The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anongnat2526, 2022-05-09 19:59:38

ไทย

ไทย

ท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั ๔๗
การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวช้วี ดั
เวลา นา้ หนัก
(ชั่วโมง) คะแนน

ป.๔/๔

๓๐ บทละครพูดคา ท ๑.๑ ป.๔/๓, บทละครพูดคากลอนเรื่อง พระร่วง พระ ๖ ๒
กลอน เรอ่ื ง ป.๔/๕, ราชนิพนธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระ-มงกฎุ
พระร่วง ป.๔/๖, เกล้าเจ้าอยูห่ วั เปน็ วรรณคดีทมี่ เี น้ือหายก ๒ ๒
ป.๔/๗ ย่องวรี บรุ ษุ ปลูกฝังความรักชาตแิ ละแสดง - ๓๐
๓๑ บทอาขยาน ๑๖๐ ๑๐๐
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ใหเ้ หน็ พลังของความสามคั คี
ป.๔/๒,
ป.๔/๔

ท ๕.๑ ป.๔/๔ การทอ่ งจาบทอาขยาน นอกจากจะช่วย
ฝกึ ความจาแลว้ ยังเป็นการปลูกฝัง
ความคิดและคาสอนดี ๆ ให้ฝังแน่นอย่ใู น
ตวั เราด้วย

สอบปลายปี

รวมตลอดท้ังปี

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านหว้ ยวังปลา

๔๘

รายวชิ าภาษาไทย
กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๕

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา

๔๙

ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕

สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนิน
ชวี ิตและมีนิสัยรกั การอา่ น
ตวั ชว้ี ัด

๑. อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
๒. อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความทีเ่ ปน็ การบรรยาย และการพรรณนา
๓. อธิบายความหมายโดยนัยจากเรอื่ งที่อ่านอยา่ งหลากหลาย
๔. แยกข้อเทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจากเรือ่ งที่อ่าน
๕. วิเคราะห์และแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั เรอื่ งทอ่ี า่ นเพื่อนาไปใช้ ในการดาเนินชีวิต
๖. อ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คาส่ัง ขอ้ แนะนา และปฏบิ ัติตาม
๗. อ่านหนังสือท่มี ีคณุ ค่าตามความสนใจอยา่ งสม่าเสมอและแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั เร่ืองทีอ่ ่าน
๘. มีมารยาทในการอา่ น
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบ
ตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นควา้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ตัวช้ีวัด
๑. คัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และคร่งึ บรรทัด
๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
๓. เขยี นแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพความคิดเพ่อื ใช้พฒั นางานเขียน
๔. เขยี นย่อความจากเรอื่ งทีอ่ ่าน
๕. เขยี นจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ
๖. เขียนแสดงความรสู้ กึ และความคิดเหน็ ไดต้ รงตามเจตนา
๗. กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ
๘. เขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการ
๙. มมี ารยาทในการเขียน
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกใน
โอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์
ตัวช้ีวดั
๑. พูดแสดงความรู้ ความคดิ เหน็ และความรู้สกึ จากเร่ืองทฟี่ ังและดู
๒. ต้งั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตผุ ลจากเรอ่ื งท่ีฟังและดู
๓. วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเร่อื ง ท่ฟี ังและดูอยา่ งมีเหตผุ ล
๔. พดู รายงานเร่อื งหรอื ประเด็นที่ศกึ ษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา

๕๐
ตัวช้ีวดั

๑. ระบชุ นิดและหน้าทีข่ องคาในประโยค
๒. จาแนกส่วนประกอบของประโยค
๓. เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
๔. ใช้คาราชาศัพท์
๕. บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
๖. แตง่ บทร้อยกรอง
๗. ใชส้ านวนไดถ้ ูกต้อง
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง
ตวั ชว้ี ดั
๑. สรุปเรือ่ งจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมทอี่ ่าน
๒. ระบคุ วามรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมทสี่ ามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตจริง
๓. อธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม
๔. ทอ่ งจาบทอาขยานตามทีก่ าหนดและบทร้อยกรองทีม่ ีคณุ คา่ ตามความสนใจ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบา้ นห้วยวังปลา

๕๑

คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหัสวิชา ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่ีเป็น

การบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความ

คิดเห็น อ่านงานเขียนเชงิ อธบิ าย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจ

มีมารยาทในการอา่ น

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียนแผนภาพโครงเร่ือง

แผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเหน็

กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้งคาถาม ตอบ

คาถาม วิเคราะห์ความ พูดรายงาน มมี ารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู

ระบุชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค จาแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทย

มาตรฐานและภาษาถิน่ ใช้คาราชาศัพท์ บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แตง่ บทร้อยกรอง ใช้สานวนได้

ถูกตอ้ ง

สรปุ เรอื่ งจากวรรณคดหี รือวรรณกรรมที่อา่ น ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม

ทสี่ ามารถนาไปใช้ในชวี ติ จริง อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและ

บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหา

ความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้

ทกั ษะการฟงั การดแู ละการพดู พดู แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ

อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใชว้ ิธีการของเศรษฐกิจพอเพยี ง

และสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชีว้ ัด

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านห้วยวงั ปลา

๕๒

โครงสรา้ งรายวชิ า

รหัสวิชา ท ๑๕๑๐๑ รายวชิ า ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
จานวน ๔.๐ หน่วยกิต
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง/ปี

สดั สว่ นคะแนน ระหวา่ งภาค : ปลายภาค = ๗๐ : ๓๐

ท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
การเรียนรู้ เรียนรู้/ตัวช้ีวดั (ชั่วโมง) คะแนน

๑ บพุ บทจดจา ท ๔.๑ ป.๕/๑ - คาบุพบทอยู่หน้าคานามหรือคาสรรพ ๔ ๓

นาหนา้ คาหรือ นามในประโยคเพ่ือบอกเวลา บอก

ข้อความ ตาแหนง่ ทีต่ ัง้ สถานท่ี บอกความเปน็

เจ้าของบอกความเกี่ยวขอ้ งหรอื ความ

ประสงค์ ทาใหป้ ระโยคสื่อสารนนั้ มี

ใจความสมบูรณ์ย่ิงข้ึน

๒ คาสนั ธาน ท ๔.๑ ป.๕/๑ - คาสันธานใชเ้ ชอื่ มประโยค ๒ ประโยค ๔ ๓

สะพานเชือ่ ม ให้เปน็ ประโยคเดียวกนั เพ่ือใหม้ ใี จความ

ประโยค คลอ้ ยตามกัน ขัดแย้งกนั ใหเ้ ลอื กอย่าง

ใดอย่างหน่ึง หรือเปน็ เหตเุ ปน็ ผลกันตาม

จดุ ประสงค์ของผูส้ ่งสาร

๓ คาอทุ าน ส่อื สาร ท ๔.๑ ป.๕/๑ - คาอุทานเป็นเสยี งทเี่ ปล่งออกมา ๔๓

อารมณ์ แตกต่างจากเสยี งของคาทัว่ ๆ ไปทาให้

ทราบอารมณค์ วามรูส้ ึกของผู้พูดได้

ชัดเจนยงิ่ ขึ้น โดยไม่เน้นความหมายของ

คา

๔ ภาษาไทยนา่ เรียน ท ๔.๑ ป.๕/๒ - การสือ่ สารในชีวติ ประจาวันตอ้ งใช้ ๔๓

ฝึกเขียนประโยค ประโยคเพ่ือสอ่ื ความหมาย ดังนนั้ การ

รจู้ ักจาแนกและเรียบเรยี งประโยคให้

ถูกต้อง มีส่วนประกอบของประโยค

ครบถว้ นสมบูรณ์จะทาให้การสื่อสารมี

ประสิทธภิ าพ

๕ อา่ นได้คลอ่ ง ต้อง ท ๑.๑ ป.๕/๑, ๑. การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ได้ ๙๓

รวู้ ธิ ี ป.๕/๒, ถกู ต้องตามอักขรวธิ ี โวหารและประเภท

ป.๕/๓, ของงานเขยี น จะทาใหเ้ กดิ ความไพเราะ

ป.๕/๔, การอา่ นมีประสิทธภิ าพ ผู้ฟังสามารถ

ป.๕/๕, เขา้ ใจได้ชดั เจน

ป.๕/๖, ๒. การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยกรองเปน็

ป.๕/๗, ทานองเสนาะไดถ้ ูกตอ้ งตามอักขรวิธี

ป.๕/๘ และฉนั ทลักษณ์ ของบทร้อยกรองนนั้ ๆ

รจู้ ักทอดจังหวะ เอ้ือนเสยี งแสดงอารมณ์

ตามเนือ้ หา จะทาให้ผู้ฟังเข้าใจเรอื่ งได้

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นห้วยวังปลา

๕๓

ท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั
การเรียนรู้ เรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน

ชัดเจน และบทรอ้ ยกรองนัน้ มีความ

ไพเราะยงิ่ ข้นึ

๓. การอา่ นจับใจความโดยสามารถแยก

ข้อเทจ็ จรงิ ขอ้ คดิ เหน็ และสรุปความ

จากการอ่านทาให้เรามเี หตุผล ไม่

หลงเชื่อส่งิ ตา่ ง ๆ ได้ง่าย ซึ่งก่อให้เกิด

ประโยชน์ รู้จักเลอื กพิจารณานาความรู้

ท่ไี ดจ้ ากการอา่ นไปใช้ในการดาเนินชีวิต

๔. การอ่านงานเขยี นเชิงอธบิ ายคาสง่ั

ข้อแนะนา ให้เข้าใจชดั เจนเสียก่อน จะ

ทาให้ปฏิบตั ติ ามไดถ้ ูกต้อง ทางานอย่าง

มปี ระสทิ ธภิ าพและปลอดภยั ในการใช้

งาน

๕. การเลือกอ่านหนังสือใหเ้ หมาะสมกบั

ความต้องการและวัยทาให้ได้รบั คณุ ค่า

สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่าง

แท้จรงิ

๖. การมมี ารยาทในการอ่านทาให้เปน็

ทนี่ า่ ชนื่ ชมต่อผพู้ บเหน็

๖ เขยี นชานาญ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ๑. การคดั ลายมือเป็นการฝกึ เขียนตวั ๒๔ ๓
งานสร้างสรรค์
ป.๕/๒, อกั ษรไทยให้สวยงามและถูกต้อง

ป.๕/๓, ๒. การเขียนส่ือสารควรเลอื กใชถ้ อ้ ยคา

ป.๕/๔, สานวนให้ถกู ตอ้ งเหมาะสมกบั งานเขยี น

ป.๕/๕, ประเภทน้ัน ๆ จึงจะสื่อความหมายได้

ป.๕/๖, ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์

ป.๕/๗, ๓. แผนภาพโครงเร่ืองใชใ้ นการวางโครง

ป.๕/๘, เรอ่ื งทม่ี ีการดาเนินเรื่องเปน็ ไป

ป.๕/๙ ตามลาดับเหตกุ ารณ์ ส่วนแผนภาพ

ความคดิ ใช้ในการวางโครงเรื่องทม่ี ี

ความคดิ รวบยอดเป็นสาคัญ

การนาแผนการโครงเรอ่ื งและแผนภาพ

ความคิดมาใช้ในงานเขยี นทาใหง้ าน

เขยี นมคี ุณภาพ และได้ความครบถ้วน

สมบรู ณ์

๔. ยอ่ ความเปน็ การนาใจความสาคัญ

ของแตล่ ะตอนจากเรื่องท่ีอา่ นมาเรียบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา

๕๔

ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
การเรียนรู้ เรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน

เรยี งใหม่เพ่ือใหเ้ ข้าใจเร่ืองทต่ี ้องการ

สื่อสารไดง้ า่ ยยิง่ ข้นึ

๕. การเขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและ

ญาติ ตอ้ งใช้ภาษาทส่ี ภุ าพ แสดงถึง

ความเคารพใหเ้ หมาะสมกบั บุคคล

๖. การเขยี นแสดงความรสู้ ึกและความ

คิดเห็น เปน็ การนาเสนอข้อเท็จจรงิ ที่ได้

จากการตรวจสอบโดยใชเ้ หตุผล

ประกอบ ซงึ่ ทาให้ผอู้ า่ นได้รบั ทราบ

ข้อมลู และข้อคิดเห็นทีเ่ ปน็ ประโยชน์

๗. การกรอกแบบรายการต่าง ๆ ได้

อยา่ งถูกต้อง ใช้ภาษาท่ีกระชับ ชดั เจน

ทาให้สือ่ สารได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์

และสะดวกในการติดตอ่ ทาธรุ ะ

๘. การเขียนเรอื่ งตามจินตนาการได้ดี

ต้องหมั่นฝึกการคิด การสงั เกต และมี

ความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์

๙. การมมี ารยาทในการเขียนจะทาให้

ผอู้ า่ นสามารถเข้าใจสารทผ่ี ู้เขียน

ถ่ายทอดไดง้ ่ายและมปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขนึ้

๗ ฟงั ดู ร้สู นทนา ท ๓.๑ ป.๕/๑, ๑. การพูดแสดงความรู้ ความคิดเหน็ ๗๒
ภาษาสื่อสาร
ป.๕/๒, และความรูส้ ึกจากเร่ืองท่ีฟังและดู ควร

ป.๕/๓, พจิ ารณาอยา่ งรอบคอบก่อนพูด เพ่อื

ป.๕/๔, ไมใ่ ห้เกดิ ความขดั แยง้ กบั ผู้อน่ื เพราะใน

ป.๕/๕ เร่อื งเดยี วกนั แต่ละคนอาจมีมุมมองและ

ความคดิ เห็นแตกต่างกนั ได้

๒. การต้งั คาถามและตอบคาถามเชงิ

เหตุผลจากเรือ่ งท่ีฟังและดู ทาให้

สามารถวิเคราะห์ความนา่ เชื่อถอื ของ

เรื่อง และนาความรู้หรือขอ้ คิดที่ไดร้ ับไป

ใช้เปน็ ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั

๓. การวเิ คราะห์ความน่าเชื่อถอื จาก

เรื่องที่ฟังและดูในชีวติ ประจาวันตอ้ งใช้

เหตผุ ลมีขอ้ เท็จจริงและหลกั ฐานมา

ประกอบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านหว้ ยวังปลา

๕๕

ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
การเรียนรู้ เรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด (ชัว่ โมง) คะแนน

