการวาดเส้นให้สนุก สามารถวาดไดห้ลายวิธี เช่น วาดแบบประณีต เล้ียงเส้นให้สะอาด วาดแบบหวดัวาดแบบฝนเส้น วาดแบบเส้นขมวดลื่นไหลวกวน วาดแบบเส้นตดักนัไปมาวาด ด้วยเส้นขาด วาดเส้นด้วยพู่กัน 5. นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการวาดเส้นด้วยวิธีการต่างๆและฝึ กวาดเส้นด้วยวิธีการต่างๆ 6. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวสัดุอุปกรณ์ที่ใชว้าดเส้น โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี
- นอกจากดินสอที่นักเรียนใช้ในการวาดเส้นแล้ว นักเรียนคิดว่า มีวัสดุอุปกรณ์อะไรอีกบ้างที่ สามารถน ามาใช้ในการวาดเส้นและวาดภาพต่างๆ ได้ (ตัวอย่างค าตอบ สีเทียน สีไม้ ปากกา ปากกาเคมี พู่กัน) ให้นักเรียนใช้อุปกรณ์ต่างๆ ฝึ กวาดเส้นด้วยวิธีการต่างๆ 7. ครูสาธิตการวาดภาพโดยใช้ส่วนประกอบของเส้นต่างๆ 1 -2 ภาพ ลงบนกระดาน ให้นกัเรียนดูจากน้นั นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - ภาพที่ครูวาดให้ดูบนกระดาน ใช้วิธีการวาดเส้น โดยวิธีการใดบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ การวาด แบบขมวดลื่นไหล การวาดแบบประณีตเลี้ยงเส้นให้สะอาด) - ถ้าให้นักเรียนน าวิธีการวาดเส้นต่างๆ มาใช้ในการวาดภาพ นักเรียนจะใช้ประกอบ การวาดภาพ อะไร (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) 8. ให้นักเรียนวาดภาพโดยน าวิธีการวาดเส้นวิธีต่างๆ มาใช้เป็ นส่วนประกอบของภาพ คนละ 1 ภาพ ครูคอย แนะน าและให้ก าลังใจ 9. นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวาดภาพให้เรียบร้อย กิจกรรมรวมยอด: ข้นัสรุป นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า ภาพทุกภาพล้วนเกิดจากเส้นโค้งและเส้นตรง เส้นต่างๆ สามารถแสดงอารมณ์ และความรู้สึกได้ ค าศัพท์ วาด Drawing ชิ้นงาน / ภาระงาน -วาดเส้นตามจินตนาการ
9.การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนการปฏิบัติงาน 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินพฤติกรรมของนักเรียนการปฏิบัติงาน 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ผ่านต้งัแต่2รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน 3.2คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) 4.2.1ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ จากหนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อเทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ท้งั ภายใน และ ภายนอกโรงเรียน และ เลือกใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม 4.2.2 บันทึกความรู้วิเคราะห์ ขอ้มูลจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็ น องค์ความรู้ 4.2.3แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย วิธีการต่าง ๆและน าไปใช้ ในชีวิตประจ าวัน ไม่ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ จาก หนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อ เทคโนโลยีหรือ จากแหล่งเรียนรู้ อื่น ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น และมีการบันทึก ความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น มี การบันทึกความรู้ และแลกเปลี่ยน ความรู้กับผู้อื่น
3.3 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ข้อ4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถ ดีมาก(3) ดี (2) ผ่าน (1) 1. เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย 2. สามารถท างานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ 3. น าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 4. จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม 5. