The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anongnat2526, 2022-05-09 19:48:57

หลักสูตรสถานศึกษา 2565

หลักสูตรสถานศึกษา 2565

หลกั สูตรสถานศึกษา

โรงเรี ยนบ้ านห้ วยวังปลา
(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



ประกาศโรงเรียนบ้านหว้ ยวงั ปลา
เร่อื ง ให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหว้ ยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
---------------------------------------------------------

โรงเรยี นบ้านห้วยวงั ปลา สังกัดสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๒ ได้ดาเนินการ
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเอกสารประกอบหลักสูตรข้ึน เพื่อกาหนดให้เป็น
กรอบและทิศทางในการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา

โดยโรงเรียนได้จัดทำและพัฒนำหลักสูตรตำมแนวคิดหลักสูตรอิงมำตรฐำน คือ กำหนด
มำตรฐำนกำรเรียนรู้เป็นเป้ำหมำยในกำรพัฒนำผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภำพตำมมำตรฐำนกำรเรียนรู้ท่ี
กำหนดในหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน มุ่งพัฒนำผู้เรียนทุกคนให้มีควำมสมดุลทั้งด้ำนร่ำงกำย
ควำมรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในควำมเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในกำรปกครองตำมระบอบ
ประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีควำมรู้และทักษะพื้นฐำน รวมท้ังเจตคติท่ีจำเป็นต่อ
กำรศึกษำต่อ กำรประกอบอำชีพและกำรศึกษำตลอดชวี ติ โดยมงุ่ เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญบนพื้นฐำนควำมเช่ือว่ำ
ทุกคนสำมำรถเรยี นรูแ้ ละพฒั นำตนเองได้เต็มตำมศักยภำพ

ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนบ้ำนห้วยวังปลำ ได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะกรรมกำรสถำนศึกษำ
ข้ันพ้ืนฐำน เมื่อวันที่ ๑๗ เดอื น พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๖๕ จงึ ประกำศใหใ้ ชห้ ลักสตู รโรงเรยี นตงั้ แตบ่ ัดน้ีเป็น
ตน้ ไป

ประกำศ ณ วนั ท่ี ๑๗ เดอื น พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๖๕

(นำยทองแดง ทวำศิริ) (นำยยุทธนำ อมั วรรณ)
ประธำนกรรมกำรสถำนศึกษำข้นั พืน้ ฐำน ผู้อำนวยกำรโรงเรยี นบ้ำนห้วยวงั ปลำ

โรงเรยี นบ้ำนหว้ ยวงั ปลำ



คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.๒๕๖๐) ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาสั่งให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้วี ัด กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ รวมท้ัง
ประกาศ เรื่องการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ น้ัน

โรงเรียนบ้านห้วยวังปลา จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ
ภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบใน
การวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะ
สาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจน
เกณฑ์การวัดประเมินผลใหม้ ีความสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้ กาหนดทิศทางในการจดั ทาหลักสูตรการ
เรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางท่ีชัดเจนเพื่อ
ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริงและมีทักษะ
ในศตวรรษที่ ๒๑

ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนร่วมจากทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ทั้งในและนอกสถานศึกษา ตลอดจน
คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา
ทุกคน ซ่ึงช่วยในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรฉบับน้ี มีความสมบูรณ์และเหมาะสมต่อการจัดการศึกษาเพ่ือ
พัฒนาเยาวชนและประเทศไทยต่อไป

งานวิชาการ
โรงเรยี นบ้านห้วยวงั ปลา

สารบญั ค

เรอ่ื ง หน้า

ประกาศโรงเรยี น ก
คานา ข
สารบัญ ค
สว่ นที่ ๑ ความนา ๑

วสิ ัยทัศน์ ๑
พันธกิจ ๒
เป้าประสงคโ์ รงเรียน ๒
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๓
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๓
มาตรฐานการเรยี นรู้ ๙
สว่ นที่ ๒ โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรยี น ๑๐
โครงสรา้ งเวลาเรยี น ระดับประถมศึกษา ๑๑
โครงสร้างหลักสตู รชน้ั ปี ๑๗
รายวชิ าของโรงเรียน ๒๐
ส่วนที่ ๓ คาอธิบายรายวชิ า ๒๑
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๒๘
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ๓๕
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๔
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ประวตั ิศาสตร์) ๕๘
กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา ๖๕
กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ ๗๒
กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ๗๙
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ (ภาษาอังกฤษ) ๘๖
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ๙๓
รายวชิ าเพม่ิ เติม การป้องกนั การทุจริต ๑๐๐
กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ๑๑๗
สว่ นท่ี ๔ เกณฑ์การจบการศึกษา
ภาคผนวก