๔. การพูดรายงานตามหลกั การท่ีถกู ต้อง

จะทาให้การนาเสนอข้อมลู มคี วาม

นา่ สนใจและผ้ฟู ังได้รบั ประโยชนจ์ าก

การฟังนั้น

๕. การมมี ารยาทในการฟัง การดู และ

การพูด ทาให้การติดต่อสื่อสารมี

ประสทิ ธภิ าพและเปน็ มารยาททางสังคม

ที่พงึ ปฏิบัติ

๘ บทละครเร่ือง ท ๑.๑ ป.๕/๑, - บทละครเรอื่ ง สังข์ทอง ตอน กาเนดิ ๘ ๒
สงั ขท์ อง ตอน ป.๕/๕, พระสงั ข์ แสดงใหเ้ หน็ ถึงความรักของแม่ ๖ ๒
กาเนิดพระสงั ข์ ป.๕/๗ ทม่ี ตี ่อลูกไมว่ ่าลกู จะเกิดมาเป็นเช่นไรก็ ๔ ๒
ย่อมเป็นที่รักดัง่ ดวงใจของแม่เสมอ
๙ กระเช้าสดี า ท ๕.๑ ป.๕/๑, นอกจากนั้น ยงั แสดงถึงความกตญั ญู
ป.๕/๒, กตเวทขี องพระสงั ข์ทร่ี ู้จกั ชว่ ยเหลือแบ่ง
๑๐ บทประพนั ธ์ ป.๕/๓, เบาภาระของแมเ่ ทา่ ทเ่ี ด็กจะทาได้ ซง่ึ
ร้อยกรองสภุ าษติ ป.๕/๔ เปน็ สิ่งท่ีลูกทุกคนควรประพฤติปฏิบัติ
ตาม
ท ๑.๑ ป.๕/๑,
ป.๕/๕, -นิทานเรื่อง กระเชา้ สีดา มีเน้ือเรอื่ ง
ป.๕/๗ สนุกสนาน ใช้ภาษาบรรยายได้
สละสลวย ชดั เจน อ่านเขา้ ใจงา่ ย เหมาะ
ท ๕.๑ ป.๕/๑, สาหรบั เด็ก แฝงแนวคิดในเรื่องผลของ
ป.๕/๒, การทาความดี คือ การเชื่อฟังผูใ้ หญ่
ป.๕/๓ ความมนี ้าใจ และความสภุ าพออ่ นโยน
ซง่ึ นกั เรยี นควรนาไปประพฤติปฏบิ ตั ใิ น
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ชีวิตประจาวันให้สม่าเสมอจนเป็นนิสัย
ป.๕/๕,
ป.๕/๗ - บทประพนั ธ์รอ้ ยกรองสุภาษิตมคี ณุ คา่
ดา้ นวรรณศิลป์และให้คตสิ อนใจเพื่อ
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ประพฤติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ผนู้ าไป
ป.๕/๒, ปฏิบตั ิยอ่ มประสบความสขุ ความเจรญิ
ป.๕/๓, ในการดาเนินชวี ิต
ป.๕/๔

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา

๕๖

ท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด (ชัว่ โมง) คะแนน

๑๑ เพลงชาติไทย ท ๑.๑ ป.๕/๕ เพลงชาตเิ ปน็ เพลงประจาชาติ ทแี่ สดง ๔ ๒

ท ๕.๑ ป.๕/๑, ถงึ ความเปน็ ชาติ เอกราช

ป.๕/๒, ศิลปวฒั นธรรม และลักษณะนสิ ยั ของชน

ป.๕/๓, ในชาติ เราจงึ ควรร้ปู ระวตั ิ ตระหนกั ถึง

ป.๕/๔ ความสาคญั ของเพลงชาติ และร้องเพลง

ชาติไทยอย่างภาคภมู ิ

๑๒ บทอาขยาน ท ๕.๑ ป.๕/๔ การทอ่ งจาบทอาขยานสามารถนาไปใช้ ๒ ๒

อ้างองิ และนาข้อคิดไปเปน็ แนวทางใน

การดาเนินชวี ติ

๑๓ ภาษาถิน่ ท ๔.๑ ป.๕/๓ -ภาษาไทยในแตล่ ะท้องถิ่นมีการใช้ ๕๓

บอกความเปน็ ถ้อยคาสานวนทีแ่ ตกต่างกันการรูแ้ ละ

ไทย เข้าใจความหมายของคาจะทาใหก้ าร

สอื่ สารดยี ่ิงข้นึ

๑๔ ใชใ้ หถ้ ูกพึงจาคา ท ๔.๑ ป.๕/๔ - คาราชาศัพท์เป็นคาในภาษาไทยท่ตี ้อง ๕ ๓

ราชาศัพท์ เลอื กใชใ้ ห้เหมาะสมกบั บุคคลระดบั ต่าง



๑๕ คาในภาษาไทย ท ๔.๑ ป.๕/๕ - ภาษาไทยมีการนาคาจาก ๕๓

ท่นี ามาใชจ้ าก ภาษาตา่ งประเทศมาใช้เปน็ จานวนมาก

ภาษาต่างประเทศ เราควรทราบท่ีมาของคาเรียนรู้ การอ่าน

การเขยี น และการใช้คาเหล่านน้ั ให้

ถกู ต้อง

๑๖ กาพยย์ านลี านา... ท ๔.๑ ป.๕/๖ - กาพย์ยานี ๑๑ นิยมใช้ในการแต่ง ๕๓

สิบเอด็ คาจาได้ พรรณนา เรอ่ื งตา่ ง ๆ ลักษณะของคา

ง่าย ประพนั ธท์ าใหบ้ ทร้อยกรองมีความ

ไพเราะ งดงาม สละสลวย ผู้อ่านจดจา

ได้งา่ ยและเกิดจนิ ตนาการตามเนอื้ เรื่อง

เปน็ อย่างดี

๑๗ สานวน คาพังเพย ท ๔.๑ ป.๕/๗ - การใช้สานวนได้ถกู ต้องทาให้สอ่ื ๕๓

สุภาษติ ให้ขอ้ คิด ความหมายชดั เจน ไดเ้ รยี นรู้ความ

สอนใจ งดงามของภาษาไทยและเปน็ การ

อนุรกั ษภ์ าษาไทย

๑๘ อ่านได้คลอ่ ง ต้อง ท ๑.๑ ป.๕/๑, ๑. การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ได้ ๑๖ ๒

รู้วิธี ป.๕/๒, ถูกต้องตามอักขรวิธี โวหารและประเภท

ป.๕/๓, ของงานเขยี น จะทาให้เกิดความไพเราะ

ป.๕/๔, การอา่ นมปี ระสทิ ธิภาพ ผู้ฟังสามารถ

ป.๕/๕, เขา้ ใจได้ชัดเจน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านห้วยวังปลา

๕๗

ที่ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตวั ชี้วัด (ชวั่ โมง) คะแนน

ป.๕/๖, ๒. การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรองเป็น

ป.๕/๗, ทานองเสนาะไดถ้ กู ตอ้ งตามอักขรวิธี

ป.๕/๘ และฉนั ทลักษณ์ ของบทร้อยกรองน้นั ๆ

รู้จกั ทอดจังหวะเอ้ือนเสยี งแสดงอารมณ์

ตามเนอ้ื หา จะทาใหผ้ ู้ฟังเข้าใจเร่อื งได้

ชดั เจน และบทร้อยกรองนั้นมีความ

ไพเราะย่ิงขึน้

๓. การอ่านจับใจความโดยสามารถแยก

ข้อเท็จจริง ขอ้ คดิ เหน็ และสรุปความ

จากการอา่ นทาใหเ้ รามเี หตผุ ล ไม่

หลงเช่อื ส่ิงตา่ ง ๆ ได้ง่าย ซ่งึ ก่อใหเ้ กดิ

ประโยชน์ ร้จู ักเลอื กพิจารณานาความรู้

ท่ีไดจ้ ากการอา่ นไปใชใ้ นการดาเนินชวี ิต

๔. การอ่านงานเขียนเชิงอธิบายคาสั่ง

ขอ้ แนะนา ให้เข้าใจชดั เจนเสียกอ่ นจะ

ทาใหป้ ฏิบัตติ ามไดถ้ ูกต้อง ทางานอยา่ ง

มีประสิทธภิ าพและปลอดภัยในการใช้

งาน

๕. การเลอื กอา่ นหนังสอื ให้เหมาะสมกับ

ความตอ้ งการและวัยทาให้ได้รบั คุณค่า

สามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้อยา่ ง

แท้จรงิ

๖. การมีมารยาทในการอ่านทาให้เปน็ ที่

นา่ ชื่นชมตอ่ ผู้พบเหน็

๑๙ เขียนชานาญ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ๑. การคัดลายมอื เป็นการฝกึ เขยี นตวั ๑๑ ๒
งานสร้างสรรค์
ป.๕/๒, อักษรไทยใหส้ วยงามและถูกต้อง

ป.๕/๓, ๒. การเขียนสื่อสารควรเลือกใช้ถอ้ ยคา

ป.๕/๔, สานวนใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมกบั งานเขียน

ป.๕/๕, ประเภทนัน้ ๆ จงึ จะส่ือความหมายได้

ป.๕/๖, ชดั เจนตรงตามวัตถปุ ระสงค์

ป.๕/๗, ๓. แผนภาพโครงเร่ืองใชใ้ นการวางโครง

ป.๕/๘, เร่ืองทีม่ ีการดาเนินเร่ืองเปน็ ไป

ป.๕/๙ ตามลาดบั เหตกุ ารณ์ สว่ นแผนภาพ

ความคดิ ใชใ้ นการวางโครงเร่ืองที่มี

ความคดิ รวบยอดเปน็ สาคัญ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านหว้ ยวังปลา

๕๘

ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวชี้วดั (ชว่ั โมง) คะแนน

การนาแผนการโครงเร่อื งและแผนภาพ

ความคิดมาใชใ้ นงานเขียนทาให้งาน

เขียนมีคุณภาพ และได้ความครบถ้วน

สมบรู ณ์

๔. ย่อความเปน็ การนาใจความสาคัญ

ของแตล่ ะตอนจากเร่ืองท่ีอา่ นมาเรียบ

เรยี งใหม่เพื่อใหเ้ ขา้ ใจเร่ืองทตี่ ้องการ

สอ่ื สารได้ง่ายยง่ิ ข้นึ

๕. การเขยี นจดหมายถึงผู้ปกครองและ

ญาติ ตอ้ งใชภ้ าษาท่สี ุภาพ แสดงถึง

ความเคารพให้เหมาะสมกบั บุคคล

๖. การเขยี นแสดงความรู้สกึ และความ

คิดเหน็ เป็นการนาเสนอข้อเท็จจรงิ ท่ีได้

จากการตรวจสอบโดยใช้เหตุผล

ประกอบ ซงึ่ ทาใหผ้ อู้ ่านไดร้ ับทราบ

ขอ้ มูลและข้อคิดเหน็ ทเี่ ป็นประโยชน์

๗. การกรอกแบบรายการต่าง ๆ ได้

อย่างถูกต้อง ใช้ภาษาที่กระชับ ชัดเจน

ทาใหส้ ่อื สารไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์

และสะดวกในการติดต่อทาธรุ ะ

๘. การเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการไดด้ ี

ต้องหมน่ั ฝกึ การคิด การสงั เกต และมี

ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์

๙. การมีมารยาทในการเขยี นจะทาให้

ผอู้ า่ น

สามารถเขา้ ใจสารท่ีผเู้ ขียนถ่ายทอดได้

ง่ายและมปี ระสทิ ธิภาพยิง่ ข้ึน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านหว้ ยวงั ปลา

๕๙

ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด (ชวั่ โมง) คะแนน

๒๐ ฟงั ดู รู้สนทนา ท ๓.๑ ป.๕/๑, ๑. การพูดแสดงความรู้ ความคดิ เห็น ๘๓

ภาษาส่ือสาร ป.๕/๒, และความรู้สกึ จากเร่ืองที่ฟังและดู ควร

ป.๕/๓, พจิ ารณาอย่างรอบคอบก่อนพูด เพอื่

ป.๕/๔, ไม่ใหเ้ กิดความขดั แยง้ กบั ผูอ้ ืน่ เพราะใน

ป.๕/๕ เรื่องเดยี วกันแตล่ ะคนอาจมีมุมมองและ

ความคิดเหน็ แตกต่างกนั ได้

๒. การตง้ั คาถามและตอบคาถามเชงิ

เหตผุ ลจากเร่อื งที่ฟังและดู ทาให้

สามารถวิเคราะหค์ วามน่าเช่ือถอื ของ

เรื่อง และนาความรหู้ รอื ขอ้ คิดที่ไดร้ บั ไป

ใช้เป็นประโยชน์ในชีวติ

ประจาวนั

๓. การวเิ คราะห์ความนา่ เชื่อถือจาก

เร่ืองท่ีฟังและดูในชวี ติ ประจาวันต้องใช้

เหตุผลมขี ้อเท็จจริงและหลักฐานมา

ประกอบ

๔. การพูดรายงานตามหลักการที่ถูกต้อง

จะทาให้การนาเสนอขอ้ มลู มีความ

น่าสนใจและผูฟ้ ังไดร้ บั ประโยชน์จาก

การฟังน้นั

๕. การมีมารยาทในการฟัง การดู และ

การพูด ทาใหก้ ารติดต่อส่ือสารมี

ประสทิ ธภิ าพและเปน็ มารยาททางสงั คม

ท่พี ึงปฏิบัติ

๒๑ ราชาธิราช ตอน ท ๑.๑ ป.๕/๑, เรอ่ื ง ราชาธริ าช ตอน กาเนิดมะกะโท ๘ ๒
กาเนดิ มะกะโท
ป.๕/๕, แสดงใหเ้ ห็นถึงคณุ ธรรมและคุณลักษณะ

ป.๕/๗ พิเศษของมะกะโท ซง่ึ จะเปน็ ผ้นู าในภาย

ท ๕.๑ ป.๕/๑, หนา้ เช่น ความกตญั ญคู วามจงรกั ภักดี

ป.๕/๒, ความเมตตา ความมานะอุตสาหะ

ป.๕/๓ สติปัญญาไหวพริบอนั ชาญฉลาด

มองเห็นการณ์ไกล และรจู้ ักแกป้ ญั หา

เม่ือเกดิ เหตุย่งุ ยากตา่ ง ๆนอกจากจะ

ได้รบั ความเพลิดเพลนิ จากเน้ือเร่อื งแล้ว

ยงั ไดร้ บั ความรูเ้ กย่ี วกับเรื่องราวใน

ประวัตศิ าสตร์ วิถชี ีวติ ความเป็นอยขู่ อง

คนไทยในอดตี รวมทั้งข้อคิดต่าง ๆ ที่

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นห้วยวังปลา

๖๐

ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวชว้ี ดั (ชั่วโมง) คะแนน

นาไปใช้ในชวี ติ จริงได้เปน็ อยา่ งดสี ิง่

เหล่านี้คอื ประโยชนห์ ลายประการท่ี

ได้รับจากวรรณคดี

๒๒ โคลงโลกนิติ ท ๑.๑ ป.๕/๑, -คาสอนจากโคลงโลกนิติพระนิพนธข์ อง ๖ ๒
ป.๕/๕, สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาติศร ทกี่ รม
๒๓ นิทานคตธิ รรม ป.๕/๗ วิชาการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้รวบรวม ๔ ๒
เร่ือง พญาชา้ ง
ผเู้ สยี สละ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ไวน้ ัน้ ลว้ นเปน็ คาสอนทเี่ หมาะสมจะ ๒ ๒
ป.๕/๒, นาไปใช้เปน็ หลักปฏิบัตใิ นการดาเนนิ - ๓๐
๒๔ บทอาขยาน ป.๕/๓, ชีวติ ปัจจบุ นั ไดอ้ ย่างดี ท้ังใหข้ ้อคดิ ๑๖๐ ๑๐๐
ป.๕/๔ เตอื นใจสาหรับตนเอง หรือใช้แนะนาส่งั
สอนผูอ้ ื่น คาสอนในโคลงโลกนิตจิ ึง
ทรงคุณคา่ เสมอสาหรับผูท้ ป่ี ระพฤติ
ปฏบิ ตั ติ าม

ท ๑.๑ ป.๕/๑, -นทิ านคติธรรมเรื่อง พญาช้างผูเ้ สยี สละ
ป.๕/๕, ใหค้ ตวิ า่ “ทาดีได้ดี ทาชัว่ ไดช้ ั่ว” ใน
ป.๕/๗ สงั คมยอ่ มมที ้ังคนดแี ละคนชว่ั เราจงึ ควร

ท ๕.๑ ป.๕/๑, นาคณุ ธรรมของคนดมี าเป็นแบบอยา่ ง
ป.๕/๒, พร้อมทั้งใช้สตปิ ัญญาพิจารณาให้รู้ทนั
ป.๕/๓ เล่หเ์ หลีย่ มของคนช่วั เพ่ือหลกี เลี่ยงการ
คบหาอันอาจจะ นาภัยมาสตู่ นเอง