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม ่าเสมอ ให้ 3 คะแนน = ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน = ดี พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน = พอใช้ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แบบสังเกตพฤติกรรม ในชั้นเรียนรายบุคคล ค าชี้แจง ให้ท าเครื่องหมาย / ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในขณะปฏิบัติกิจกรรม เลข ที่ ชื่อ-สกุล รายการ สรุปผลการ ประเมิน ร่วมมือในการ ท ากิจกรรม กล้าแสดงออก ร่วมกิจกรรมด้วย ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1สังเกตสู่สร้างสรรค์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 เรื่องพ้ืนผิวในงานปั้น เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายชัชชล ขวาธิจักร โรงเรียนบ้านต้องหนองสระปลา 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/3 จา แนกทศันธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ม และงานทศันศิลป์ โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พ้ืนผิว 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกลักษณะของพ้ืนผิวในงานป้ันได้(K) 2. นักเรียนสร้างพ้ืนผิวอยา่งง่ายให้กบังานป้ันของตนเองได้(P) 3. นักเรียนชื่นชมผลงานการป้ันของตนเองและผอู้ื่น(A) 3. สาระส าคัญ นอกจากงานวาดแลว้งานป้ันทมี่ีมิติสามารถสัมผสัและรับรู้ไดท้ ้งัทางตาและกาย ไม่ว่างานป้ันน้นัจะเป็น นูนสูง นูนต่า หรือลอยตวัก็สามารถแสดงพ้ืนผิวไดด้ว้ยการแปะ ปะ กด หรือขูดขีดเพื่อให้เกิดพ้ืนผิวที่มีลกัษณะ แตกต่างกัน 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ -พ้ืนผิวในงานป้ัน ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด -บอก -สร้าง 5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 7. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 1. งานป้ัน 2. ดินน้า มนั 8.กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่6 กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน :ข้นันา 1. ทักทายพูดคุยเกี่ยวกับพ้ืนผิวสิ่งต่างๆที่อยรู่อบตวัเราและถามนักเรียนว่าพ้ืนผิวในงานป้ันที่อยู่รอบตัว เราเป็ นลักษณะอย่างไรให้นักเรียนยกตัวอย่าง 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้:ข้นัสอน 3. นักเรียนทบทวนความรู้เรื่อง เส้นสร้างพ้ืนผิว โดยให้นกัเรียนยกตวัอยา่งสิ่งต่างๆ ที่มีผิวเรียบ และ ผิวขรุขระที่เคยพบเห็น จากน้นั ให้ตวัแทนนกัเรียนออกมาวาดภาพแสดงพ้ืนผิวของสิ่งที่มีผิวเรียบและ ผิว ขรุขระ อย่างละ 1 ภาพ 4.ครูนา ภาพหรือผลงานป้ันประเภทต่างๆ มาให้นกัเรียนดูเช่น งานป้ันนูนสูง งานป้ันนูนต่า และ งานป้ันลอยตวัมาให้นกัเรียนดูนกเรียน ั ร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้ค าถาม ดงัน้ี - งานป้ันที่นกัเรียนเห็น มีอะไรบา้ง (นักเรียนตอบตามความเป็ นจริง) - งานป้ันที่นกัเรียนเห็นแต่ละภาพ จดัอยู่ในงานป้ันประเภทใดบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ งานปั้นนูนสูง งานปั้นนูนต ่า และงานปั้นลอยตัว) - งานป้ันที่นกเรีย ันเห็นมีลกัษณะของพ้ืนผิวเป็ นอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ พื้นผิวเรียบ หรือขรุขระ) - งานป้ันที่นกัเรียนเห็นมีพ้ืนผิวสีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเป็ นจริง) - สีของพ้ืนผิวในงานป้ันที่นกัเรียนเห็นมีความเหมือนจริงหรือไม่(ตัวอย่างค าตอบ เหมือน ไม่เหมือน) - นักเรียนเห็นผลงานป้ันต่างๆ เหล่าน้ีแลว้รู้สึกอยา่งไร(นักเรียนตอบตามความรู้สึก) 5.ครูให้ความรู้เพิ่มเติมกบันกัเรียนว่า นอกจากงานวาดแลว้งานป้ันที่มีมิติสามารถสัมผสัและรับรู้ไดท้ ้งั ทางตาและกายไม่ว่างานป้ันน้นัจะเป็นนูนสูง นูนต่า หรือลอยตวัก็สามารถแสดงพ้ืนผิวได้ด้วยการแปะ ปะ กด หรือ ขูดขีดเพื่อให้เกิดพ้ืนผิวที่มีลกัษณะแตกต่างกนั 6. นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบัการสร้างพ้ืนผิวให้งานป้ัน โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - นักเรียนคิดว่าการสร้างพ้ืนผิวต่างๆ ให้กบังานป้ัน ทา ไดอ้ยา่งไรบา้ง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) ครูอธิบายให้นกัเรียนฟังว่า พ้ืนผิวในงานป้ันทา ไดโ้ดยใชเ้ครื่องมือต่างๆ ท้งัที่มีขาย หรือเครื่องมือที่ ประยกุตข์้ึนเอง เช่น ดินสอ ตะปูกิ่งไม้มีด ส้อม กดหรือขีดเพื่อให้เกิดพ้ืนผิวที่มีลกัษณะแตกต่างกนั