ส่วนท่ี ๑
ความนา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นแผนหรือแนวทาง หรือข้อกาหนดของการจัดการศึกษา
ของโรงเรียนบ้านห้วยวังปลาท่ีจะใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่
กาหนดมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพท่ีสุจริต
ตลอดจนการรู้จักอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ิน โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และ
สติปัญญา อีกทั้งมีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิต และมีคุณภาพได้มาตรฐานสากลเพื่อการ
แข่งขันในยุคปัจจุบัน ดังน้ันหลักสูตรสถานศึกษาบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงประกอบด้วยสาระสาคัญของหลักสูตรแกนกลาง
สาระความรู้ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท้องถ่ิน และสาระสาคัญท่ีโรงเรียนพัฒนาเพ่ิมเติม โดยจัดเป็นสาระการเรียนรู้
รายวิชาพื้นฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็น
รายปีในระดับประถมศึกษา และกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา ตามหลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

วิสยั ทัศน์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้เป็นผู้มีความสมบูรณ์ทั้งด้าน

ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีความรู้คู่คุณธรรม มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เป็นคนดีมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ก้าวทันเทคโนโลยี น้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทักษะพ้ืนฐานสร้างภูมิคุ้มกันตนจากสารเสพติด รวมท้ัง
เจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญบน
พื้นฐานความเชื่อวา่ ทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

พันธกิจ
๑. ส่งเสริมสนับสนนุ ประชากรวยั เรยี นไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งท่วั ถงึ
๒. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้ทกุ ภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
๓. สง่ เสริมระบบการบริหารการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล
๔. ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา ก้าวทันและนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาต่อ

ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดล้อม
๕. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาชาติและมาตรฐานสากล บนพื้นฐานของความ

เป็นไทยคู่กับความเป็นสากล สอดคล้องกับยุค “ไทยแลนด์ ๔.๐” มีทักษะสาคัญในศตวรรษท่ี ๒๑ มุ่งเน้นให้
ผู้เรียนมีการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ กา้ วทนั เทคโนโลยี

๖. สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นใชท้ ักษะชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ใช้ชีวิตอยู่อย่างพอเพยี ง มี
จิตสาธารณะ มีใจรักส่ิงแวดล้อม สืบสานประเพณีวัฒนธรรมไทย

๗. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้มคี วามสามารถในการใช้สอ่ื เทคโนโลยที ท่ี ันสมัย
ในการบรหิ ารจัดการศกึ ษาและเปน็ เครือ่ งมือในการจดั การเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕)



เปา้ ประสงคโ์ รงเรียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา ม่งุ พฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ป็นคนดี มคี วามรู้ มคี วามสุขและมี

ทักษะพื้นฐานในการสร้างภูมิคุ้มกันตนจากสารเสพติด มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีสุขภาพกายที่แข็งแรง มี
ศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชพี เพอ่ื ให้เกิดกับผู้เรียนเมอื่ จบการศกึ ษาดงั น้ี

๑. ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม สุขภาพร่างกายแข็งแรง มีค่านิยมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีวินัย
และปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือ

๒. ผูเ้ รยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา มที กั ษะสาคัญในศตวรรษท่ี ๒๑
๓. ผ้เู รียนมีการคดิ วเิ คราะห์ สรา้ งสรรค์ กา้ วทนั เทคโนโลยี
๔. ผู้เรียนมใี จรกั สิ่งแวดล้อม สืบสานประเพณวี ัฒนธรรมไทย ใช้ชวี ิตอยอู่ ย่างพอเพียง
๕. มีความรู้และทักษะพืน้ ฐานสร้างภมู คิ ุ้นกนั ตนจากสารเสพติด
๖. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
๗. จิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะทม่ี ่งุ ทาประโยชนแ์ ละสร้างส่งิ ทดี่ งี ามในสงั คม และอย่รู ว่ มกันในสงั คมอย่างมคี วามสุข

สมรรรถนะสาคญั ของผู้เรียน.
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตร

แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ม่งุ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดังน้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้

ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรอง เพ่ือขจัดและลดปัญหา
ความขดั แย้งต่าง ๆ การเลอื กรับหรือไมร่ บั ขอ้ มลู ข่าวสารด้วยหลกั เหตุผลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ กี าร
สอื่ สารท่มี ปี ระสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีตอ่ ตนเองและสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพอื่ การตดั สนิ ใจเก่ยี วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมกี ารตัดสินใจทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ โดยคานึงถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ต่อตนเอง สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย
การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ
ปรบั ตวั ใหท้ ันกบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเลย่ี งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์
ท่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ่นื