ท ๕.๑ ป.๕/๔ การทอ่ งจาบทอาขยานสามารถนาไปใช้
อ้างองิ และนาข้อคดิ ไปเปน็ แนวทางใน
การดาเนินชีวิต

สอบปลายปี

รวมตลอดท้ังปี

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านห้วยวงั ปลา

๖๑

รายวชิ าภาษาไทย
กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา

๖๒

ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖

สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนิน
ชวี ิตและมนี สิ ยั รักการอ่าน
ตวั ช้วี ัด

๑. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
๒. อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและขอ้ ความท่เี ป็นโวหาร
๓. อา่ นเรอื่ งส้นั ๆ อยา่ งหลากหลายโดยจบั เวลาแลว้ ถามเกย่ี วกับเรือ่ งท่ีอ่าน
๔. แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็นจากเร่อื งท่ีอ่าน
๕. อธบิ ายการนาความรู้และความคิด จากเรอื่ งทอ่ี า่ นไปตดั สนิ ใจแก้ปัญหา ในการดาเนินชวี ิต
๖. อ่านงานเขยี นเชงิ อธิบาย คาส่งั ขอ้ แนะนา และปฏบิ ตั ิตาม
๗. อธิบายความหมายของข้อมูล จากการอ่านแผนผงั แผนที่ แผนภมู ิ และกราฟ
๘. อ่านหนังสอื ทีม่ คี ุณคา่ ตามความสนใจอยา่ งสม่าเสมอและแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั เร่ืองทอ่ี า่ น
๙. มีมารยาทในการอ่าน
สาระท่ี ๒ การเขยี น
ตวั ชีว้ ัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขยี นส่อื สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่ืองราวในรูปแบบ
ต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงาน การศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครงึ่ บรรทดั
๒. เขยี นส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกตอ้ งชดั เจน และเหมาะสม
๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคดิ เพ่ือใช้พฒั นางานเขยี น
๔. เขยี นเรียงความ
๕. เขยี นยอ่ ความจากเรื่องทอ่ี ่าน
๖. เขียนจดหมายสว่ นตวั
๗. กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ
๘. เขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการและสรา้ งสรรค์
๙. มมี ารยาทในการเขยี น
สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกใน
โอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์
ตวั ชวี้ ัด
๑. พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงคข์ องเร่ืองที่ฟังและดู
๒. ตงั้ คาถามและตอบคาถามเชงิ เหตผุ ล จากเรื่องที่ฟังและดู
๓. วเิ คราะหค์ วามน่าเชอ่ื ถอื จากการฟังและดสู ื่อโฆษณาอย่างมเี หตผุ ล
๔. พดู รายงานเรือ่ งหรอื ประเดน็ ทศ่ี กึ ษาคน้ คว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
๕. พูดโน้มนา้ วอย่างมีเหตผุ ล และน่าเช่อื ถอื
๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู
สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา

๖๓
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ
ตัวชวี้ ัด

๑. วเิ คราะหช์ นดิ และหนา้ ที่ของคาในประโยค
๒. ใช้คาไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล
๓. รวบรวมและบอกความหมายของคาภาษาตา่ งประเทศ ทใี่ ชใ้ นภาษาไทย
๔. ระบุลกั ษณะของประโยค
๕. แต่งบทรอ้ ยกรอง
๖. วิเคราะหแ์ ละเปรียบเทยี บสานวนท่เี ป็นคาพงั เพย และสุภาษิต
สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ คา่ และ
นามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จริง
ตัวชี้วดั
๑. แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดี หรือวรรณกรรมท่ีอ่าน
๒. เล่านิทานพนื้ บา้ นท้องถน่ิ ตนเอง และนิทานพื้นบา้ นของทอ้ งถ่ินอ่นื
๓. อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมท่อี า่ นและนาไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง
๔. ทอ่ งจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทรอ้ ยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านห้วยวงั ปลา

๖๔

คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

รหสั วิชา ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

ฝกึ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็น
โวหาร อ่านเรื่องส้ัน ๆ อย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์และแสดง
ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั เรื่องที่อ่านเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชวี ิต อา่ นงานเขยี น เชงิ อธิบาย คาสง่ั ขอ้ แนะนาและ
ปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผงั แผนที่ แผนภูมิและกราฟ เลือกอ่านหนังสือตาม
ความสนใจและอธบิ ายคุณคา่ ที่ได้รับ มีมารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อ
ความจากเร่ืองอ่าน เขียนจดส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเร่ืองตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มี
มารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู ตั้ง
คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากเร่ืองที่ฟังและดูสื่อโฆษณา
อย่างมเี หตุผล พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นทีศ่ ึกษาคน้ คว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา พูดโนม้ นา้ วอย่าง
มีเหตผุ ลและน่าเชอื่ ถอื มมี ารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด

ฝึกวิเคราะห์ชนดิ และหน้าท่ีของคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและ
บอกความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง
วิเคราะห์เปรียบเทียบสานวนทเ่ี ป็นคาพงั เพยและสภุ าษิต

ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านท้องถ่ินตนเองและนิทาน
พื้นบ้านของท้องถ่ินอ่ืน อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อย โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหา
ความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกข้อเท็จจริง กระบ วนการ
คน้ ควา้ กระบวนการใช้เทคโนโลยใี นการส่ือสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝกึ ปฏบิ ตั ิ อธิบาย บนั ทึก
การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้าง
ความคดิ รวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธกี ารของเศรษฐกิจพอเพยี ง
และสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ บั ชวี ติ ประจาวันไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวชีว้ ดั

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา

๖๕

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวชิ า ท ๑๖๑๐๑ รายวิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย
จานวน ๔.๐ หน่วยกิต
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง/ปี

สดั ส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = ๗๐ : ๓๐

ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก
การเรียนรู้ เรียนรู้/ตวั ช้ีวัด (ช่ัวโมง) คะแนน

๑ คานาม...ใชเ้ รยี ก ท ๔/๑ ป.๖/๑ คานามเปน็ คาชนิดหนง่ึ ท่ใี ชเ้ รียกคนพชื ๔ ๒

ตามช่อื สตั ว์ส่ิงของและสถานที่คานามทาหนา้ ที่

เปน็ ไดท้ ้ังประธานและกรรมในประโยค

ซึ่งใช้สอื่ สารในชวี ติ ประจาวัน

๒ คาแทนช่ือ... ท ๔/๑ ป.๖/๑ คาสรรพนามเปน็ คาท่ีใชแ้ ทนคานามเพ่ือ ๔ ๒

นี้คือสรรพนาม ไมต่ ้องกลา่ วคานามนน้ั ซ้าอกี คาสรรพ

นามเป็นคาท่ีตอ้ งใชใ้ นการสนทนาใน

ชีวติ ประจาวนั จึงต้องเลอื กใช้กับบุคคล

ต่าง ๆให้ถูกตอ้ งและเหมาะสม

๓ คากริยา...สอื่ ท ๔/๑ ป.๖/๑ คากริยาเป็นคาท่แี สดงอาการหรือสภาพ ๔ ๒

อาการ หรอื การกระทาของประธานในประโยค

ซง่ึ เปน็ คานามหรอื คาสรรพนามประโยค

ทุกประโยคจะต้องมีคากรยิ า

๔ ขยายคา...ควรจา ท ๔/๑ ป.๖/๑ คาวเิ ศษณ์เปน็ คาทใ่ี ช้ขยายหรือประกอบ ๔ ๒

คาวิเศษณ์ คาอ่ืนคือคานามคาสรรพนามคากรยิ า

หรอื คาวเิ ศษณ์ด้วยกนั เองเพ่ือให้ได้

ใจความชัดเจนย่งิ ขึ้น

๕ บุพบท...จดจา ท ๔/๑ ป.๖/๑ คาบพุ บททาหน้าทีแ่ สดงความสมั พันธ์ ๔ ๒

นาหน้าคาหรือ ระหวา่ งคาหรือกลุ่มคาเพ่ือบอกเวลา

ข้อความ ตาแหน่งที่ต้ังสถานทค่ี วามเป็นเจา้ ของ

ความเก่ียวข้องหรือความประสงคจ์ งึ ควร

เลือกใช้คาบุพบทแตล่ ะชนดิ ใหถ้ ูกต้อง

และเหมาะสม

๖ คาสันธาน... ท ๔/๑ ป.๖/๑ คาสนั ธานใช้เชอื่ มคาประโยคหรือ ๔๒

สะพานเช่ือมคา ข้อความให้มใี จความต่อเนอ่ื งกันประโยค

และประโยค ท่ีมีคาสนั ธานจะสามารถแยกเปน็

ประโยคย่อยไดค้ าสันธานทาใหป้ ระโยค

หรอื ข้อความสละสลวยข้ึน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านห้วยวังปลา

๖๖

ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
การเรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชีว้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน

๗ อา่ นคล่อง...ต้องรู้ ท ๑.๑ ป.๖/๑ ๑. การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วต้อง ๑๗ ๔

วิธี ๑ ป.๖/๒ ออกเสยี งใหถ้ ูกต้องชดั เจนตามอกั ขรวธิ ี

ป.๖/๓ เว้นวรรคตอนเหมาะสมใช้น้าเสยี งน่าฟัง

ป.๖/๔ มีเสยี งหนักเสียงเบาการอา่ นนั้นจงึ จะมี

ป.๖/๕ ประสทิ ธิภาพเกิดความนา่ สนใจผู้ฟัง

ป.๖/๙ สามารถจับใจความได้ง่ายและถูกต้อง

๒. การอ่านออกเสียงบทรอ้ ย-กรองได้

ถูกต้องตามลักษณะคาประพันธแ์ ละ

อักขรวธิ ีรู้จกั เอื้อนเสียงแสดงอารมณ์

ตามเน้ือหาความจะทาให้บทร้อยกรอง

น้นั เกิดความไพเราะนา่ ฟังยงิ่ ข้ึน

๓. การฝกึ ฝนการอ่านจบั ใจความตาม

หลักเกณฑอ์ ยา่ งสม่าเสมอจะทาให้เข้าใจ

สาระสาคัญของเรื่องได้ถูกต้องและอ่าน

เรื่องไดร้ วดเร็วยิ่งขึ้น

๔. การมีมารยาทในการอ่านแสดงถึง

อุปนสิ ัยทีด่ ีซง่ึ น่าชืน่ ชม

๘ เขียนชานาญ... ท ๒.๑ ป.๖/๑ ๑. การคดั ลายมือเปน็ ทักษะท่ีตอ้ งฝกึ ฝน ๙ ๔

งานสร้างสรรค์ ๑ ป.๖/๒ อยเู่ สมอเพ่ือพฒั นาลายมือและเขียน

ป.๖/๕ หนังสือใหถ้ ูกตอ้ งลายมือที่อ่านง่ายเป็น

ป.๖/๙ ระเบียบเรียบรอ้ ยสะอาดนอกจากทาให้

ผูอ้ า่ นสบายตาเกิดความร้สู กึ อยากอ่าน

ขอ้ ความน้ันแล้วยงั แสดงให้เห็นว่า

ผู้เขียนมคี วามตั้งใจและมีมารยาทท่ีดีใน

การเขียน

๒. การเขียนส่ือสารต้องใชถ้ ้อยคา

สานวนภาษารวมทั้งรปู แบบใหถ้ กู ต้อง

เหมาะสมเพ่อื ส่ือความหมายไดช้ ัดเจน

ตรงตามวัตถุประสงค์

๓. การเขยี นย่อความเป็นการนาใจความ

สาคัญของเนื้อเร่ืองแตล่ ะย่อหนา้ มา

เรียบเรียงใหมใ่ หต้ ่อเนื่องกนั ซ่ึงจะชว่ ยให้

การส่ือสารเกดิ ความเข้าใจไดง้ ่ายยง่ิ ขึ้น

๔. การมีมารยาทในการเขียนจะช่วยให้

การถา่ ยทอดความร้แู ละความคดิ ของ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นห้วยวังปลา

๖๗

ที่ ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ช้ีวัด (ช่วั โมง) คะแนน

ผูเ้ ขยี นไปสผู่ ูอ้ ่านมีประสิทธภิ าพและ

ประสบผลสาเรจ็

๙ ฟงั ดูรสู้ นทนา... ท ๓.๑ ป.๖/๑ ๑.การพูดแสดงความรคู้ วามเขา้ ใจ ๑๑ ๒
ภาษาส่อื สาร ๑ ป.๖/๒ จุดประสงคข์ องเร่ืองท่ีฟังและดตู ้องฟัง ๘ ๒
ป.๖/๕ และดเู รอ่ื งนั้นให้ตลอดจึงจะสามารถพดู
๑๐ บทละครเร่ือง ป.๖/๖ ไดถ้ ูกตอ้ งและนาความร้หู รือข้อคิดไปใช้
รามเกยี รติ์ตอน ให้เป็นประโยชนไ์ ด้
ศึกไมยราพ ท ๑.๑ ป.๖/๑ ๒. การตั้งคาถามและตอบคาถามเชงิ
ป.๖/๒ เหตผุ ลจากเร่ืองท่ีฟังและดูทาใหส้ ามารถ
ป.๖/๕ วิเคราะหค์ วามน่าเช่ือถือเพื่อนาความรู้
ป.๖/๘ และข้อคดิ ที่ไดจ้ ากเร่อื งนัน้ ไปปฏบิ ตั ิให้
เกิดประโยชน์
ท ๕.๑ ป.๖/๑ ๓. การพูดโน้มนา้ วเปน็ การพูดจงู ใจหรือ
ป.๖/๓ เชิญชวนให้ผู้ฟังเกดิ ความรสู้ ึกคล้อยตาม
ป.๖/๔ หรือเกิดกาลงั ใจในการทาสิง่ ใดส่ิงหนึ่งท่ี
เกดิ ประโยชน์แก่ส่วนรวม
๔. การมมี ารยาทในการฟังการดูและ
การพูดจะทาให้รับสารและสง่ สารได้
เหมาะสมกับกาลเทศะเป็นทช่ี ื่นชมของผู้
ที่พบเหน็

รามเกียรตเ์ิ ปน็ วรรณคดไี ทยที่มเี คา้ โครง
เรอ่ื งมาจากรามายณะของอนิ เดียเนอื้
เรื่องเป็นการทาสงครามอันยืดเย้ือ
ระหวา่ งมนุษย์ลิงและยักษ์มีความ
สนุกสนานต่นื เตน้ เร้าใจโดยมีแกน่ สาคญั
ของเร่ืองคือธรรมะย่อมชนะอธรรม

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านห้วยวังปลา

๖๘

ที่ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั
การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด (ช่วั โมง) คะแนน