7. นกัเรียนเตรียมวสัดุอุปกรณ์ในการป้ันนกัเรียนสร้างสรรค์งานป้ันอยา่งง่ายๆ โดยใช้เครื่องมือที่ประยุกต์ ข้ึนเอง เช่น ดินสอ ตะปูกิ่งไม้มีด ส้อม สร้างพ้ืนผิวให้กบังานป้ันของตนเอง 8. นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการป้ัน กิจกรรมรวมยอด: ข้นัสรุป นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า พ้ืนผิวในงานป้ันทา ไดโ้ดยใชเ้ครื่องมือต่างๆ ที่มีขาย หรือเครื่องมือที่ประยกุต์ ข้ึนเอง เช่น ดินสอ ตะปูกิ่งไม้มีด ส้อม กดหรือขดีเพื่อให้เกิดพ้ืนผิวที่มีลกัษณะแตกต่างกนั ค าศัพท์ การป้ัน molding ชิ้นงาน / ภาระงาน -งานป้ันผลไม้
9.การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนการปฏิบัติงาน 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินพฤติกรรมของนักเรียนการปฏิบัติงาน 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ผ่านต้งัแต่2รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน 3.2คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้งัภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็ นองค์ความรู้และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) 4.2.1ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ จากหนังสือเอกสาร สิ่งพมพ์ ิ สื่อเทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ท้งั ภายใน และ ภายนอกโรงเรียน และ เลือกใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม 4.2.2 บันทึกความรู้วิเคราะห์ ขอ้มูลจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็ น องค์ความรู้ 4.2.3แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย วิธีการต่าง ๆและน าไปใช้ ในชีวิตประจ าวัน ไม่ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ จาก หนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อ เทคโนโลยีหรือ จากแหล่งเรียนรู้ อื่น ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ ์สื่อ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น และมีการบันทึก ความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้อื่น มี การบันทึกความรู้ และแลกเปลี่ยน ความรู้กับผู้อื่น
3.3 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ข้อ4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถ ดีมาก(3) ดี (2) ผ่าน (1) 1. เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย 2. สามารถท างานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ 3. น าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 4. จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม 5. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม ่าเสมอ ให้ 3 คะแนน = ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน = ดี พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน = พอใช้ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แบบสังเกตพฤติกรรม ในชั้นเรียนรายบุคคล ค าชี้แจง ให้ท าเครื่องหมาย / ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในขณะปฏิบัติกิจกรรม เลข ที่ ชื่อ-สกุล รายการ สรุปผลการ ประเมิน ร่วมมือในการ ท ากิจกรรม กล้าแสดงออก ร่วมกิจกรรมด้วย ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ..............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1สังเกตสู่สร้างสรรค์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 เรื่องสีในพื้นผิว เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายชัชชล ขวาธิจักร โรงเรียนบ้านต้องหนองสระปลา 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/3 จา แนกทศันธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ม และงานทศันศิลป์ โดยเน้นเรื่อง เส้น สีรูปร่างรูปทรง พ้ืนผิว 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกความสา คญัของการใชส้ีในพ้ืนผิวได้(K) 2. นักเรียนสร้างสีให้กบัพ้ืนผิวในภาพวาดของตนเองได้(P) 3. นักเรียนชื่นชมผลงานของตนเองและผู้อื่น(A) 3. สาระส าคัญ เส้นและสีในธรรมชาติล้วนมีความแตกต่างกัน 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ -สีในพ้ืนผิว ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด -บอก -สร้าง 5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 6 มุ่งมนั่ในการท างาน 6.1 ท างานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานส าเร็จตามเป้าหมาย
7. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 1.กระดาษ 2. ดินสอ 3. สีไม้ 4. ภาพทิวทัศน์ 8.กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่7 กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน :ข้นันา 1. นักเรียนสังเกตต้นไม้ที่อยู่รอบๆ โรงเรียน จากน้นัร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - ภายในบริเวณโรงเรียนของเรา มีต้นไม้ชนิดใดบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) - ตน้ ไมเ้หล่าน้นัมลีกัษณะที่แตกต่างกนัอยา่งไรบา้ง (ตัวอย่างค าตอบ ความสูงไม่เท่ากัน ลักษณะของล าต้นและใบ ไม่เหมือนกัน บางต้นมีดอก บางต้นไม่มีดอก) - ต้นไม้ส่วนใหญ่ที่นักเรียนเห็นล าต้นและใบมีสีอะไร (ตัวอย่างค าตอบ ล าต้นบางต้นสีเทา บางต้นสีน ้าตาลอ่อนๆ ใบบางต้นมีเขียวเข้ม บางต้นมีสีเขียวอ่อน) 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้:ข้นัสอน 3. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังเพิ่มเติมว่าถา้นกัเรียนไดม้ีโอกาสไปวาดรูปธรรมชาติสิ่งแวดลอ้มรอบๆ โรงเรียน นักเรียนจะเห็นได้ว่าเส้นและสีในธรรมชาติล้วนมีความแตกต่างกัน - ผิวและสีของตน้ไมแ้ต่ละตน้น้นัไม่เหมือนกนั ใบไมก้็มีสีและเส้นใบที่แตกต่างกนัสีของผิวดินหรือพ้ืนผิวบน ทางเดินก็ต่างกัน- ถา้ภาพวาดของนกัเรียนแสดงพ้ืนผิวไม่ไดเ้ลย ภาพก็จะดูเรียบๆ ไม่น่าสนใจดงัน้นัตอ้งหัดสังเกต เส้น สีและพ้ืนผิวของสิ่งต่างๆ และวาดภาพระบายสีพ้ืนผิวให้สมบูรณ์ 4. ครูน าภาพวาดวิวทิวทศัน์ที่เป็นภาพลายเส้น และภาพวาดวิวทิวทศัน์ที่แสดงสีของพ้ืนผิวสิ่งต่างๆ ในภาพ อยา่งชดัเจน มาให้นกัเรียนเปรียบเทียบ จากน้นัร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - ภาพที่นักเรียนเห็น เป็ นภาพอะไร (ตัวอย่างค าตอบ ภาพวิวทิวทัศน์) - ภาพท้งั2 ภาพ แตกต่างกันอย่างไร (ตัวอย่างค าตอบ ภาพที่ 1 เป็ นภาพลายเส้น ภาพที่ 2 เป็ นภาพที่ลงสีแล้ว) - เมื่อนักเรียนดูภาพที่ 1 แล้ว นักเรียนรู้สึกอย่างไร (ตัวอย่างค าตอบ เป็ นภาพที่ดูเรียบๆ ) - เมื่อนักเรียนดูภาพที่ 2 แล้วรู้สึกอย่างไร (ตัวอย่างค าตอบ มีสีสัน และมีชีวิตชีวา) - นักเรียนคิดว่าภาพใดที่เหมือนจริงมากที่สุด (ตัวอย่างค าตอบ ภาพที่ 2) - นักเรียนคิดว่าอะไรที่ท าให้ภาพต่างๆ ดูแล้วมีความเหมือนจริง (ตัวอย่างค าตอบ รูปร่าง และสีของพื้นผิว) 5. ครูให้นักเรียนสังเกตธรรมชาติต่างๆ รอบตัว แลว้บอกสีในพ้ืนผิวของสิ่งต่างๆ คนละ1อยา่งจากน้นั นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวาดภาพระบายสีพ้ืนผิวของภาพต่างๆ โดยครูใชค้า ถามดงัน้ี - ถา้ให้นกัเรียนวาดภาพและระบายสีพ้ืนผิวที่แตกต่างกนันกัเรียนจะทา ไดห้ รือไม่ (ตัวอย่างค าตอบ ได้) 6. นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี
7. ให้นกัเรียนวาดภาพสิ่งต่างๆ รอบตวัจากน้นัระบายสีพ้ืนผิวของสิ่งเหล่าน้นั ให้มีความเหมือนจริงหรือ ใกล้เคียงของจริงมากที่สุด 8. นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวาดภาพให้เรียบร้อย กิจกรรมรวมยอด: ข้นัสรุป 9. นักเรียนและครูร่วมกนัสรุปความรู้ดงัน้ีการวาดภาพสิ่งต่างๆ ควรหัดสังเกตเส้น สีพ้ืนผิวของสิ่งต่างๆ และวาดภาพระบายสีพ้ืนผิวในภาพให้สมบูรณ์ 10. ให้นกัเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถามทา้ทาย ดงัน้ี - การเป็ นคนช่างสังเกตมีความส าคัญต่อการสร้างผลงานทัศนศิลป์ อย่างไร ค าศัพท์ พ้ืนผิว textures ชิ้นงาน / ภาระงาน ใบงานที่ 2 เรื่องผลงานการสร้างสีให้กับภาพวาดของตนเอง