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีในด้านต่าง
ๆ และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยเี พ่ือการพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสาร การ
ทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสม และมคี ุณธรรม

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านห้วยวงั ปลา (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)



คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้
สามารถอยูร่ ่วมกบั ผู้อ่นื ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี

๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต
๓. มีวนิ ัย
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อย่อู ย่างพอเพยี ง
๖. มงุ่ ม่นั ในการทางาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ

มาตรฐานการเรียนรู้

การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน จึงกาหนดใหผ้ ู้เรียนเรยี นรู้ ๘ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ดังนี้

๑. ภาษาไทย

๒. คณิตศาสตร์

๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๕. สุขศกึ ษาและพลศึกษา

๖. ศิลปะ

๗. การงานอาชพี

๘. ภาษาต่างประเทศ

ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนา

คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ระบุสิ่งท่ีผู้เรียนพึงรู้และปฏบิ ัตไิ ด้ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึง

ประสงค์ ทตี่ อ้ งการใหเ้ กิดแกผ่ ูเ้ รยี นเม่ือจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากน้ัน มาตรฐานการเรยี นรู้ ยังเป็นกลไก

สาคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาท้ังระบบเพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการ

อะไร ตอ้ งสอนอะไร จะสอนอยา่ งไรและประเมนิ อย่างไร รวมท้งั เปน็ เครอื่ งมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกัน

คุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอกซ่ึงรวมถึงการ

ทดสอบระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือประกันคุณภาพดังกล่าว

เป็นสิ่งสาคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่มาตรฐานการ

เรียนรู้กาหนดเพียงใด หลักสูตรได้มีการกาหนดรหัสกากับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด เพ่ือความเข้าใจ

และใหส้ ่อื สารตรงกนั ดังน้ี (ตัวอยา่ ง)

ว ๑.๑ ป. ๑/๒

ป. ๑/๒ ตัวชี้วดั ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ขอ้ ที่ ๒

๑.๑ สาระท่ี ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑

ว กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)



สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กาหนดมาตรฐานการเรยี นรใู้ น ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ดังนี้

ภาษาไทย
สาระท่ี ๑ การอา่ น

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการ
ดาเนนิ ชวี ิตและมนี สิ ยั รักการอา่ น
สาระ ท่ี ๒ การเขยี น

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน
รูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ ง มีประสิทธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรสู้ ึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่า
และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง

คณิตศาสตร์
สาระท่ี ๑ จานวนและพชี คณติ

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ
จานวนผลท่ีเกดิ ขนึ้ จากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนนิ การ และนาไปใช้

มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสมั พนั ธ์ ฟงั ก์ชัน ลาดับและอนกุ รมและนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์หรือชว่ ยแก้ปัญหาท่ี
กาหนดให้
สาระที่ ๒ การวดั และเรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัดและ
นาไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบตั ิของรูปเรขาคณิต ความสมั พันธร์ ะหว่างรูป
เรขาคณิตและทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนาไปใช้

สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเปน็
มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถิติในการแกป้ ัญหา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลักการนบั เบอ้ื งต้น ความน่าจะเปน็ และนาไปใช้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)



วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิตกับ
สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน
การเปล่ียนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบท่ี มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข ปัญหา
สง่ิ แวดลอ้ มรวมท้ังนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์
ความสมั พันธ์ของ โครงสร้าง และหนา้ ทขี่ องระบบตา่ ง ๆ ของสตั วแ์ ละมนษุ ย์ท่ที างานสัมพนั ธ์กัน ความสมั พนั ธ์
ของโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ทท่ี างานสัมพนั ธก์ ัน รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผล ต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของส่งิ มีชีวิต รวมทัง้ นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ
สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ
สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคลอ่ื นทแี่ บบ ตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ียนแปลงและการถา่ ยโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสาร และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง
แสง และคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมทงั้ นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี
ดาวฤกษ์ และ ระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะท่ีส่งผลต่อส่ิงมีชีวิตและการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ังผล
ตอ่ ส่ิงมีชวี ติ และสิ่งแวดล้อม
สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ติ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจรยิ ธรรม

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)



สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส ๑.๑ รแู้ ละเขา้ ใจประวัติ ความสาคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนบั ถือและศาสนาอืน่ มศี รทั ธาท่ีถูกต้อง ยึดมน่ั และปฏิบตั ิตามหลักธรรม เพือ่ อยูร่ ว่ มกันอยา่ งสนั ติสุข

มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา
หรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถอื
สาระที่ ๒ หนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ติ ในสงั คม

มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธารง
รักษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชวี ิตอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมไทย และ สังคมโลกอยา่ งสันตสิ ขุ

มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจั จุบัน ยึดมน่ั ศรทั ธา และธารงรกั ษา
ไว้ซึง่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้
ทรัพยากรทม่ี ีอยูจ่ ากัดได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและคุ้มคา่ รวมทง้ั เขา้ ใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการ
ดารงชวี ติ อย่างมีดุลยภาพ

มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและ
ความจาเปน็ ของการร่วมมอื กันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก
สาระท่ี ๔ ประวัตศิ าสตร์

มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้
วิธีการทางประวตั ศิ าสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ

มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลย่ี นแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งต่อเนอื่ ง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึน

มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ
และธารงความเป็นไทย
สาระที่ ๕ ภูมศิ าสตร์

มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิง ซึ่งมีผลต่อกัน
ใช้แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์
ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
การสร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพื่อการ
พัฒนาที่ย่งั ยืน

สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
สาระที่ ๑ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์

มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์
สาระท่ี ๒ ชีวติ และครอบครวั

มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกั ษะใน
การดาเนนิ ชีวิต

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)



สาระท่ี ๓ การเคลือ่ นไหว การออกกาลังกาย การเลน่ เกม กฬี าไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่าง

สม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพ
ของการกีฬา

สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสขุ ภาพ การดารงสุขภาพการป้องกันโรค

และการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
สาระที่ ๕ ความปลอดภยั ในชวี ิต

มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา
สารเสพตดิ และความรนุ แรง

ศิลปะ
สาระท่ี ๑ ทัศนศิลป์

มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลปต์ ามจินตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรคว์ เิ คราะห์ วพิ ากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวนั

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
งานทศั นศลิ ปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ภมู ิปญั ญาไทยและสากล
สาระท่ี ๒ ดนตรี

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดตอ่ ดนตรอี ย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวัน

มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคุณค่าของ
ดนตรีท่เี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล
สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์

มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณค์ ุณค่า
นาฏศลิ ปถ์ ่ายทอดความรสู้ กึ ความคิดอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิต ประจาวนั

มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
นาฏศิลปท์ ีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล

การงานอาชพี
สาระที่ ๑ การดารงชวี ิตและครอบครวั

มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการ
จัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน ทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทางานมีจิตสานึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพื่อการดารงชีวิตและ
ครอบครวั

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)



สาระท่ี ๒ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจ มีทักษะท่ีจาเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพใช้เทคโนโลยี

เพอ่ื พฒั นาอาชีพ มคี ณุ ธรรม และมีเจตคติทด่ี ีตอ่ อาชีพ
ภาษาต่างประเทศ

สาระท่ี ๑ ภาษาเพ่อื การส่ือสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องท่ีฟังและอ่านจากส่ือประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็น

อย่างมเี หตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารแสดงความรู้สึกและ

ความคดิ เห็นอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเร่ืองต่างโดยการพดู

และการเขยี น
สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม

มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและนาไปใช้
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะ

มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษากบั ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม
สาระท่ี ๓ ภาษากบั ความสัมพนั ธก์ บั กล่มุ สาระการเรียนรู้อ่นื

มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็น
พื้นฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศนข์ องตน
สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชมุ ชนและโลก

มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทัง้ ในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและ
การแลกเปลยี่ นเรยี นร้กู บั สงั คมโลก

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)



ส่วนท่ี ๒
โครงสร้างหลักสตู รโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้
ผู้สอนและผทู้ เี่ กี่ยวขอ้ งในการจัดการเรยี นรู้ตามหลกั สูตรของสถานศึกษามีแนวปฏบิ ัติ ดงั น้ี
ระดบั การศกึ ษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จดั การศกึ ษา ดังนี้

ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖) การศึกษาระดับน้ีเป็นช่วงแรกของการศึกษาภาค
บังคับ มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคานวณ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน การติดต่อสื่อสาร
กระบวนการเรียนรทู้ างสงั คม และพ้ืนฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดลุ ท้ัง
ในดา้ นร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ สังคม และวฒั นธรรม โดยเน้นจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการ
การจดั เวลาเรียน