๑๑ สภุ าษิตสอนหญงิ ท ๑.๑ ป.๖/๑ สภุ าษิตสอนหญงิ เปน็ วรรณคดีคาสอน ๕ ๒

ป.๖/๒ แกห่ ญงิ ไทยให้คติเตือนใจแนวทางใน

ป.๖/๕ การประพฤติปฏิบตั ติ นท้งั ทางกายวาจา

ป.๖/๘ ใจท่ีดงี ามสอดคล้องกับคา่ นิยมและ

ท ๕.๑ ป.๖/๑ ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยซึ่งยงั คง

ป.๖/๓ ทันสมัยและใช้ไดต้ ลอดกาล

ป.๖/๔

๑๒ คากลอนสอน ท ๑.๑ ป.๖/๑ การนาข้อคิดจากคากลอนสภุ าษิตไป ๔๒

สภุ าษิต... ป.๖/๒ ปฏบิ ัติทาให้เกดิ ประโยชนต์ ่อการดาเนนิ

ใหข้ ้อคดิ สอนใจ ป.๖/๕ ชีวิต ประจาวนั และการอยรู่ ว่ มกนั ใน

ป.๖/๘ สงั คม

ท ๕.๑ ป.๖/๑

ป.๖/๓

ป.๖/๔

๑๓ บทอาขยาน ท ๕.๑ ป.๖/๔ การทอ่ งจาบทอาขยานเพ่ือนาไปใช้ ๒๒

อ้างองิ และนาข้อคดิ ไปเป็นแนวทางใน

การดาเนนิ ชีวิต

๑๔ คาอทุ าน... ท ๔/๑ ป.๖/๑ คาอทุ านใช้แทนอารมณค์ วามรสู้ กึ ตา่ ง ๆ ๔ ๒

สอ่ื สารอารมณ์ ของผู้พดู ทาให้ผู้ฟังเขา้ ใจสง่ิ ท่ีพดู ชัดเจน

ยิ่งขนึ้

๑๕ ระดบั ภาษาราชา ท ๔/๑ ป.๖/๒ การเลือกใช้ภาษาในการสอ่ื สารกับ ๖๒

ศัพท์ภาษาถิ่น... บคุ คลตา่ ง ๆได้อย่างเหมาะสมเป็นการ

ใชใ้ หเ้ คยชนิ และ อนรุ กั ษ์วัฒนธรรมทางภาษาซ่ึงเป็น

เหมาะสม เอกลกั ษณ์อยา่ งหนึง่ ของชาติ

๑๖ คาในภาษาไทย... ท ๔/๑ ป.๖/๓ การรูล้ ักษณะของคาและความหมาย ๕๒

ท่นี ามาใชจ้ าก ของคาภาษาต่างประเทศท่ีใชใ้ นภาษา

ภาษาตา่ งประเทศ ทาให้อ่านเขียนและเข้าใจขอ้ ความตา่ ง

ๆได้ถูกตอ้ งชดั เจนย่ิงข้นึ

๑๗ สังเกตอย่างไร... ท ๔/๑ ป.๖/๔ ประโยคใช้ส่อื สารในชีวิตประจาวนั การ ๕ ๒

ประโยคชนิดใด ใช้ประโยคได้ถกู ต้องจะทาให้การส่อื สาร

หรือกลุ่มคา มปี ระสทิ ธภิ าพ

๑๘ กลอนสภุ าพ... ท ๔/๑ ป.๖/๕ การแตง่ บทร้อยกรองต้องคานึงถงึ ๔๒

ซาบซง้ึ ใจ ลักษณะและข้อกาหนดของบทรอ้ ยกรอง

แต่ละประเภทรู้จักเลือกสรรถ้อยคาท่ีมี

ความหมายและเสยี งคล้องจองเหมาะสม

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านห้วยวังปลา

๖๙

ท่ี ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
การเรียนรู้ เรยี นรู้/ตัวช้ีวดั (ชั่วโมง) คะแนน

มาใชจ้ งึ จะทาให้บทร้อยกรองนน้ั ไพเราะ

สละสลวย

๑๙ สานวนไทย... ท ๔/๑ ป.๖/๖ คาพังเพยและสภุ าษิตเป็นสานวนไทยทมี่ ี ๔ ๒
สอนใจ ความหมายในเชงิ เปรยี บเทียบและให้คติ ๗ ๔
ให้คดิ ท ๑.๑ ป.๖/๖ สอนใจ
ป.๖/๗ ๒๐ ๔
๒๐ อ่านคล่อง...ต้องรู้ ป.๖/๘ ๑.การอา่ นงานเขียนเชิงอธิบายคาส่ัง
วธิ ี ๒ ป.๖/๙ ข้อแนะนาและปฏิบัตติ ามอยา่ งถูกต้อง
จะทาให้ได้รับประโยชน์ในการนาไปใช้
๒๑ เขียนชานาญ... ท ๒.๑ ป.๖/๒ อย่างเตม็ ท่ี
งานสรา้ งสรรค์ ๒ ป.๖/๓ ๒. การอ่านข้อมลู จากแผนผัง แผนที่
ป.๖/๔ แผนภมู ิ และกราฟทาใหเ้ ข้าใจ
ป.๖/๖ ความหมายรวดเรว็ ชัดเจนยงิ่ ขึน้ และ
ป.๖/๗ นาไปใชป้ ระโยชน์ไดง้ ่าย
ป.๖/๘ ๓. การอ่านหนงั สอื ไมว่ า่ จะเป็นหนังสอื
ป.๖/๙ ประเภทใดลว้ นแต่มีความสาคัญในการ
สร้าง
พฤติกรรมแห่งการเรยี นรู้ได้ตลอดชีวิต
๔. การมีมารยาทในการอ่านแสดงถงึ
อุปนิสยั ที่ดีซึ่งน่าชื่นชม

๑. การเขียนสื่อสารตอ้ งใช้ถอ้ ยคา
สานวนภาษารวมท้งั รูปแบบให้ถูกต้อง
เหมาะสมเพอ่ื ส่ือความหมายไดช้ ดั เจน
ตรงตามวัตถุประสงค์
๒. การเขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและ
แผนภาพความคิดเพ่ือใช้พฒั นางาน
เขยี นจะชว่ ยให้การนาเสนอข้อมลู มี
ระบบงานเขียนมปี ระเด็นชัดเจนและได้
ความครบถ้วนสมบูรณ์
๓. การเขยี นเรียงความมรี ูปแบบเฉพาะ
คือมีคานาเนื้อเรอื่ งและสรปุ เปน็ การ
เขียนเพื่อถ่ายทอดความรูค้ วามคดิ
ความรสู้ ึกและประสบการณ์ไปยังผู้อ่าน
๔. การเขียนจดหมายสว่ นตวั เพือ่ ใช้
ติดต่อสื่อสารกับบิดามารดาญาติพนี่ อ้ ง
หรอื เพื่อนควรเลือกใชถ้ ้อยคาสานวน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา

๗๐

ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน

ภาษาใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมกับ

สถานการณจ์ ะทาให้การสื่อสารนน้ั

ประสบผลสาเรจ็ ตรงตามวัตถุประสงค์

๕. การกรอกแบบรายการได้ครบถว้ น

ถูกต้องด้วยลายมือทีอ่ ่านงา่ ยสะอาด

เรียบรอ้ ยจะทาใหก้ ารติดตอ่ ส่ือสารกบั

หนว่ ยงานหรอื องค์กรต่าง ๆประสบ

ความสาเร็จ

๖. การเขียนเรื่องตามจินตนาการต้องมี

ความรู้เกยี่ วกับเรื่องนนั้ อยา่ งดจี ากนัน้ จึง

วางโครงเร่ืองทีส่ นุกและนา่ สนใจแล้ว

เรียบเรียง เร่อื งโดยใช้สานวนภาษาที่

เหมาะสมเพ่ือให้ผ้อู า่ นเห็นภาพและเกิด

ความรู้สกึ คล้อยตามเนื้อเรอื่ งท่ีอา่ น

๗. การมีมารยาทในการเขยี นจะช่วยให้

การถา่ ยทอดความร้แู ละความคดิ ของ

ผู้เขียนไปสผู่ ู้อ่านมปี ระสทิ ธิภาพและ

ประสบผลสาเรจ็

๒๒ ฟงั ดรู สู้ นทนา... ท ๓.๑ ป. ๖/๓ ๑. การวเิ คราะหค์ วามน่าเชื่อถอื จากสอื่ ๖ ๒
ภาษาส่อื สาร ๒
ป. ๖/๔ โฆษณาต้องใชข้ ้อมูลและเหตุผล
๒๓ นิทานทองอนิ
ตอน นากพระ ป. ๖/๖ ประกอบเพ่ือจะได้เลือกซื้อสนิ ค้าทม่ี ี
โขนงทส่ี อง
คุณภาพหรือใชบ้ รกิ ารตามที่ต้องการ

อย่างคุ้มค่า

๒. การพดู รายงานที่ดีทาให้การนาเสนอ

ข้อมูลมีความน่าสนใจผู้ฟังไดร้ ับความรู้

และประโยชน์จากการฟัง

๓. การมมี ารยาทในการฟังการดแู ละ

การพดู จะทาให้รบั สารและสง่ สารได้

เหมาะสมกับกาลเทศะเปน็ ทชี่ ื่นชมของผู้

ทพ่ี บเห็น

ท ๑.๑ ป. ๖/๑ นทิ านทองอินตอนนากพระ-โขนงที่สอง ๗ ๒

ป. ๖/๒ สะท้อนใหเ้ หน็ การเกิดขา่ วลอื ขน้ึ ใน

ป. ๖/๓ สงั คมแม้กระทัง่ ได้เหน็ ส่งิ นนั้ ด้วยตาก็

ป. ๖/๕ อาจไม่ใชค่ วามจริงยิง่ ผ้รู ับข่าวสารต้องมี

ป. ๖/๘ วจิ ารณญาณไตร่ตรองเพ่ือไม่ให้หลงผิด

ท ๕.๑ ป.๖/๑ หรอื ตกเปน็ เหย่ือของผ้ไู ม่หวังดี

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านหว้ ยวังปลา

ที่ ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั ๗๑
การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวชีว้ ัด
เวลา น้าหนัก
(ชว่ั โมง) คะแนน

ป.๖/๒

ป.๖/๓

๒๔ บทเสภาเรือ่ ง ท ๑.๑ ป.๖/๑ บทเสภาเรอ่ื งขนุ ช้างขนุ แผนเปน็ ๖๒

ขุนช้างขนุ แผน ป.๖/๒ วรรณคดีทส่ี ะทอ้ นความเป็นไทยอยา่ ง

ตอนกาเนิดพลาย ป.๖/๕ เดน่ ชัดทัง้ สภาพสังคมวิถีชีวิตวฒั นธรรม

งาม ป.๖/๘ ความเชื่อและยังสะท้อนความจริงของ

ท ๕.๑ ชีวิตที่ตอ้ งพบกบั ความทุกขค์ วามเสยี

ป.๖/๑ ใจความพลัดพรากสิ่งเหลา่ นี้ล้วนเป็น

ป.๖/๒ คณุ ค่าของวรรณคดี

ป.๖/๓ ทีผ่ ู้อา่ นจะไดร้ ับ

ป.๖/๔

๒๕ นทิ านพื้นบ้าน ท๕.๑ ป.๖/๒ การนาข้อคดิ จากคากลอน สุภาษิตไป ๔ ๒

และเพลงพื้นบ้าน ปฏบิ ัตทิ าให้เกิด

ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต ประจาวนั

และการอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คม

๒๖ บทอาขยาน ท ๕.๑ ป.๖/๔ การท่องจาบทอาขยานเพ่ือนาไปใช้ ๒๒

อ้างองิ และนาข้อคิดไปเปน็ แนวทางใน

การดาเนนิ ชีวติ

สอบปลายปี - ๓๐

รวมตลอดท้ังปี ๑๖๐ ๑๐๐

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา

๗๒

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย (๗๐)
๑. อตั ราส่วนคะแนน ๖๐
คะแนนระหว่างปกี ารศกึ ษา : สอบปลายปกี ารศกึ ษา = ๗๐ : ๓๐
๑๐
รายการวดั (๓๐)
๑๐๐
ระหว่างภาค
มีการวดั และประเมินผล ดังนี้
๑. คะแนนระหวา่ งปีการศึกษา
๑.๑ วัดโดยใชแ้ บบทดสอบ
๑.๒ วัดทกั ษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ (เลือกวดั ตามแผนการจดั การเรียนร้)ู
๑.๒.๑ ภาระงานท่มี อบหมาย
- การทาใบงาน/แบบฝึกหัด/สมุดงาน
- การศกึ ษาค้นคว้า/การนาเสนองาน
- การรว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้
๑.๒.๒ ทกั ษะการสื่อสารทางภาษาไทย และสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
- การอ่าน
-การเขยี น
-การฟัง ดู พูด
๑.๓ วดั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๒. คะแนนสอบกลางปกี ารศึกษา
มีการวดั และประเมินผลโดยใชแ้ บบทดสอบ

คะแนนสอบปลายปีการศึกษา
มกี ารวดั และประเมินผลโดยใชแ้ บบทดสอบ

รวมทั้งภาคเรียน

๒. เกณฑ์การวดั ผลประเมนิ ผล
๑. การวดั และประเมินผลโดยใชแ้ บบทดสอบ
กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนแตล่ ะแบบทดสอบ ดงั นี้
๑.๑ เกณฑใ์ ห้คะแนนแบบทดสอบแบบเลอื กตอบ พจิ ารณาจากความถูกผดิ ของการเลือกตอบ
ตอบถกู ให้ ๑ คะแนน ตอบผิดให้ ๐ คะแนน
๑.๒ เกณฑใ์ หค้ ะแนนแบบทดสอบแบบถูกผดิ พจิ ารณาจากความถกู ผดิ ของคาตอบ
ตอบถกู ให้ ๑ คะแนน ตอบผดิ ให้ ๐ คะแนน
๑.๓ เกณฑ์ใหค้ ะแนนแบบทดสอบแบบเตมิ คา พจิ ารณาจากความถูกผดิ ของคาตอบ
ตอบถูกให้ ๑ คะแนน ตอบผิดให้ ๐ คะแนน
๑.๔ เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเขียนตอบ พจิ ารณาจากคาตอบในภาพรวมทั้งหมด

โดยกาหนดระดับคะแนนเป็น ๔ ระดบั ดงั น้ี

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา

๗๓

ระดับคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

๔ ตอบได้ถูกต้อง และสามารถอธิบายเหตุผลได้อยา่ งชดั เจน พร้อมทง้ั แสดงแนวคิดเชิง

เปรยี บเทียบ

๓ ตอบได้ถูกต้อง และสามารถอธบิ ายเหตผุ ลไดอ้ ย่างชดั เจน

๒ ตอบได้ถกู ต้อง และสามารถอธิบายเหตผุ ลได้เปน็ บางสว่ น แต่ยังไม่อย่างชดั เจน

๑ ตอบได้ถกู ต้อง แตไ่ ม่สามารถอธิบายเหตผุ ลได้

๐ ตอบได้ถูกต้อง และไมส่ ามารถอธิบายเหตผุ ลได้

๒. การวัดและประเมนิ ผลด้านทกั ษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ
๒.๑ ภาระงานที่มอบหมาย ดงั นี้

- ใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะ
กาหนดเกณฑ์การประเมนิ ผลของการทาใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝกึ ทกั ษะ เป็น ๔ ระดับ ดงั น้ี

ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา

๔ (ดมี าก) - ทาใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะครบถ้วนและเสร็จตามกาหนดเวลา

- ทาใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝกึ ทกั ษะไดถ้ ูกต้อง

- แสดงลาดบั ข้นั ตอนของการทาใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะชัดเจนเหมาะสม

๓ (ด)ี - ทาใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะครบถ้วนและเสร็จตามกาหนดเวลา

- ทาใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะไดถ้ ูกตอ้ ง

- สลับข้นั ตอนของการทาใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะ หรือไมร่ ะบุขั้นตอนของการ

ทาใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะ

๒ (พอใช้) - ทาใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะครบถ้วน แตเ่ สร็จหลังกาหนดเวลาเลก็ นอ้ ย

- ทาใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝกึ ทักษะข้อไม่ถูกต้อง

- สลับขัน้ ตอนของการทาใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะ หรอื ไมร่ ะบุขน้ั ตอนของการ

ทาใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะ

๑ (ต้อง - ทาใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝกึ ทกั ษะไมค่ รบถ้วน หรือไม่เสรจ็ ตามกาหนดเวลาเล็ก
ปรบั ปรุง) - ทาใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝกึ ทกั ษะไมถ่ ูกต้อง

- แสดงลาดบั ขั้นตอนของการทาใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะไมส่ ัมพันธก์ บั โจทย์

หรือไม่แสดงลาดับข้ันตอน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านหว้ ยวังปลา

๗๔

๒.๒ ทกั ษะการส่อื สารทางภาษาไทย และสมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น
- การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นภาษาไทย
การวัดผลและประเมินการเรียนรู้ด้านภาษาเป็นงานท่ียากซึ่งต้องการความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับ
การพัฒนาทางภาษา ดังน้ันผู้ปฏิบัติหน้าท่ีวัดผลการเรียนรู้ด้านภาษาจาเป็นต้องเข้าใจหลักการของการเรียนรู้
ภาษาไทย เพอ่ื เป็นพื้นฐานการดาเนนิ งานดังนี้
๑. ทักษะทางภาษาทัง้ การฟัง การดู การพดู การอ่าน และการเขียนมีความสาคัญเทา่ ๆ กนั และทกั ษะ
เหลา่ นี้จะบรู ณาการกันในการเรียนการสอนจะไม่แยกฝึกทักษะทีละอย่างจะต้องฝึกทักษะไปพร้อม ๆ กัน และ
ทักษะทางภาษาทักษะหนงึ่ จะส่งผลต่อการพัฒนาทักษะทางภาษาอ่นื ๆ ดวั ย
๒. ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษาพร้อมกับการพัฒนาความคิดเพราะภาษาเป็น
ส่ือของความคิด ผู้ท่ีมีทักษะและความสามารถในการใช้ภาษาจะช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดด้วย
ขณะเดยี วกนั การเรียนภาษาจะเรียนร่วมกันกับผู้อน่ื มีการติดตอ่ สอ่ื สาร ใช้ภาษาในการตดิ ต่อกบั เพอ่ื นกบั ครูจึง
เป็นการฝึกทักษะทางสังคมด้วย เมื่อผู้เรียนได้ใช้ภาษาในสถานการณ์จริงท้ังในบริบททางวิชาการในห้องเรียน
และในชุมชนจะทาใหผ้ เู้ รยี นไดใ้ ช้ภาษาและได้ฝึกทกั ษะทางสังคมในสถานการณ์จรงิ
๓. ผู้เรียนต้องเรียนรู้การใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนอย่างถูกต้องด้วยการฝึกการใช้ภาษามิใช่เรียนรู้
กฎเกณฑท์ างภาษาแตเ่ พยี งอย่างเดียว การเรียนภาษาจะตอ้ งเรยี นรไู้ วยากรณห์ รือหลักภาษาการสะกดคา
การใช้เครอ่ื งหมายวรรคตอน และนาความรดู้ งั กลา่ วไปใช้ในการฝึกฝนการเขยี นพฒั นาทกั ษะทางภาษาของตน
๔. ผู้เรียนทุกคนจะได้รับการพัฒนาทักษะทางภาษาเท่ากัน แต่การพัฒนาทางภาษาจะไม่เท่ากัน และ
วิธีการเรยี นรจู้ ะต่างกัน
๕. ภาษากับวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด หลักสูตรจะต้องให้ความสาคัญและใช้ความ
เคารพและเห็นคุณค่าของเช้ือชาติ จัดกิจกรรมภูมิหลังของภาษาและการใช้ภาษาถ่ินของผู้เรียนและช่วยให้
ผู้เรียนพัฒนาภาษาไทยของตน และพัฒนาความรู้สึกที่ดีเก่ียวกับภาษาไทยและกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถเรียน
ภาษาไทยด้วยความสขุ
๖. ภาษาไทยเป็นเครื่องมือของการเรียนรู้ และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะต้องใช้ภาษาไทยเป็น
เคร่ืองมือการสื่อสารและการแสวงหาความรู้ การเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะใชภ้ าษาในการหลักสูตรกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์ คิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การอภิปราย การเขียน
รายงาน การเขียนโครงการ การตอบคาถามการตอบข้อทดสอบ ดังนั้นครูทุกคนไม่ว่าจะสอนวิชาใดก็ตาม
จะตอ้ งใช้ภาษาท่ีเปน็ แบบแผน เปน็ ตวั อย่างท่ดี แี กน่ ักเรียน และตอ้ งสอนการใช้ภาษาแกผ่ ู้เรียนดว้ ยเสมอ
- วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมลู ผลการเรียนของผเู้ รียน
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีถูกนามาใช้ในการประเมินโดยทั่วไป ได้แก่ การสังเกตการตรวจงานหรือ
ผลงาน การทดสอบความรู้ การตรวจสอบการปฏิบัติ และการแสดงออกอย่างไรก็ตาม มีการนาเสนอแนว
ทางการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยพิจารณาจากเป้าประสงค์ของการประเมินที่เฉพาะเจาะจงในรายละเอียด เพ่ือ
ข้อมูลทไี่ ด้จะสามารถนามาใชป้ ระโยชนต์ ่อการปรับปรงุ พฒั นากระบวนการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างแทจ้ ริงดังน้ี
๑. การให้ตอบแบบทดสอบ ทั้งในลักษณะที่เป็นแบบเลือกคาตอบ ได้แก่ ข้อสอบแบบเลือกตอบ ถูก-
ผิด จับคู่ และข้อสอบชนิดให้ผู้สอบสร้างคาตอบ ได้แก่ เติมข้อความในช่องว่างคาตอบส้ันเป็นประโยค เป็น
ขอ้ ความ แผนภมู ิการเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยวีการนี้เหมาะกับการวัดความรเู้ กี่ยวกับข้อเท็จจริง ความรเู้ ก่ียวกับ
กระบวนการ ซึ่งมีข้อดีที่ใช้เวลาในการดาเนินการน้อย ง่าย และสะดวกต่อการนาไปใช้ให้ผลการประเมินท่ี
ตรงไปตรงมา เนื่องจากมีเกณฑ์การประเมินชัดเจน แต่ไม่เหมาะกับการนาไปใช้กับผลการเรียนรู้ท่ีเป็นเจตคติ
ค่านิยม

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบา้ นหว้ ยวงั ปลา

๗๕

๒. การพิจารณาจากผลงาน เช่น เรียงความ รายงานการวิจัย บันทึกประจาวัน รายงานการทดลอง
บทละครบทร้อยกรอง แฟ้มผลงาน เป็นต้น ผลงานจะเป็นตัวแสดงให้เห็นการนาความรู้และทักษะไปใช้ใน
การปฏิบัตงิ านของผูเ้ รยี น จดุ เด่นของการประเมนิ โดยดูจากผลงานน้ีคือจะแสดงใหเ้ หน็ ส่ิงทนี่ ักเรยี นสามารถทา
ได้ มกี ารกาหนดเกณฑ์การประเมนิ เพ่ือใหผ้ ้เู รยี นสามารถประเมินตนเองได้ เพอื่ การปรบั ปรุงพฒั นาตนเองของ
ผู้เรียน เพื่อนก็สามารถใชเ้ กณฑ์ในการประเมนิ ผลงานของผเู้ รียนไดเ้ ช่นกัน จุดด่อนของการประเมนิ จากผลงาน
คือ ต้องมีการกาหนดเกณฑ์การประเมินร่วมกัน ต้องใช้เวลาในการประเมินมาก รวมทั้งตัวแปรภายนอกอาจ
เข้ามามีอทิ ธิพลต่อการประเมนิ ได้ง่าย

๓. พิจารณาการปฏิบัติ โดยผู้สอนสามารถสังเกตการนาทักษะและความรู้ไปใช้ได้โดยตรงในสถาน
กรณีท่ีให้ปฏิบัติจริง วิธีการนี้ถูกนาไปใช้อย่างกว้างขวางในการประเมิน มีคุณค่ามาก หากผู้เรียนได้นาไปใช้ใน
การประเมินตนเองเพื่อสร้างแรงจูงใจในการปรับปรุงพัฒนาตนเองให้ดีข้ึน ในกระบวนการประเมินจะมี
เครื่องมือประกอบการดาเนินการคือ แบบสารวจรายการ ประมาณค่า และเกณฑ์การให้ระดับคะแนน
(scoring rubric)

๔. พิจารณากระบวนการ วิธีการนี้จะให้ข้อมูลเก่ียวกับวิธีการเรียนรู้ กระบวนการคิดของผู้เรียน
มากกว่าท่ีจะดูผลงานหรือการปฏิบัติ ซ่ึงจะทาให้เข้าใจกระบวนการคิดท่ีผู้เรียนใช้ วิธีการที่ครูผู้สอนใช้อยู่เป็น
ประจาในกระบวนการเรยี นการสอน คอื การให้นักเรียนคิดดงั ๆ การตัง้ คาถามใหน้ ักเรยี นตอบ โดยครจู ะเป็นผู้
สงั เกตวธิ ีการคิดของผู้เรยี น

วธิ กี ารเช่นน้ีเปน็ กระบวนการทจี่ ะให้ข้อมูลเพื่อการวินิจฉัย และเป็นขอ้ มลู ย้อนกลบั แก่ผู้เรยี น โดยการ
เก็บรวบรวมข้อมลู อย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเหมาะกับการประเมินพัฒนาการด้านคุณธรรม จริยธรรมและลักษณะนิสัย
จากแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินผลการเรียนรู้ดังกล่าวข้างต้นสามารถนามาพิจารณา
กาหนดแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูล ทักษะทางภาษาได้โดยการสงั เกตผา่ นพฤติกรรมการปฏิบัติตา่ ง ๆ ของ
ผ้เู รียน เชน่ การเลา่ เรอ่ื ง การใหค้ าชแี้ จง การเล่าประสบการณ์ การรว่ มกจิ กรรมต่าง ๆ การปฏิสมั พันธ์กับกลุ่ม
หรือบุคคล หากผลการเรียนรู้ท่ีต้องการจากการเรียนคือความรู้ ความคิดเก่ียวกับกฎเกณฑ์ของภาษา การใช้
ภาษา วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เพื่อการประเมินท่ีเหมาะสม คือ การใชข้ อ้ สอบ ซงึ่ อาจเปน็ แบบเลือกตอบหรือ
ให้สร้างคาตอบการประเมินด้วยการกาหนดประเด็นการประเมินท่ีแจกแจงระดับการปฏิบัติ (Rubric) Rubric
เป็นเคร่ืองมือประเมินผลการเรียนรู้ท่ีกาลังได้รับการยอมรับและถูกนามาใช้ในการประเมินผลการเรียนอย่าง
กว้างขวาง เน่ืองจากผลการประเมินท่ีได้มีคุณค่าต่อการปรับปรุงพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนมากกว่าตัวเลข
คะแนน และมีประสิทธิภาพสาหรับการประเมินการปฏิบัติหรือผลงานที่ไม่มีคาตอบถูกเพียงคาตอบเดียวหรือ
การแกป้ ัญหาทางเดยี ว แต่จะมคี าตอบท่ีหลากหลายการตดั สนิ ผลการประเมนิ จาเป็นต้องมเี กณฑ์การประเมินท่ี
แสดงระดับคุณภาพท่ีต้องการการประเมินความสามารถหรือทักษะทางภาษา เคร่ืองมือประเภทนี้น่าจะเป็น
เคร่ืองมือท่ีสามารถนาไปใช้ได้อย่างสอดคล้อง แต่เนื่องจากสร้างยากแต่หากสามารถพัฒนาขึ้นใช้ได้จะช่วย
ให้ผลการประเมินเที่ยงตรง เชื่อถือได้ และยุติธรรม รวมท้ังมีคุณค่าต่อการปรับปรุงและพัฒนาตนเองของ
ผเู้ รยี น เนอ่ื งจากระบคุ วามคาดหวงั ของการปฏิบัตไิ วอ้ ยา่ งชดั เจน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา

๗๖

- การประเมนิ ผลสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
การประเมินผลสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ประเมินโดยใช้แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของ

ผเู้ รียนโดยกาหนดเกณฑใ์ นการประเมิน ดังนี้

ระดับคณุ ภาพ ความหมาย

(๓) ดเี ยีย่ ม ผเู้ รียนปฏิบตั ติ นตามสมรรถนะจนเปน็ นิสัย และนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันเพอื่

ประโยชนส์ ขุ ของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมนิ ระดับดีเยีย่ มจานวน

๓-๕ สมรรถนะ และไมม่ สี มรรถนะใดไดผ้ ลการประเมนิ ตา่ กว่าระดับดี

(๒) ดี ผู้เรียนมสี มรรถนะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพอื่ ให้เปน็ การยอมรบั ของสงั คมโดย

พจิ ารณาจาก

๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดเี ยยี่ ม จานวน ๑-๒ สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดไดผ้ ล

การประเมนิ ตา่ กวา่ ระดับดี หรือ

๒. ไดผ้ ลการประเมินระดับดเี ยีย่ ม จานวน ๒ สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการ

ประเมินตา่ กวา่ ระดบั ผา่ น หรือ

๓. ไดผ้ ลการประเมินระดับดี จานวน ๔-๕ สมรรถนะ และไมม่ ีสมรรถนะใดไดผ้ ลการ

ประเมินต่ากวา่ ระดบั ผ่าน

(๑) ผา่ น ผ้เู รยี นรับรู้และปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์และเง่ือนไขทสี่ ถานศกึ ษากาหนด โดยพิจารณาจาก

๑. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ผา่ น จานวน ๔-๕ สมรรถนะ และไม่มสี มรรถนะใดได้ผลการ

ประเมินตา่ กว่าระดบั ผา่ น หรือ

๒. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดี จานวน ๒ สมรรถนะ และไม่มสี มรรถนะใดได้ผลการ

ประเมนิ ต่ากว่าระดบั ผา่ น

(๐) ไม่ผ่าน ผ้เู รียนรบั ร้แู ละปฏิบตั ิได้ไมค่ รบตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนด โดยพิจารณาจากผลการ

ประเมินระดบั ต้องปรบั ปรุง ต้ังแต่ ๑ สมรรถนะ

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั สิ ม่าเสมอ ให้ ๓ คะแนน

พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั บิ ่อยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตบิ างคร้ัง ให้ ๑ คะแนน

พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั นิ ้อยครัง้ ให้ ๐ คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพตามสมรถนะรายข้อ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
๑๓ - ๑๕ ดเี ยยี่ ม (๓)
๙ - ๑๒
๕-๘ ดี (๒)
ต่ากว่า ๕ ผ่าน (๑)
ไม่ผา่ น (๐)

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านห้วยวังปลา

๗๗

๓. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
การประเมนิ ผลคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประเมนิ โดยใช้แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
โดยกาหนดเกณฑ์ในการประเมนิ ดงั น้ี

ระดับคุณภาพ ความหมาย

(๓) ดีเย่ียม ผเู้ รียนปฏบิ ัตติ นตามคณุ ลักษณะจนเปน็ นิสยั และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อ

ประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ท้ัง ๘ คณุ ลักษณะ

คอื ไดร้ ะดับ ๓ จานวน ๕-๘ คุณลกั ษณะ และไม่มีคุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมินต่า

กวา่ ระดับ ๒

(๒) ดี ผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะในการปฏิบตั ติ ามเกณฑ์ เพ่ือให้เป็นที่ยอมรับของสังคม

โดยพิจารณาจาก

๑. ได้ผลการประเมินระดับ ๓ จานวน ๑-๔ คณุ ลักษณะ และไม่มีคุณลกั ษณะใด

ไดผ้ ลการประเมนิ ต่ากว่าระดับ ๒ หรือ

๒. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ๓ จานวน ๔ คุณลกั ษณะ และไม่มคี ณุ ลักษณะใด