9.การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 การท าใบงาน 2. เครื่องมือ 2.1. ประเมินจากใบงาน 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1การประเมินการตัดสินภาระงาน / ชิ้นงาน เรื่อง ผลงานการสร้างสีให้กับภาพวาดของตนเอง เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน 4 ดีมาก (10 คะแนน) 3 (9 คะแนน) 2 (7-8 คะแนน) 1 (5-6 คะแนน) ผลงานการสร้างสี ให้กับภาพวาดของ ตนเอง วาดภาพได้สวยงาม และระบายสีใน พ้ืนผิวไดถู้กตอ้ง ตามหลักความจริง วาดภาพได้สวยงาม และระบายสีใน พ้ืนผิวไดถู้กตอ้ง วาดภาพได้สวยงาม และระบายสีใน พ้ืนผิวได้ วาดภาพได้และระบายสี ในพ้ืนผิวได้ 3.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 6 มุ่งมนั่ในการท างาน ตวัช้ีวดัที่6.1 ท างานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานส าเร็จ ตามเป้าหมาย พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) 6.2.1 ทุ่มเทท างานอดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและ อุปสรรคในการท างาน 6.2.2 พยายามแก้ปัญหา และอุปสรรคใน การท างานให้ส าเร็จ 6.2.3 ชื่นชมผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ ไม่ขยัน อดทน ในการท างาน ท างานด้วยความ ขยันเพื่อให้งาน เสร็จตามที่ได้รับ มอบหมาย ท างานด้วยความ ขยัน และพยายาม ให้งานส าเร็จตาม เป้าหมาย ท างานด้วยความ ขยัน อดทน และ พยายามให้งาน ส าเร็จตาม เป้าหมายและชื่น ชมผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ
3.3 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ข้อ4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถ ดีมาก(3) ดี (2) ผ่าน (1) 1. เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย 2. สามารถท างานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ 3. น าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 4. จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม 5. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม ่าเสมอ ให้ 3 คะแนน = ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน = ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน = พอใช้ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1สังเกตสู่สร้างสรรค์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 เรื่องสร้างความสวยด้วยสี : สีเทียน เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายชัชชล ขวาธิจักร โรงเรียนบ้านต้องหนองสระปลา 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/2 ระบุวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงาน เมื่อชมงานทัศนศิลป์ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกวิธีการใช้สีเทียนในการระบายสีภาพให้ดูสวยงามได้(K) 2. นักเรียนสร้างความสวยให้กับภาพด้วยสีเทียนได้(P) 3. นักเรียนชื่นชมผลงานของตนเองและผู้อื่น(A) 3. สาระส าคัญ สีเป็นสิ่งสา คญัที่สามารถระบายให้ภาพมีความเหมือนจริง หรือสดใสเกินจริง ด้วยเทคนิคการใช้สีต่างๆ เช่น สีเทียน สีไม้สีน้า สีโปสเตอร์ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ -สร้างความสวยด้วยสี : สีเทียน ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด -บอก -สร้าง 5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 6 มุ่งมนั่ในการท างาน 6.1 ท างานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานส าเร็จตามเป้าหมาย
7. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 1. บัตรภาพ 2. กระดาษวาดเขียน 3. ดินสอ 4. สีเทียน 8.กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่8 กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน :ข้นันา 1.ครูร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับประสบการณ์การใช้สีต่างๆ ในการระบายสีภาพวาดของตนเอง โดย ครูใชค้า ถามดงัน้ี - นักเรียนเคยใช้สีชนิดใดในการระบายสีให้กับภาพวาดของตนเองบ้าง (ตัวอย่างค าตอบ สี เทียน สีไม้ สีน ้าหรือสีโปสเตอร์) - นักเรียนคิดว่าสีมีความส าคัญต่อการวาดภาพอย่างไร (ตัวอย่างค าตอบ สีช่วยสร้างสีสันและความ เหมือนจริงให้กับภาพ) - นักเรียนคิดว่าสีชนิดต่างๆ เมื่อน ามาระบายภาพวาดแล้ว ท าให้ภาพเกิดความแตกต่างกันหรือไม่ (ตัวอย่างค าตอบ แตกต่าง) - นักเรียนชอบใช้สีชนิดใดในการระบายสีภาพของตนเอง เพราะอะไรจึงชอบใชส้ีชนิดน้นั (นักเรียนตอบตามความรู้สึก) 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้:ข้นัสอน 3.ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกบัการสร้างความสวยดว้ยสีว่า สีเป็นสิ่งที่สา คญัที่สามารถระบายให้ภาพมี ความเหมือนจริง หรือสดใสเกินจริงด้วยเทคนิคการใช้สีต่างๆ เช่น สีเทียน สีไม้สีน้า สีโปสเตอร์ สีแต่ละชนิดให้ความรู้สึกและพ้ืนผิวที่แตกต่างกนัสีไมร้ะบายแลว้เห็นเป็นลายเส้นสวย สีน้า ให้ ความ ชุ่มฉ ่าและมีลีลาของรอยพู่กัน ขณะที่สีเทียนสดใส เมื่อระบายจะเห็นพ้ืนผิวที่ชดัเจน ส่วนสีโปสเตอร์มีเน้ือนวลแต่ หนักแน่น นักเรียนควรทดลองใช้สีจนรู้จักและคุณสมบัติของสีแต่ละชนิด เพื่อน าประสบการณ์มาใช้ในงาน ทัศนศิลป์ 4.ครูนา ภาพต่างๆ ที่ระบายดว้ยสีเทียน สีไม้สีน้า และสีโปสเตอร์อยา่งละ1 ภาพ มาให้นกัเรียนดูจากน้นั นกัเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถามดงัน้ี - ภาพใดระบายด้วยสีเทียน (นักเรียนตอบตามความเป็ นจริง) - ภาพที่ระบายด้วยสีเทียนมีลักษณะอย่างไร (ตัวอย่างค าตอบ สีไม่ฉูดฉาดหรือเข้มจนเกินไป ภาพ ที่ระบายแล้วยังเห็นพื้นผิวได้ชัดเจน) - นักเรียนเคยใช้สีเทียนระบายสีภาพวาดของตนเองหรือไม่ (ตัวอย่างค าตอบ เคย)
- นักเรียนชอบใช้สีเทียนระบายสีภาพวาดของตนเองหรือไม่ เพราะอะไร (นักเรียนตอบตาม ความรู้สึก) 5. นักเรียนเตรียมกระดาษวาดเขียน ดินสอ ยางลบและสีเทียน เพื่อใช้ในการวาดภาพระบายสี 6. ครูให้นักเรียนวาดภาพตามจินตนาการของตนเองจากน้นั ใชส้ีเทียนระบายภาพวาดน้นั 7. นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวาดภาพให้เรียบร้อย กิจกรรมรวมยอด: ข้นัสรุป 8. นกัเรียนและครูร่วมกนัสรุปความรู้ดงัน้ีสีเทียนสดใส เมื่อระบายภาพแลว้จะเห็นพ้ืนผิวของภาพไดอ้ยา่ง ชัดเจน 9. ให้นกัเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถามทา้ทาย ดงัน้ี - นักเรียนมีวิธีการและเทคนิคการใช้สีเทียนในการระบายสีภาพของตนเองอย่างไร ค าศัพท์ สีเทียน candle color ชิ้นงาน / ภาระงาน -
9.การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนการปฏิบัติงาน 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินพฤติกรรมของนักเรียนการปฏิบัติงาน 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ผ่านต้งัแต่2รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน 3.2คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 6 มุ่งมนั่ในการท างาน ตวัช้ีวดัที่6.1 ท างานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานส าเร็จ ตามเป้าหมาย พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) 6.2.1 ทุ่มเทท างานอดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและ อุปสรรคในการท างาน 6.2.2 พยายามแก้ปัญหา และอุปสรรคใน การท างานให้ส าเร็จ 6.2.3 ชื่นชมผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ ไม่ขยัน อดทน ในการท างาน ท างานด้วยความ ขยันเพื่อให้งาน เสร็จตามที่ได้รับ มอบหมาย ท างานด้วยความ ขยัน และพยายาม ให้งานส าเร็จตาม เป้าหมาย ท างานด้วยความ ขยัน อดทน และ พยายามให้งาน ส าเร็จตาม เป้าหมายและชื่น ชมผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ
3.3 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ข้อ4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถ ดีมาก(3) ดี (2) ผ่าน (1) 1. เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย 2. สามารถท างานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ 3. น าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 4. จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม 5. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม ่าเสมอ ให้ 3 คะแนน = ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนและบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน = ดี พฤติกรรมที่ปฏิบตัิชดัเจนบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน = พอใช้ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แบบสังเกตพฤติกรรม ในชั้นเรียนรายบุคคล ค าชี้แจง ให้ท าเครื่องหมาย / ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในขณะปฏิบัติกิจกรรม เลข ที่ ชื่อ-สกุล รายการ สรุปผลการ ประเมิน ร่วมมือในการ ท ากิจกรรม กล้าแสดงออก ร่วมกิจกรรมด้วย ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (…………………………………………) .......... / .......................... / ...............