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้จัดเวลาเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ
และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น โดยจดั ใหเ้ หมาะสมตามบรบิ ท จดุ เนน้ ของโรงเรยี น และสภาพของผู้เรียน
โครงสร้างหลกั สูตร

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกอบด้วยโครงสร้างเวลาเรียนและโครงสร้าง
หลักสตู รชัน้ ปี ดังนี้

๑. โครงสร้างเวลาเรียน เป็นโครงสร้างท่ีแสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระ
การเรยี นรู้ ๘ กลุม่ สาระ ทเี่ ป็นเวลาเรยี นพื้นฐาน เวลาเรยี นรายวิชาเพม่ิ เตมิ และเวลาในการจัดกจิ กรรมพัฒนา
ผู้เรยี น จาแนกแต่ละช้นั ปี ในระดับประถมศกึ ษา

๒. โครงสร้างหลกั สตู รชั้นปี เปน็ โครงสรา้ งทแ่ี สดงรายละเอียดเวลาเรยี นของรายวิชาพื้นฐาน รายวชิ า/
กจิ กรรมเพิม่ เติม และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นจาแนกแตล่ ะชน้ั ปี

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)

๑๐

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นห้วยวงั ปลา
โครงสร้างเวลาเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา

เวลาเรียน(ช่ัวโมง/ปี)

กล่มุ สาระการเรียนรู/้ กิจกรรม ระดับประถมศกึ ษา

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐

 รายวิชาเพมิ่ เติม

ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

การปอ้ งกันการทจุ ริต ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

รวมเวลาเรียน (เพิม่ เติม) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

 กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น

กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

กจิ กรรมนักเรยี น

- กิจกรรมลูกเสอื /เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

- ชมุ นุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

รวมเวลา (กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน) ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

รวมเวลาเรยี นท้ังหมด ๑,๐๔๐ ชวั่ โมง/ปี

หมายเหตุ รายวิชาหน้าที่พลเมืองบูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

วัดผลประเมินผลร่วมกันกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

จานวนช่ัวโมงที่จัดให้นักเรียนระดับประถมศึกษาเรียนท้ังปี เท่ากับ ๑,๐๔๐ ชั่วโมง แผนการเรียนรู้/

จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนท่ีต้องการเน้นเป็นพิเศษ คือกลุ่มสาระการเรียนรู้ทักษะภาษาไทย คณิตศาสตร์ เพื่อ

พฒั นาผูเ้ รียนใหอ้ า่ นออก เขยี นได้ คดิ เลขเป็น โดยจัดการเรียนการสอนและวดั ผลประเมินผลเปน็ รายปี

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นห้วยวังปลา (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)

โครงสรา้ งหลักสตู รชนั้ ปีโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา ๑๑
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
เวลาเรียน(ชม./ป)ี
รหัส กล่มุ สาระการเรียนรู้/กจิ กรรม (๘๔๐)
รายวชิ าพื้นฐาน ๒๐๐
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒๐๐
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๘๐
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ ๘๐
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๑
- ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๔๐
ส ๑๑๑๐๒ - หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ในสงั คม ๘๐
พ ๑๑๑๐๑ - เศรษฐศาสตร์ ๔๐
ศ ๑๑๑๐๑ - ภมู ิศาสตร์ ๔๐
ง ๑๑๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๘๐
อ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ (๘๐)
ศลิ ปะ ๑ ๔๐
อ ๑๑๒๐๑ การงานอาชพี ๑ ๔๐
ส ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ (๑๒๐)
รายวชิ าเพ่ิมเติม ๔๐
ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ๑
การป้องกันการทุจรติ ๑ ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ๓๐
แนะแนว ๑๐
กจิ กรรมนักเรียน ๑๐๔๐
- ลูกเสอื เนตรนารี
- ชมุ นุม

กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นท้งั หมด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

โครงสร้างหลักสตู รชนั้ ปีโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา ๑๒
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒
เวลาเรียน(ชม./ป)ี
รหสั กลมุ่ สาระการเรียนรู้/กจิ กรรม (๘๔๐)
รายวิชาพื้นฐาน ๒๐๐
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒ ๘๐
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ ๘๐
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๒
- ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๔๐
ส ๑๒๑๐๒ - หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ในสงั คม ๘๐
พ ๑๒๑๐๑ - เศรษฐศาสตร์ ๔๐
ศ ๑๒๑๐๑ - ภมู ิศาสตร์ ๔๐
ง ๑๒๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๒ ๘๐
อ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๒ (๘๐)
ศิลปะ ๒ ๔๐
อ ๑๒๒๐๑ การงานอาชพี ๒ ๔๐
ส ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ (๑๒๐)
รายวชิ าเพ่ิมเติม ๔๐
ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร ๒
การป้องกันการทุจริต ๒ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๓๐
แนะแนว ๑๐
กจิ กรรมนกั เรียน ๑๐๔๐
- ลูกเสอื เนตรนารี
- ชมุ นมุ

กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นท้งั หมด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นห้วยวงั ปลา (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

โครงสร้างหลักสตู รชนั้ ปีโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา ๑๓
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
เวลาเรียน(ชม./ป)ี
รหสั กลมุ่ สาระการเรียนรู้/กจิ กรรม (๘๔๐)
รายวิชาพื้นฐาน ๒๐๐
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๘๐
ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ ๘๐
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๓
- ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๔๐
ส ๑๓๑๐๒ - หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ในสงั คม ๘๐
พ ๑๓๑๐๑ - เศรษฐศาสตร์ ๔๐
ศ ๑๓๑๐๑ - ภมู ิศาสตร์ ๔๐
ง ๑๓๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๓ ๘๐
อ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๓ (๘๐)
ศิลปะ ๓ ๔๐
อ ๑๓๒๐๑ การงานอาชพี ๓ ๔๐
ส ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ (๑๒๐)
รายวชิ าเพ่ิมเติม ๔๐
ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร ๓
การป้องกันการทจุ ริต ๓ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๓๐
แนะแนว ๑๐
กจิ กรรมนกั เรียน ๑๐๔๐
- ลูกเสอื เนตรนารี
- ชมุ นมุ

กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นท้งั หมด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นห้วยวงั ปลา (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

โครงสรา้ งหลักสตู รช้นั ปโี รงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา ๑๔
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔
เวลาเรยี น(ชม./ป)ี
รหสั กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม (๘๔๐)
รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๖๐
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๑๖๐
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ๑๒๐
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ ๘๐
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๔
- ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๔๐
ส ๑๔๑๐๒ - หนา้ ทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ิตในสังคม ๘๐
พ ๑๔๑๐๑ - เศรษฐศาสตร์ ๘๐
ศ ๑๔๑๐๑ - ภูมิศาสตร์ ๔๐
ง ๑๔๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๔ ๘๐
อ ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ (๘๐)
ศิลปะ ๔ ๔๐
อ ๑๔๒๐๑ การงานอาชีพ ๔ ๔๐
ส ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ (๑๒๐)
รายวิชาเพม่ิ เติม ๔๐
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่อื สาร ๔
การปอ้ งกนั การทุจริต ๔ ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ๓๐
แนะแนว ๑๐
กจิ กรรมนักเรยี น ๑๐๔๐
- ลกู เสือ เนตรนารี
- ชุมนมุ

กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)

โครงสรา้ งหลักสตู รช้นั ปโี รงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา ๑๕
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕
เวลาเรยี น(ชม./ป)ี
รหสั กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม (๘๔๐)
รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๖๐
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑๖๐
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๑๒๐
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ๘๐
ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕
- ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๔๐
ส ๑๕๑๐๒ - หนา้ ทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ิตในสังคม ๘๐
พ ๑๕๑๐๑ - เศรษฐศาสตร์ ๘๐
ศ ๑๕๑๐๑ - ภูมิศาสตร์ ๔๐
ง ๑๕๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๕ ๘๐
อ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ (๘๐)
ศิลปะ ๕ ๔๐
อ ๑๕๒๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๔๐
ส ๑๕๒๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ (๑๒๐)
รายวิชาเพม่ิ เติม ๔๐
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่อื สาร ๕
การปอ้ งกนั การทุจริต ๕ ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ๓๐
แนะแนว ๑๐
กจิ กรรมนักเรยี น ๑๐๔๐
- ลกู เสือ เนตรนารี
- ชุมนมุ

กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)

โครงสรา้ งหลักสตู รช้นั ปโี รงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา ๑๖
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖
เวลาเรยี น(ชม./ป)ี
รหสั กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม (๘๔๐)
รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๖๐
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๑๖๐
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ ๑๒๐
ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ ๘๐
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๖
- ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๔๐
ส ๑๖๑๐๒ - หนา้ ทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ิตในสังคม ๘๐
พ ๑๖๑๐๑ - เศรษฐศาสตร์ ๘๐
ศ ๑๖๑๐๑ - ภูมิศาสตร์ ๔๐
ง ๑๖๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๖ ๘๐
อ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ (๘๐)
ศิลปะ ๖ ๔๐
อ ๑๖๒๐๑ การงานอาชีพ ๖ ๔๐
ส ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ (๑๒๐)
รายวิชาเพม่ิ เติม ๔๐
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่อื สาร ๖
การปอ้ งกนั การทุจริต ๖ ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ๓๐
แนะแนว ๑๐
กจิ กรรมนักเรยี น ๑๐๔๐
- ลกู เสือ เนตรนารี
- ชุมนมุ

กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)

๑๗

รายวชิ าของโรงเรียนบา้ นห้วยวังปลา

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

รายวชิ าพน้ื ฐาน

ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง

ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง

ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง

ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ จานวน ๑๖๐ ช่วั โมง

ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จานวน ๑๖๐ ช่วั โมง

ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง

กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ จานวน ๒๐๐ ช่วั โมง
รายวิชาพื้นฐาน จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
จานวน ๒๐๐ ช่วั โมง
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖

กล่มุ สาระการเรยี นวิทยาศาสตร์ จานวน ๘๐ ช่วั โมง
รายวิชาพน้ื ฐาน จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑ จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๒ จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๔
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๖

กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

รายวชิ าพน้ื ฐาน สังคมศกึ ษาศาสนา ศีลธรรม หน้าที่พลเมอื ง เศรษฐศาสตร์ ภูมศิ าสตร์

ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๑ จานวน ๘๐ ชั่วโมง

ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๒ จานวน ๘๐ ชั่วโมง

ส ๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๓ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง

ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๔ จานวน ๘๐ ชั่วโมง

ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๕ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง

ส ๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๖ จานวน ๘๐ ชั่วโมง

ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง

ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๒ จานวน ๔๐ ชั่วโมง

ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๓ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)

๑๘

ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๕ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๖ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา จานวน ๘๐ ชั่วโมง
รายวิชาพืน้ ฐาน จานวน ๘๐ ชั่วโมง
จานวน ๘๐ ชวั่ โมง
พ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพละศกึ ษา ๑ จานวน ๘๐ ช่ัวโมง
พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพละศกึ ษา ๒ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพละศึกษา ๓ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
พ ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพละศึกษา ๔
พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพละศกึ ษา ๕ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
พ ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพละศึกษา ๖ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
จานวน ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ จานวน ๘๐ ช่ัวโมง
รายวิชาพื้นฐาน จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
จานวน ๘๐ ช่วั โมง
ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑
ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๒ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี
รายวิชาพ้นื ฐาน จานวน ๘๐ ชั่วโมง
จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ จานวน ๘๐ ช่วั โมง
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖

กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)
รายวิชาพ้ืนฐาน

อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)

รายวิชาเพ่ิมเติม ๑๙
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร ๑
อ ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร ๒ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
อ ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสาร ๓ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
อ ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร ๔ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
อ ๑๕๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สาร ๕ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
อ ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๖ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
ส ๑๑๒๐๑ การป้องกันการทจุ ริต ๑
ส ๑๒๒๐๑ การปอ้ งกนั การทุจริต ๒ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๓๒๐๑ การป้องกนั การทจุ ริต ๓ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๔๒๐๑ การป้องกันการทุจริต ๔ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๕๒๐๑ การปอ้ งกนั การทุจริต ๕ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
ส ๑๖๒๐๑ การปอ้ งกันการทุจรติ ๖ จานวน ๔๐ ช่วั โมง
จานวน ๔๐ ชัว่ โมง

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๒๐

ส่วนท่ี ๓
คำอธบิ ำยรำยวิชำ

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖5) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดคาอธิบายรายวชิ าของวิชาตา่ ง ๆ ที่สอนในแต่ละ
ปีการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ชื่อรหัสวิชา ช่ือรายวิชา จานวนช่ัวโมงต่อปี ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง และสาระ
การเรยี นรรู้ ายปี

คาอธิบายรายวิชาจะช่วยให้ผู้สอนจัดหน่วยการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปี ได้สอดคล้องกับมาตรฐานการ
เรียนรู้ เนื่องจากคาอธิบายรายวิชาจะรวมสาระการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ตลอดท้ังปี กลุ่มของสาระการ
เรียนรู้ตลอดปีจะมีจานวนมาก ดังนั้น การจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้หลาย ๆ หน่วย จะช่วยให้กลุ่มของสาระการ
เรียนรมู้ ขี นาดเล็กลง และบูรณาการได้หลากหลายมากข้ึน