ได้ผลการประเมนิ ตา่ กว่าระดับ ๑ หรือ

๓. ได้ผลการประเมินระดับ ๒ จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด

ได้ผลการประเมินตา่ กว่าระดับ ๑

(๑) ผ่าน ผ้เู รียนรบั รแู้ ละปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ และเงื่อนไขทสี่ ถานศึกษากาหนด

โดยพิจารณาจาก

๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับ ๑ จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มคี ุณลักษณะใด

ได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับ ๑ หรือ

๒. ได้ผลการประเมินระดับ ๒ จานวน ๔ คุณลกั ษณะ และไมม่ คี ณุ ลักษณะใด

ไดผ้ ลการประเมนิ ต่ากวา่ ระดับ ๑

(๐) ไม่ผ่าน ผู้เรยี นรับรู้และปฏิบัตไิ ด้ไมค่ รบตามกฎเกณฑ์และเง่ือนไขท่ีสถานศึกษากาหนด โดย

พจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ๐ ตง้ั แต่ ๑ คุณลักษณะข้นึ ไป

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

พฤติกรรมที่ปฏบิ ัติสมา่ เสมอ ให้ ๓ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั บิ ่อยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างครัง้ ให้ ๑ คะแนน

พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั นิ ้อยครงั้ ให้ ๐ คะแนน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา

๗๘

๔. เกณฑ์การตัดสินผลการเรยี น
๔.๑ เกณฑ์การตัดสินระดับผลการเรียน

ระดับผลการเรยี น ความหมาย ช่วงคะแนน

๔ ผลการเรียนดเี ย่ียม ๐ -๔๙

๓.๕ ผลการเรยี นดมี าก ๕๐ -๕๔

๓ ผลการเรียนดี ๕๕ -๕๙

๒.๕ ผลการเรยี นค่อนขา้ งดี ๖๐ -๖๔

๒ ผลการเรียนปานกลาง ๖๕ -๖๙

๑.๕ ผลการเรยี นพอใช้ ๗๐ -๗๔

๑ ผลการเรียนผ่านเกณฑข์ น้ั ตา่ ๗๕ -๗๙

๐ ผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑ์ ๘๐ -๑๐๐

๔.๒ เกณฑ์การตัดสินผลการเรยี น ร และ มส.

๔.๒.๑ ตดั สนิ ผลการเรยี น ร

หมายถงึ รอการตดั สินและยงั ตัดสินผลการเรยี นไม่ได้เน่ืองจาก ผู้เรียนไมม่ ขี ้อมูลผลการเรียน

ในรายวิชาครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลกลางภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงาน ที่มอบหมายให้ทา ซ่ึงงาน

นน้ั เปน็ ส่วนหน่ึงของการตดั สนิ ผลการเรยี น หรอื มเี หตสุ ดุ วสิ ัยท่ที าให้ประเมินผลการเรยี นไม่ได้

๑.๒.๒ ตัดสนิ ผลการเรยี น มส.

หมายถงึ ผู้เรยี นไม่มสี ทิ ธิเขา้ รบั การวดั ผลปลายภาคเรียน เนือ่ งจากผู้เรียนมีเวลาเรยี นไม่ถงึ

รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด และไมไ่ ดร้ ับการผอ่ นผันให้เขา้ รับการวัดผล ปลายภาคเรยี น

๕. การประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละการเขียน
เกณฑ์การประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์และการเขยี น คะแนนเตม็ ๒๐ คะแนน

ระดับคณุ ภาพ ความหมาย ชว่ งคะแนน
ดเี ยยี่ ม ๑๖ -๒๐
ดี มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละ ๑๓ -๑๕
ผ่าน เขียน ทีม่ ีคุณภาพดีเลิศอย่เู สมอ ๑๐ -๑๒

ไมผ่ า่ น มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์และ ๐–๙
เขยี น ท่ีมคี ุณภาพเป็นทย่ี อมรับได้

มีผลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และ
เขียน ทม่ี ีคุณภาพเป็นทีย่ อมรับได้ แต่ยงั มีข้อบกพรอ่ งบาง
ประการ

ไม่มผี ลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละ
เขยี น หรอื ถา้ มีผลงาน ผลงานน้ันยังมขี ้อบกพรอ่ งที่ต้องการไดร้ บั
การปรับปรงุ แกไ้ ขหลายประการ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นห้วยวังปลา

๗๙

อภิธานศพั ท์

กระบวนการเขยี น
กระบวนการเขียนเปน็ การคิดเรอื่ งทีจ่ ะเขียนและรวบรวมความรใู้ นการเขียน กระบวนการเขียน

มี ๕ ขนั้ ดงั นี้
๑. การเตรียมการเขยี น เปน็ ข้นั เตรียมพร้อมท่ีจะเขียนโดยเลือกหัวข้อเร่ืองท่ีจะเขียน บนพืน้ ฐานของ

ประสบการณ์ กาหนดรูปแบบการเขียน รวบรวมความคิดในการเขียน อาจใช้วิธีการอ่านหนังสือ สนทนา จัด
หมวดหมู่ความคิด โดยเขียนเป็นแผนภาพความคิด จดบันทึกความคิดที่จะเขียนเป็นรูปหัวข้อเร่ืองใหญ่ หัวข้อ
ยอ่ ย และรายละเอียดครา่ วๆ

๒. การยกร่างข้อเขียน เมื่อเตรียมหัวข้อเร่ืองและความคิดรูปแบบการเขียนแล้ว ให้นาความคิดมา
เขียนตามรูปแบบท่ีกาหนดเป็นการยกร่างข้อเขียน โดยคานึงถึงว่าจะเขียนให้ใครอ่าน จะใช้ภาษาอย่างไรให้
เหมาะสมกับเรื่องและเหมาะกับผู้อื่น จะเริ่มต้นเขียนอย่างไร มีหัวข้อเรื่องอย่างไร ลาดับความคิดอย่างไร
เชอื่ มโยงความคิดอย่างไร

๓. การปรับปรุงข้อเขียน เมื่อเขียนยกร่างแล้วอ่านทบทวนเรื่องที่เขียน ปรับปรุงเรื่องที่เขียนเพ่ิมเติม
ความคิดให้สมบูรณ์ แกไ้ ขภาษา สานวนโวหาร นาไปใหเ้ พอ่ื นหรอื ผู้อื่นอ่าน นาขอ้ เสนอแนะมาปรบั ปรุงอกี ครั้ง

๔. การบรรณาธิการกิจ นาข้อเขียนที่ปรับปรุงแล้วมาตรวจทานคาผิด แก้ไขให้ถูกต้อง แล้วอ่าน
ตรวจทานแก้ไขขอ้ เขยี นอกี ครง้ั แกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดทง้ั ภาษา ความคิด และการเว้นวรรคตอน
๕. การเขียนให้สมบูรณ์ นาเร่ืองที่แก้ไขปรับปรุงแล้วมาเขียนเร่ืองให้สมบูรณ์ จัดพิมพ์ วาดรูปประกอบ เขียน
ให้สมบูรณ์ด้วยลายมือท่ีสวยงามเป็นระเบียบ เม่ือพิมพ์หรือเขียนแล้วตรวจทานอีกคร้ังให้สมบูรณ์ก่อนจัดทา
รปู เล่ม
กระบวนการคิด

การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็นกระบวนการคิด คนที่จะคิดได้ดีต้องเป็นผู้ฟัง ผู้พูด ผู้อ่าน
และผ้เู ขยี นทด่ี ี บุคคลทจี่ ะคิดไดด้ ีจะต้องมีความรแู้ ละประสบการณ์พน้ื ฐานในการคิด บคุ คลจะมีความสามารถ
ในการรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า จะต้องมีความรู้และประสบการณ์
พื้นฐานที่นามาช่วยในการคิดทั้งส้ิน การสอนให้คิดควรใหผ้ ู้เรียนรู้จกั คัดเลือกข้อมูล ถ่ายทอด รวบรวม และจา
ข้อมลู ตา่ ง ๆ สมองของมนษุ ย์จะเป็นผ้บู ริโภคข้อมลู ข่าวสาร และสามารถแปลความขอ้ มลู ขา่ วสาร และสามารถ
นามาใชอ้ ้างอิง การเป็นผ้ฟู ัง ผู้พดู ผู้อ่าน และผู้เขียนท่ีดี จะตอ้ งสอนใหเ้ ปน็ ผบู้ รโิ ภคข้อมลู ข่าวสารที่ดแี ละเป็น
นักคิดท่ีดีด้วย กระบวนการสอนภาษาจึงต้องสอนให้ผู้เรียนเป็นผู้รับรู้ข้อมูลข่าวสารและมีทักษะการคิด นา
ข้อมูลข่าวสารท่ีได้จากการฟังและการอ่านนามาสู่การฝึกทักษะการคิด นาการฟัง การพูด การอ่าน และการ
เขียน มาสอนในรูปแบบ บูรณาการทักษะ ตัวอย่าง เช่น การเขียนเป็นกระบวนการคิดในการวิเคราะห์ การ
แยกแยะ การสังเคราะห์ การประเมินค่า การสร้างสรรค์ ผู้เขียนจะนาความรู้และประสบการณ์สู่การคิดและ
แสดงออกตามความคิดของตนเสมอ ต้องเป็นผู้อ่านและผู้ฟังเพื่อรับรู้ข่าวสารท่ีจะนามาวิเคราะห์และสามารถ
แสดงทรรศนะได้
กระบวนการอ่าน

การอ่านเป็นกระบวนการซึ่งผู้อ่านสร้างความหมายหรือพัฒนา การตีความระหว่างการอ่านผู้อ่าน
จะต้องรู้หัวข้อเรื่อง รู้จุดประสงค์ของการอ่าน มีความรู้ทางภาษาท่ีใกลเ้ คียงกับภาษาที่ใช้ในหนังสือท่ีอ่าน โดย
ใชป้ ระสบการณ์เดิมเป็นประสบการณท์ าความเขา้ ใจกบั เรือ่ งที่อ่าน กระบวนการอ่านมดี ังน้ี

๑. การเตรียมการอ่าน ผู้อ่านจะต้องอ่านชื่อเรื่อง หัวข้อย่อยจากสารบัญเร่ือง อ่านคานา ให้ทราบ
จุดมุ่งหมายของหนังสือ ตั้งจุดประสงค์ของการอ่านจะอ่านเพื่อความเพลิดเพลินหรืออ่านเพ่ือหาความรู้วาง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา

๘๐

แผนการอ่านโดยอ่านหนังสือตอนใดตอนหน่ึงว่าความยากง่ายอย่างไร หนังสือมีความยากมากน้อยเพียงใด
รูปแบบของหนังสือเป็นอย่างไร เหมาะกับผู้อ่านประเภทใด เดาความว่าเป็นเร่ืองเก่ียวกับอะไร เตรียมสมุด
ดนิ สอ สาหรับจดบนั ทึกขอ้ ความหรอื เนอ้ื เรื่องทสี่ าคญั ขณะอ่าน

๒. การอ่าน ผู้อ่านจะอ่านหนังสือให้ตลอดเล่มหรือเฉพาะตอนที่ต้องการอ่าน ขณะอ่านผู้อ่านจะใช้
ความรู้จากการอ่านคา ความหมายของคามาใช้ในการอ่าน รวมท้งั การรู้จกั แบ่งวรรคตอนด้วย การอ่านเร็วจะมี
ส่วนชว่ ยใหผ้ ้อู า่ นเขา้ ใจเรอ่ื งไดด้ ีกวา่ ผอู้ า่ นช้า ซึ่งจะสะกดคาอ่านหรอื อ่านย้อนไปยอ้ นมา ผู้อา่ นจะใช้บริบทหรือ
คาแวดล้อมชว่ ยในการตคี วามหมายของคาเพื่อทาความเข้าใจเร่ืองท่ีอ่าน

๓. การแสดงความคิดเห็น ผู้อ่านจะจดบันทึกข้อความท่ีมีความสาคัญ หรือเขียนแสดง ความคิดเห็น
ตีความข้อความที่อ่าน อ่านซ้าในตอนที่ไม่เข้าใจเพื่อทาความเข้าใจใหถ้ ูกต้อง ขยายความคิดจากการอ่าน จับคู่
กับเพื่อนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ต้ังข้อสังเกตจากเร่ืองท่ีอ่าน ถ้าเป็นการอ่านบทกลอนจะต้องอ่าน
ทานองเสนาะดงั ๆ เพื่อฟังเสียงการอ่านและเกดิ จินตนาการ

๔. การอ่านสารวจ ผู้อ่านจะอ่านซ้าโดยเลือกอ่านตอนใดตอนหนึ่ง ตรวจสอบคาและภาษา ท่ีใช้
สารวจโครงเร่ืองของหนังสือเปรียบเทียบหนังสือท่ีอ่านกับหนังสือที่เคยอ่าน สารวจและเช่ือมโยงเหตุการณ์ใน
เรื่องและการลาดบั เร่อื ง และสารวจคาสาคญั ที่ใชใ้ นหนงั สือ

๕. การขยายความคิด ผู้อ่านจะสะท้อนความเข้าใจในการอ่าน บันทึกข้อคิดเห็น คุณค่าของเรื่อง
เชื่อมโยงเร่ืองราวในเร่ืองกับชวี ิตจริง ความรู้สึกจากการอ่าน จัดทาโครงงานหลักการอ่าน เช่น วาดภาพ เขียน
บทละคร เขียนบันทึกรายงานการอ่าน อ่านเรื่องอื่น ๆ ท่ีผู้เขียนคนเดียวกันแตง่ อ่านเรื่องเพ่ิมเติม เรื่องที่เก่ียว
โยงกับเรื่องทอ่ี า่ น เพื่อให้ไดค้ วามรู้ท่ชี ัดเจนและกว้างขวางขึ้น
การเขยี นเชิงสร้างสรรค์

การเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการเขียนโดยใช้ความรู้ ประสบการณ์ และจินตนาการในการเขียน เช่น
การเขียนเรียงความ นิทาน เรื่องส้ัน นวนิยาย และบทร้อยกรอง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ผู้เขียนจะต้องมี
ความคิดดี มีจินตนาการดี มีคลังคาอย่างหลากหลาย สามารถนาคามาใช้ ในการเขียน ต้องใช้เทคนิคการเขียน
และใชถ้ ้อยคาอย่างสละสลวย
การดู

การดูเป็นการรับสารจากส่ือภาพและเสียง และแสดงทรรศนะได้จากการรับรู้สาร ตีความ แปลความ
วิเคราะห์ และประเมินคุณค่าสารจากสื่อ เช่น การดูโทรทัศน์ การดูคอมพิวเตอร์ การดูละคร การดูภาพยนตร์
การดูหนังสือการ์ตูน (แม้ไม่มีเสียงแต่มีถ้อยคาอ่านแทนเสียงพูด) ผู้ดูจะต้องรับรู้สาร จากการดูและนามา
วิเคราะห์ ตีความ และประเมินคุณค่าของสารที่เป็นเน้ือเร่ืองโดยใช้หลักการพิจารณาวรรณคดีหรือการ
วิเคราะห์วรรณคดีเบื้องต้น เช่น แนวคิดของเร่ือง ฉากที่ประกอบเร่ืองสมเหตุสมผล กิริยาท่าทาง และการ
แสดงออกของตัวละครมีความสมจริงกับบทบาท โครงเร่ือง เพลง แสง สี เสียง ที่ใช้ประกอบการแสดงให้
อารมณ์แก่ผูด้ ูสมจริงและสอดคล้องกบั ยุคสมยั ของเหตุการณท์ ่ีจาลองสู่บทละคร คุณค่าทางจรยิ ธรรม คุณธรรม
และคุณค่าทางสังคมที่มีอิทธิพลต่อผู้ดูหรือผู้ชม ถ้าเป็นการดูข่าวและเหตุการณ์ หรือการอภิปราย การใช้
ความรู้หรือเร่ืองที่เป็นสารคดี การโฆษณาทางสื่อจะต้องพิจารณาเนื้อหาสาระว่าสมควรเชื่อถือได้หรือไม่ เป็น
การโฆษณาชวนเช่ือหรือไม่ ความคดิ สาคญั และมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้มาก และการดูละครเวที ละครโทรทัศน์
ดูข่าวทางโทรทัศน์จะเป็นประโยชน์ได้รับความสนุกสนาน ต้องดูและวิเคราะห์ ประเมินค่า สามารถแสดง
ทรรศนะของตนไดอ้ ย่างมีเหตุผล