แผนการจัดการเรียนรู้ที่9 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1สังเกตสู่สร้างสรรค์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 เรื่องสร้างความสวยด้วยสี : สีไม้ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายชัชชล ขวาธิจักร โรงเรียนบ้านต้องหนองสระปลา 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/2 ระบุวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงาน เมื่อชมงานทัศนศิลป์ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกวิธีการใช้สีไม้ในการระบายสีภาพให้ดูสวยงามได้(K) 2. นักเรียนสร้างความสวยให้กับภาพด้วยสีไม้ได้(P) 3. นักเรียนชื่นชมผลงานของตนเองและผู้อื่น(A) 3. สาระส าคัญ สีเป็นสิ่งส าคัญที่สามารถระบายให้ภาพมีความเหมือนจริงหรือสดใสเกินจริงด้วยเทคนิคการใช้สีต่างๆ เช่น สีเทียน สีไม้สีน้า สีโปสเตอร์ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ -สร้างความสวยด้วยสี : สีไม้ ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด -บอก -สร้าง 5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 6 มุ่งมนั่ในการท างาน 6.1 ท างานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานส าเร็จตามเป้าหมาย 7. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 1. บัตรภาพ 2.กระดาษวาดเขียน 3. ดินสอ 4. สีไม้ 8.กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่9 กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน :ข้นันา 1. นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับ การใช้สีเทียนในการระบายภาพ โดยครูใชค้า ถาม ดงัน้ี - การใชส้ีเทียนในการระบายภาพ จะทา ให้ภาพภาพน้นัมีลกัษณะเด่นอยา่งไร (ตัวอย่างค าตอบ เห็นพื้นผิวได้อย่างชัดเจน) - นักเรียนมีเทคนิคและวิธีการใช้สีเทียนในการระบายภาพวาดของตนเองอย่างไรให้เกิดความสวยงาม (นักเรียน ตอบตามประสบการณ์) 2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้:ข้นัสอน 3. ครูน าภาพต่างๆ ที่ระบายด้วยสีเทียน สีไม้สีน้า และสีโปสเตอร์อยา่งละ1 ภาพ มาให้นกัเรียนดูจากน้นั นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้ค าถามดงัน้ี - ภาพใดระบายด้วยสีไม้(นักเรียนตอบตามความเป็ นจริง) - ภาพที่ระบายด้วยสีไม้มีลักษณะอย่างไร (ตัวอย่างค าตอบ สีไม่ฉูดฉาด เห็นเป็ นลายเส้นสวยงาม) - นักเรียนเคยใช้สีไม้ระบายสีภาพวาดของตนเองหรือไม่ (ตัวอย่างค าตอบ เคย) - นักเรียนชอบใช้สีไม้ระบายสีภาพวาดของตนเองหรือไม่ เพราะอะไร (นักเรียนตอบตาม ความรู้สึก) 4. นักเรียนเตรียมกระดาษวาดเขียน ดินสอ ยางลบและสีไม้ เพื่อใช้ในการวาดภาพระบายสี 5.ครูให้นกัเรียนวาดภาพตามจินตนาการจากน้นั ใชส้ีไมร้ะบายภาพวาดของตนเองครูคอยให้กา ลงัใจและ ขอ้เสนอแนะเพิ่มเติม 6. นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวาดภาพให้เรียบร้อย กิจกรรมรวมยอด: ข้นัสรุป 7. นกัเรียนและครูร่วมกนัสรุปความรู้ดงัน้ีสีไม้เมื่อนา มาระบายภาพแล้วจะเห็นเป็ นลายเส้นที่สวยงาม 8. ให้นกัเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้า ถามทา้ทาย ดงัน้ี - นักเรียนมีวิธีการและเทคนิคการใช้สีไม้ในการระบายสีภาพของตนเองอย่างไร