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบา้ นหว้ ยวงั ปลา

๘๑

การตีความ
การตีความเป็นการใช้ความรู้และประสบการณ์ของผู้อ่านและการใช้บริบท ได้แก่ คาที่แวดล้อม

ข้อความ ทาความเข้าใจข้อความหรือกาหนดความหมายของคาให้ถกู ตอ้ ง

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้ความหมายว่า การตีความหมาย ช้ีหรือกาหนด
ความหมาย ใหค้ วามหมายหรอื อธิบาย ใช้หรอื ปรับให้เขา้ ใจเจตนา และความม่งุ หมายเพอ่ื ความถูกต้อง
การเปลยี่ นแปลงของภาษา

ภาษายอ่ มมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา คาคาหนง่ึ ในสมยั หนึ่งเขยี นอย่างหน่ึง อกี สมัยหน่งึ เขียน
อกี อยา่ งหน่ึง คาว่า ประเทศ แตเ่ ดิมเขยี น ประเทษ คาว่า ปกั ษ์ใต้ แต่เดิมเขียน ปกั ใต้ ในปัจจบุ นั เขยี น ปกั ษ์ใต้
คาว่า ลุ่มลึก แต่ก่อนเขียน ลุ่มฦก ภาษาจึงมีการเปลี่ยนแปลง ท้ังความหมายและการเขียน บางครั้งคาบางคา
เช่น คาว่า หล่อน เป็นคาสรรพนามแสดงถึงคาพูด สรรพนามบุรุษที่ ๓ ที่เป็นคาสุภาพ แต่เด๋ียวน้ีคาว่า หล่อน
มีความหมายในเชงิ ดแู คลน เปน็ ตน้
การสรา้ งสรรค์

การสร้างสรรค์ คือ การรู้จักเลือกความรู้ ประสบการณ์ท่ีมีอยู่เดิมมาเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้
ความคิดใหม่ หรือสิ่งแปลกใหม่ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิม บุคคลท่ีจะมีความสามารถในการ
สร้างสรรค์จะต้องเป็นบุคคลที่มีความคิดอิสระอยู่เสมอ มีความเช่ือม่ันในตนเอง มองโลกในแง่ดี คิดไตร่ตรอง
ไมต่ ัดสนิ ใจสงิ่ ใดงา่ ยๆ การสร้างสรรค์ของมนุษยจ์ ะเก่ียวเนือ่ งกันกบั ความคิด การพดู การเขยี น และการกระทา
เชิงสรา้ งสรรค์ ซึ่งจะตอ้ งมีการคดิ เชงิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ พืน้ ฐาน

ความคดิ เชิงสรา้ งสรรค์เป็นความคิดที่พฒั นามาจากความรูแ้ ละประสบการณเ์ ดิม ซ่ึงเปน็ ปัจจยั พืน้ ฐาน
ของการพูด การเขยี น และการกระทาเชิงสรา้ งสรรค์

การพูดและการเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการแสดงออกทางภาษาท่ีใช้ภาษาขัดเกลาให้ไพเราะ งดงาม
เหมาะสม ถกู ตอ้ งตามเนอ้ื หาทพี่ ูดและเขียน

การกระทาเชิงสร้างสรรค์เป็นการกระทาที่ไม่ซ้าแบบเดิมและคิดค้นใหม่แปลกไปจากเดิม และเป็น
ประโยชน์ท่สี งู ข้นึ
ข้อมลู สารสนเทศ

ข้อมลู สารสนเทศ หมายถงึ เรอ่ื งราว ขอ้ เท็จจริง ข้อมูล หรือสงิ่ ใดสิง่ หนึ่งที่สามารถ ส่ือความหมายดว้ ย
การพูดบอกเล่า บันทึกเป็นเอกสาร รายงาน หนังสือ แผนที่ แผนภาพ ภาพถ่าย บันทึกด้วยเสียงและภาพ
บันทกึ ดว้ ยเครอื่ งคอมพิวเตอร์ เปน็ การเก็บเรอ่ื งราวต่าง ๆ บนั ทึกไว้เป็นหลกั ฐานดว้ ยวธิ ีตา่ ง ๆ
ความหมายของคา

คาท่ีใช้ในการตดิ ตอ่ สื่อสารมีความหมายแบ่งไดเ้ ป็น ๓ ลักษณะ คอื
๑. ความหมายโดยตรง เป็นความหมายท่ีใช้พูดจากันตรงตามความหมาย คาหนึ่งๆ นั้น อาจมี
ความหมายได้หลายความหมาย เช่น คาว่า กา อาจมีความหมายถึง ภาชนะใส่น้า หรืออาจหมายถึง นกชนิด
หนง่ึ ตวั สีดา ร้อง กา กา เป็นความหมายโดยตรง
๒. ความหมายแฝง คาอาจมีความหมายแฝงเพิ่มจากความหมายโดยตรง มักเป็นความหมายเกี่ยวกับ
ความรู้สึก เช่น คาว่า ข้ีเหนียว กับ ประหยัด หมายถึง ไม่ใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย เป็นความหมายตรง แต่
ความรูส้ ึกตา่ งกนั ประหยัดเป็นส่ิงดี แต่ขี้เหนยี วเปน็ ส่ิงไม่ดี

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านห้วยวังปลา

๘๒

๓. ความหมายในบรบิ ท คาบางคามีความหมายตรง เม่อื ร่วมกับคาอืน่ จะมคี วามหมายเพ่มิ เตมิ กว้างขึ้น
หรือแคบลงได้ เช่น คาว่า ดี เด็กดี หมายถึง ว่านอนสอนง่าย เสียงดี หมายถึง ไพเราะ ดินสอดี หมายถึง เขียน
ได้ดี สุขภาพดี หมายถงึ ไม่มีโรค ความหมายบรบิ ทเป็นความหมายเช่นเดยี วกับความหมายแฝง
คณุ คา่ ของงานประพันธ์

เม่ือผู้อ่านอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรมแล้วจะต้องประเมินงานประพันธ์ ให้เห็นคุณค่าของงาน
ประพันธ์ ทาให้ผู้อ่านอ่านอยา่ งสนุก และได้รับประโยชนจ์ าการอ่านงานประพันธ์ คุณค่าของงานประพันธ์แบง่
ไดเ้ ปน็ ๒ ประการ คอื

๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ถ้าอ่านบทร้อยกรองก็จะพิจารณากลวิธีการแต่ง การเลือกเฟูนถ้อยคามา
ใช้ได้ไพเราะ มีความคิดสร้างสรรค์ และให้ความสะเทือนอารมณ์ ถ้าเป็นบทร้อยแก้วประเภทสารคดี รูปแบบ
การเขียนจะเหมาะสมกับเนื้อเร่ือง วิธีการนาเสนอน่าสนใจ เน้ือหามีความถูกต้อง ใช้ภาษาสละสลวยชัดเจน
การนาเสนอมีความคิดสร้างสรรค์ ถ้าเป็นร้อยแก้วประเภทบันเทิงคดี องค์ประกอบของเรื่องไม่ว่าเร่ืองสั้น นว
นิยาย นิทาน จะมีแก่นเร่ือง โครงเรื่อง ตัวละครมีความสัมพันธ์กัน กลวิธีการแต่งแปลกใหม่ น่าสนใจ ปม
ขัดแย้งในการแต่งสร้างความสะเทือนอารมณ์ การใช้ถ้อยคาสร้างภาพได้ชัดเจน คาพูดในเรื่องเหมาะสมกับ
บุคลกิ ของ ตวั ละครมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์เกย่ี วกับชวี ติ และสงั คม

๒. คณุ ค่าด้านสงั คม เป็นคณุ ค่าทางด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ ชีวติ ความเปน็ อยู่
ของมนุษย์ และคุณค่าทางจริยธรรม คุณค่าด้านสังคม เป็นคุณค่าที่ผู้อ่านจะ เข้าใจชีวิตทั้งในโลกทัศน์และชีว
ทัศน์ เข้าใจการดาเนินชีวิตและเข้าใจเพื่อนมนุษย์ดีข้ึน เนื้อหาย่อมเก่ียวข้องกับการช่วยจรรโลงใจแก่ผู้อ่าน
ช่วยพัฒนาสงั คม ชว่ ยอนรุ ักษ์สง่ิ มีคุณค่าของชาตบิ า้ นเมอื ง และสนับสนนุ คา่ นิยมอนั ดงี าม
โครงงาน

โครงงานเป็นการจัดการเรียนรู้วิธีหนึ่งท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนด้วยการค้นคว้า ลงมือปฏิบัติจริง ใน
ลักษณะของการสารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น ผู้เรียนจะรวบรวมข้อมูล นามาวิเคราะห์ ทดสอบเพื่อ
แก้ปัญหาขอ้ งใจ ผู้เรยี นจะนาความรจู้ ากช้ันเรียนมาบูรณาการในการแกป้ ัญหา คน้ หาคาตอบ เปน็ กระบวนการ
ค้นพบนาไปสู่การเรียนรู้ ผู้เรียนจะเกิดทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการจัดการ ผู้สอนจะเข้าใจผู้เรียน
เห็นรปู แบบการเรยี นรู้ การคิด วธิ กี ารทางานของผเู้ รียน จากการสังเกตการทางานของผูเ้ รียน

การเรียนแบบโครงงานเป็นการเรียนแบบศึกษาค้นคว้าวิธีการหนึ่ง แต่เป็นการศึกษาค้นคว้าท่ีใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนมีเหตุผล สรุปเร่ืองราว
อย่างมีกฎเกณฑ์ ทางานอย่างมีระบบ การเรียนแบบโครงงานไม่ใช่การศึกษาค้นคว้าจัดทารายงานเพียงอย่าง
เดียว ตอ้ งมกี ารวิเคราะห์ขอ้ มลู และมีการสรุปผล
ทกั ษะการสื่อสาร

ทกั ษะการสือ่ สาร ไดแ้ ก่ ทกั ษะการพดู การฟัง การอ่าน และการเขียน ซ่ึงเปน็ เครือ่ งมอื ของการส่งสาร
และการรับสาร การส่งสาร ได้แก่ การส่งความรู้ ความเช่ือ ความคิด ความรู้สกึ ด้วยการพูด และการเขยี น สว่ น
การรับสาร ได้แก่ การรับความรู้ ความเชื่อ ความคิด ด้วยการอ่านและการฟัง การฝึกทักษะการสื่อสารจึงเป็น
การฝึกทกั ษะการพูด การฟัง การอา่ น และการเขยี น ให้สามารถ รับสารและส่งสารอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ธรรมชาติของภาษา ธรรมชาติของภาษาเป็นคุณสมบัติของภาษาท่ีสาคัญ มีคุณสมบัติพอสรุปได้ คือ
ประการท่ีหนึ่ง ทุกภาษาจะประกอบด้วยเสียงและความหมาย โดยมีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ในการใช้
อย่างเป็นระบบ ประการที่สอง ภาษามีพลังในการงอกงามมิรู้สิ้นสุด หมายถึง มนุษย์สามารถใช้ภาษา ส่ือ
ความหมายได้โดยไม่สิน้ สุด ประการท่ีสาม ภาษาเป็นเรอื่ งของการใช้สัญลกั ษณ์ร่วมกันหรือสมมตริ ่วมกัน และ
มีการรับรู้สัญลักษณ์หรือสมมติร่วมกัน เพื่อสร้างความเข้าใจตรงกัน ประการท่ีสี่ ภาษาสามารถใช้ภาษาพูดใน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา

๘๓

การติดต่อสื่อสาร ไม่จากัดเพศของผู้ส่งสาร ไม่ว่าหญิง ชาย เด็ก ผู้ใหญ่ สามารถผลัดกันในการส่งสารและรับ
สารได้ ประการที่ห้า ภาษาพูดย่อมใช้ได้ทั้งในปัจจุบัน อดีต และอนาคต ไม่จากัดเวลาและสถานท่ี ประการที่
หก ภาษาเป็นเครื่องมือการถ่ายทอดวัฒนธรรม และวิชาความรู้นานาประการ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤตกิ รรมและการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่
แนวคิดในวรรณกรรม

แนวคิดในวรรณกรรมหรือแนวเรื่องในวรรณกรรมเป็นความคิดสาคัญในการผูกเร่ืองให้ ดาเนินเรื่องไป
ตามแนวคิด หรือเป็นความคิดท่ีสอดแทรกในเรื่องใหญ่ แนวคิดย่อมเกี่ยวข้องกับมนุษย์และสังคม เป็นสารท่ี
ผู้เขียนส่งให้ผู้อ่าน เช่น ความดีย่อมชนะความช่ัว ทาดีได้ดีทาชั่วได้ชั่ว ความยุติธรรมทาให้โลกสันติสุข คนเรา
พ้นความตายไปไม่ได้ เป็นต้น ฉะน้ันแนวคิดเป็นสารที่ผู้เขียนต้องการส่งให้ผู้อ่ืนทราบ เช่น ความดี ความ
ยุตธิ รรม ความรกั เป็นตน้
บริบท

บริบทเป็นคาที่แวดล้อมข้อความท่ีอ่าน ผู้อ่านจะใช้ความรสู้ ึกและประสบการณ์มากาหนดความหมาย
หรือความเข้าใจ โดยนาคาแวดล้อมมาช่วยประกอบความรู้และประสบการณ์ เพื่อทา ความเข้าใจหรือ
ความหมายของคา
พลงั ของภาษา

ภาษาเป็นเคร่ืองมือในการดารงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึงสามารถเรียนรู้ภาษาเพื่อการดารงชีวิต เป็น
เครื่องมือของการสื่อสารและสามารถพัฒนาภาษาของตนได้ ภาษาช่วยให้คนรู้จักคิดและแสดงออกของ
ความคิดด้วยการพูด การเขียน และการกระทาซึ่งเปน็ ผลจากการคิด ถา้ ไม่มีภาษา คนจะคิดไม่ได้ ถ้าคนมีภาษา
น้อย มีคาศัพท์น้อย ความคิดของคนก็จะแคบไม่กว้างไกล คนท่ีใช้ภาษาได้ดีจะมีความคิดดีด้วย คนจะใช้
ความคิดและแสดงออกทางความคิดเป็นภาษา ซ่ึงส่งผลไปสู่ การกระทา ผลของการกระทาส่งผลไปสู่ความคดิ
ซึ่งเปน็ พลังของภาษา ภาษาจึงมีบทบาทสาคญั ต่อมนุษย์ ช่วยให้มนษุ ยพ์ ัฒนาความคดิ ชว่ ยดารงสังคมใหม้ นุษย์
อยู่ร่วมกันในสงั คมอยา่ งสงบสุข มีไมตรีต่อกัน ช่วยเหลือกันด้วยการใช้ภาษาติดต่อสื่อสารกัน ช่วยให้คนปฏิบตั ิ
ตนตามกฎเกณฑ์ของสังคม ภาษาช่วยให้มนุษย์เกิดการพัฒนา ใช้ภาษาในการแลกเปล่ียนความคิดเห็น การ
อภิปรายโต้แย้ง เพื่อนาไปสู่ผลสรุป มนุษย์ใช้ภาษาในการเรียนรู้ จดบันทึกความรู้ แสวงหาความรู้ และช่วย
จรรโลงใจ ด้วยการอ่านบทกลอน ร้องเพลง ภาษายังมีพลังในตัวของมันเอง เพราะภาพย่อมประกอบด้วยเสยี ง
และความหมาย การใช้ภาษาใช้ถ้อยคาทาให้เกิดความรู้สึกต่อผู้รับสาร ให้เกิดความจงเกลียดจงชังหรือเกิด
ความช่ืนชอบ ความรักยอ่ มเกิดจากภาษาทั้งสนิ้ ที่นาไปสู่ผลสรุปท่ีมีประสทิ ธภิ าพ
ภาษาถน่ิ

ภาษาถิน่ เปน็ ภาษาพ้ืนเมืองหรอื ภาษาที่ใช้ในท้องถน่ิ ซึง่ เปน็ ภาษาด้ังเดิมของชาวพ้ืนบ้านที่ใช้พูดจากัน
ในหมู่เหล่าของตน บางครั้งจะใช้คาที่มีความหมายต่างกันไปเฉพาะถ่ิน บางครั้งคาท่ีใช้พูดจากันเป็นคาเดียว
ความหมายต่างกันแล้วยังใช้สาเนียงที่ต่างกัน จึงมีคากล่าวที่ว่า “สาเนียง บอกภาษา” สาเนียงจะบอกว่าเป็น
ภาษาอะไร และผู้พูดเป็นคนถิ่นใด อย่างไรก็ตามภาษาถิ่นในประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นภาษาถ่ินเหนือ ถิ่นอีสาน
ถิ่นใต้ สามารถสอ่ื สารเข้าใจกนั ได้ เพียงแต่สาเนียงแตกตา่ งกนั ไปเทา่ น้ัน
ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาไทยมาตรฐานหรือบางทีเรียกวา่ ภาษาไทยกลางหรือภาษาราชการ เปน็ ภาษาทใ่ี ช้ สือ่ สารกันทั่ว
ประเทศและเป็นภาษาท่ีใช้ในการเรียนการสอน เพ่ือให้คนไทยสามารถใช้ภาษาราชการ ในการติดต่อสื่อสาร
สร้างความเปน็ ชาติไทย ภาษาไทยมาตรฐานก็คือภาษาท่ีใช้กันในเมืองหลวง ทใ่ี ช้ตดิ ต่อกันทั้งประเทศ มีคาและ
สาเนียงภาษาท่ีเป็นมาตรฐาน ต้องพูดให้ชัดถ้อยชัดคาได้ตามมาตรฐานของภาษาไทย ภาษากลางหรือ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านห้วยวงั ปลา

๘๔

ภาษาไทยมาตรฐานมีความสาคัญในการสร้างความเป็นปึกแผ่น วรรณคดีมีการถ่ายทอดกันมาเป็นวรรณคดี
ประจาชาติจะใช้ภาษาท่ีเป็นภาษาไทยมาตรฐานในการสร้างสรรค์งานประพันธ์ ทาให้วรรณคดีเปน็ เครื่องมือใน
การศกึ ษาภาษาไทยมาตรฐานได้
ภาษาพดู กับภาษาเขยี น

ภาษาพูดเปน็ ภาษาท่ีใช้พดู จากัน ไม่เปน็ แบบแผนภาษา ไมพ่ ถิ ีพถิ ันในการใชแ้ ต่ใชส้ อ่ื สารกันไดด้ ี สร้าง
ความรู้สึกท่ีเป็นกันเอง ใช้ในหมู่เพ่ือนฝูง ในครอบครัว และติดต่อสื่อสารกันอย่างไม่เป็นทางการ การใช้ภาษา
พูดจะใช้ภาษาที่เป็นกันเองและสุภาพ ขณะเดียวกันก็คานึงว่าพูดกับบุคคลท่ีมีฐานะต่างกัน การใช้ถ้อยคาก็
ต่างกนั ไปด้วย ไม่คานึงถึงหลกั ภาษาหรือระเบยี บแบบแผนการใช้ภาษามากนัก
ส่วนภาษาเขียนเปน็ ภาษาท่ใี ช้เคร่งครัดต่อการใชถ้ ้อยคา และคานงึ ถงึ หลกั ภาษา เพอื่ ใชใ้ นการสือ่ สารใหถ้ ูกต้อง
และใช้ในการเขียนมากกว่าพูด ต้องใช้ถ้อยคาที่สุภาพ เขียนให้เป็นประโยค เลือกใช้ถ้อยคาที่เหมาะสมกับ
สถานการณใ์ นการส่อื สาร เป็นภาษาทใี่ ช้ในพิธกี ารต่าง ๆ เชน่ การกลา่ วรายงาน กล่าวปราศรยั กล่าวสดุดี การ
ประชมุ อภิปราย การปาฐกถา จะระมัดระวงั การใชค้ าที่ไม่จาเปน็ หรือ คาฟุ่มเฟอื ย หรือการเล่นคาจนกลายเป็น
การพูดหรือเขียนเลน่ ๆ
ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน

ภูมิปัญญาท้องถ่ิน (Local Wisdom) บางครั้งเรียกว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นกระบวนทัศน์
(Paradigm) ของคนในท้องถ่ินที่มีความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ เพื่อความอยู่รอด แต่คนใน
ท้องถิ่นจะสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติ เป็นความรู้ ความคิด ท่ีนามาใช้ในท้องถ่ินของตน
เพ่ือการดารงชีวิตที่เหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ผู้รู้จึงกลายเป็น ปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้เก่ียวกับ
ภาษา ยารักษาโรคและการดาเนนิ ชีวิตในหมู่บา้ นอย่างสงบสุข
ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา

ภูมิปัญญาทางภาษาเป็นความรู้ทางภาษา วรรณกรรมท้องถิ่น บทเพลง สุภาษิต คาพังเพยในแต่ละ
ท้องถิ่น ท่ีได้ใช้ภาษาในการสร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในกิจกรรมทางสังคมที่ต่างกัน โดยนาภูมิ
ปัญญาทางภาษาในการส่ังสอนอบรมพิธีการต่าง ๆ การบันเทิงหรือการละเล่น มีการแต่งเป็นคาประพันธ์ใน
รูปแบบต่าง ๆ ทั้งนิทาน นิทานปรัมปรา ตานาน บทเพลง บทร้องเล่น บทเห่กล่อม บทสวดต่าง ๆ บททาขวญั
เพ่อื ประโยชนท์ างสงั คมและเป็นสว่ นหนงึ่ ของวฒั นธรรมประจาถิ่น
ระดับภาษา

ภาษาเป็นวัฒนธรรมที่คนในสังคมจะต้องใช้ภาษาให้ถูกต้องกับสถานการณ์และโอกาสที่ใช้ภาษา
บุคคลและประชุมชน การใช้ภาษาจึงแบ่งออกเป็นระดับของการใช้ภาษาได้หลายรูปแบบ ตาราแต่ละเล่มจะ
แบง่ ระดับภาษาแตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะของสัมพันธภาพของบคุ คลและสถานการณ์
การแบง่ ระดับภาษาประมวลได้ดังนี้

๑. การแบ่งระดบั ภาษาท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
๑.๑ ภาษาทไ่ี ม่เปน็ ทางการหรือภาษาท่เี ปน็ แบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการประชุม ในการ

กล่าวสนุ ทรพจน์ เปน็ ต้น
๑.๒ ภาษาท่ีไมเ่ ปน็ ทางการหรอื ภาษาท่ีไมเ่ ป็นแบบแผน เช่น การใชภ้ าษาในการสนทนา การ

ใชภ้ าษาในการเขยี นจดหมายถึงผคู้ ุ้นเคย การใชภ้ าษาในการเลา่ เรื่องหรอื ประสบการณ์ เปน็ ต้น
๒. การแบ่งระดับภาษาท่ีเป็นพิธีการกับระดับภาษาที่ไม่เป็นพิธีการ การแบ่งภาษาแบบน้ีเป็นการแบ่ง

ภาษาตามความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลเปน็ ระดับ ดังน้ี
๒.๑ ภาษาระดบั พิธีการ เปน็ ภาษาแบบแผน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบา้ นหว้ ยวงั ปลา

๘๕
๒.๒ ภาษาระดับกึ่งพธิ กี าร เป็นภาษาก่ึงแบบแผน
๒.๓ ภาษาระดบั ทไ่ี ม่เปน็ พธิ กี าร เป็นภาษาไมเ่ ปน็ แบบแผน
๓. การแบง่ ระดับภาษาตามสภาพแวดล้อม โดยแบ่งระดบั ภาษาในระดบั ย่อยเปน็ ๕ ระดับ คือ
๓.๑ ภาษาระดบั พิธกี าร เช่น การกลา่ วปราศรัย การกล่าวเปดิ งาน
๓.๒ ภาษาระดับทางการ เช่น การรายงาน การอภปิ ราย
๓.๓ ภาษาระดบั กึง่ ทางการ เชน่ การประชุมอภิปราย การปาฐกถา
๓.๔ ภาษาระดับการสนทนา เชน่ การสนทนากับบุคคลอยา่ งเปน็ ทางการ
๓.๕ ภาษาระดบั กันเอง เช่น การสนทนาพดู คุยในหมู่เพื่อนฝงู ในครอบครัว
วจิ ารณญาณ
วิจารณญาณ หมายถึง การใช้ความรู้ ความคิด ทาความเข้าใจเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงอย่างมีเหตุผล การมี
วิจารณญาณต้องอาศัยประสบการณ์ในการพิจารณาตัดสินสารด้วยความรอบคอบ และอย่างชาญฉลาดเป็น
เหตเุ ปน็ ผล

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นห้วยวังปลา

๘๖

คำส่ังโรงเรียนบำ้ นหว้ ยวงั ปลำ

ที่ / 2565

เรอ่ื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมกำรปรับปรงุ และพัฒนำหลักสูตรสถำนศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน พุทธศักรำช 2551

(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565)

*****************************************************

ตามทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารไดอ้ อกคาส่ังที่ สพฐ.๑๒๓๔/๒๕๖๐ เรื่องการใชม้ าตรฐานการเรยี นรู้

และ ตัวชี้วดั กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คม

ศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน

พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐ เพ่อื ใหก้ ารจดั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานสอดคลอ้ งกับการ

เปลย่ี นแปลงทาง เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม สภาพแวดลอ้ มและความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี เปน็ การเสรมิ สร้าง ศักยภาพคนของชาติ ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาในระดบั สากล สอดคล้องกบั

ประเทศไทย ๔.๐ โลกในศตวรรษที่ ๒๑ และทัดเทียมกบั นานาชาติ ผู้เรียนมีศกั ยภาพในการแขง่ ขนั และ

ดารงชวี ติ อยา่ งสรา้ งสรรคใ์ นประชาคมโลก ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กาหนดให้ทกุ โรงเรยี นเริ่มใช้

หลกั สตู รน้ี ในระดับชน้ั ป.๑ และ ป.๔ ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ และให้ครบทุกระดบั ชน้ั ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

นน้ั เพือ่ ให้โรงเรยี นบา้ นห้วยวังปลา สามารถใชห้ ลักสตู รสถานศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลางดังกล่าว

จงึ แตง่ ต้ังคณะกรรมการปรบั ปรงุ หลกั สตู รสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.

๒๕๖5) ของโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา ดังต่อไปน้ี

๑. คณะกรรมกำรอำนวยกำร มีหนา้ ท่ี ให้คาปรกึ ษา อานวยความสะดวกและแกป้ ญั หาต่าง ๆ ท่อี าจ

เกดิ ขึน้ ประกอบดว้ ย

1.1 นายยทุ ธนา อัมวรรณ ผู้อานวยการสถานศึกษา ประธานกรรมการ

1.2 นางเอริกา นอ้ ยนลิ ครู รองประธานกรรมการ

1.3 นายแสงสุรยี ์ ศรสี มร ครู กรรมการ

1.4 นางอนงนาถ นามโส ครู กรรมการ/เลขานุการ

๒. คณะกรรมกำรดำเนินงำน มหี นา้ ท่ี วางแผนดาเนนิ การปรบั ปรงุ หลักสูตรสถานศึกษา และ

ดาเนนิ การปรบั ปรุง หลกั สูตรสถานศกึ ษา ระเบยี บวัดและประเมินผลให้สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) จัดพิมพ์ และจัดทารูปเล่ม รายงานผล

การปฏบิ ัติงาน การปรบั ปรงุ หลักสูตรของสถานศึกษา ต่อโรงเรียน ต่อคณะกรรมการ บริหารหลักสูตรและงาน

วิชาการ ต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน และผ้มู ีส่วนเกี่ยวข้อง

คณะกรรมกำรกล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย

๑. นางอนงนาถ นามโส ประธาน

๒. นางเอรกิ า น้อยนิล กรรมการ/เลขานกุ าร

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านห้วยวังปลา

๘๗

คณะกรรมกำรกลุ่มสำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์

1. นางอนงนาถ นามโส ประธาน

๒. นายสรเศรษฐ์ ไรไ่ สว กรรมการ/เลขานุการ

คณะกรรมกำรกลุม่ สำระกำรเรียนรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

1. นานายรัชการ คาครณ์ ประธาน

2. นายสรเศรษฐ์ ไรไ่ สว กรรมการ/เลขานุการ

คณะกรรมกำรกล่มุ สำระกำรเรยี นรู้สังคมศกึ ษำศำสนำและวัฒนธรรม

1. นายรัชการ คาครณ์ ประธาน

๒. นางเอริกา นอ้ ยนิล กรรมการ/เลขานกุ าร

คณะกรรมกำรกลมุ่ สำระกำรเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ

1. นางอนงนาถ นามโส ประธาน

2. นายแสงสรุ ีย์ ศรีสมร กรรมการ/เลขานกุ าร

คณะกรรมกำรกลุม่ สำระกำรเรียนรศู้ ิลปะ

๑. นางอนงนาถ นามโส ประธาน

2. นายสรเศรษฐ์ ไร่ไสว กรรมการ/เลขานุการ

คณะกรรมกำรกล่มุ สำระกำรเรียนรกู้ ำรงำนอำชีพ

1. นายสรเศรษฐ์ ไร่ไสว ประธาน

๒. นายแสงสรุ ยี ์ ศรีสมร กรรมการ/เลขานุการ

คณะกรรมกำรกลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ

1. นางเอริกา น้อยนลิ ประธาน

2. นางอนงนาถ นามโส กรรมการ/เลขานุการ

คณะกรรมกำรกิจกรรมพัฒนำผู้เรียน

๑. นายรชั การ คาครณ์ ประธาน

๒. นางอนงนาถ นามโส กรรมการ/เลขานุการ

ทั้งน้ี ให้คณะกรรมการทไ่ี ดร้ บั คาส่งั แต่งตัง้ ปฏิบัติหน้าท่ตี ามทไ่ี ด้รบั มอบหมายเต็มความสามารถ
เพื่อให้งานดาเนินไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด

ท้งั นี้ ตงั้ แตว่ ันท่ี 9 พฤษภาคม 2565 เปน็ ต้นไป

สัง่ ณ วันที่ 9 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565

(ลงชอ่ื )
(นายยุทธนา อมั วรรณ)

ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา


Click to View FlipBook Version