โรงเรยี นบ้านห้วยวงั ปลา ไดก้ าหนดรายละเอียดของคาอธบิ ายรายวชิ าเรียงตามลาดบั ไว้ ดงั น้ี
๑. คาอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถงึ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖
๒. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงชั้นประถมศึกษา
ปที ่ี ๖
๓. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
๔. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี ๑ ถงึ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖
๕. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา
ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถงึ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖
๖. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๖
๗. คาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖
๘. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี ๖
๙. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ ๑ ถงึ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
๑๐. คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ ๖
๑๑. คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม วิชาการป้องกันการทุจริต ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถงึ ช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี ๖
๑๒. คาอธบิ ายรายวชิ ากิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ ถึงชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)

๒๑

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
กล่มุ สำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)

๒๒

คำอธิบำยรำยวิชำพนื้ ฐำน

รหสั วชิ ำ ท ๑๑๑๐๑ ภำษำไทย กล่มุ สำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย
ระดบั ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๑ เวลำ ๒๐๐ ชว่ั โมง

ฝกึ อ่านออกเสยี งคา คาคล้องจอง และข้อความสนั้ ๆ บอกความหมายของคาและข้อความ ตอบคาถาม
เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ นาเสนอเร่ืองที่อ่าน บอก
ความหมายของเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์สาคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจาวัน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัด
ลายมอื ด้วยตวั บรรจงเตม็ บรรทัด เขียนส่อื สารดว้ ยคาและประโยคงา่ ยๆ มีมารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคาแนะนา คาส่ังง่ายๆ และปฏิบัติตาม ตอบคาถาม เล่าเรื่อง พูดแสดงความ
คิดเห็นและความรู้สึกจากเรอื่ งท่ีฟังและดู พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์ เน้นมารยาทในการฟัง การดูและการ
พดู

ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
เรยี บเรยี งคาเป็นประโยคงา่ ยๆ ตอ่ คาคลอ้ งจองงา่ ยๆ

บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก ฝึกท่องจาบท
อาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียนกระบวน
การแสวงหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคิด การฝกึ ปฏบิ ัติ อธิบาย บันทึก การตงั้ คาถามตอบคาถาม
ใช้ทกั ษะการฟงั การดูและการพูด พดู แสดงความคดิ เห็น กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สอ่ื สารได้ถกู ตอ้ ง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคณุ คา่ ของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กับชวี ติ ประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒

รวม ๕ มำตรฐำน ๒๒ ตวั ชว้ี ัด

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านห้วยวังปลา (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)

๒๓

คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

รหัสวิชำ ท ๑๒๑๐๑ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย
ระดบั ช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๒ เวลำ ๒๐๐ ช่วั โมง

ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคาและ
ข้อความท่ีอ่าน ตั้งคาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน
เหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองท่ีอ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย
และปฏบิ ัติตามคาส่งั หรอื ข้อแนะนา มมี ารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องส้ันๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องสั้นๆ ตาม
จินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น

ฝึกทักษะการฟัง ฟังคาแนะนา คาสั่งท่ีซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเร่ือง บอกสาระสาคัญของเรื่องต้ัง
คาถาม ตอบคาถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทใน
การฟงั การดูและการพูด

ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
เรียบเรียงคาเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลักษณะคาคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ

ฝึกจับใจความสาคัญจากเร่ือง ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก เพ่ือ
นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ร้องบทร้องเล่นสาหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อย
กรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้กระ
บวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติอธิบาย
บันทึก การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสร้าง
ความคดิ รวบยอด

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชวี ติ ประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวม ๕ มำตรฐำน ๒๗ ตัวชว้ี ดั

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕)

๒๔

คำอธิบำยรำยวิชำพืน้ ฐำน

รหัสวชิ ำ ท ๑๓๑๐๑ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๓ เวลำ ๒๐๐ ช่ัวโมง

ฝึกอ่านออกเสียงคา ข้อความ เร่ืองส้ัน ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคาและ
ข้อความท่ีอ่าน ตั้งคาถาม ตอบคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิดจาก
เร่ืองที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรื่องท่ี
อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคาสั่งหรือข้อแนะนา อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ
แผนท่ี และแผนภมู ิ มมี ารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจาวัน เขียนเรื่องตาม
จนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขยี น

ฝึกทกั ษะการฟัง การดูและการพดู เลา่ รายละเอียด บอกสาระสาคญั ตง้ั คาถาม ตอบคาถาม พูดแสดง
ความคดิ เห็น ความรู้สึก พดู ส่อื สารไดช้ ัดเจนตรงตามวัตถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด

ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ระบุชนิด หน้าที่ของคา ใช้
พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคาคล้องจองและคาขวัญ เลือกใช้ภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถ่นิ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณกรรม เพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อม
เด็ก เพื่อปลูกฝังความช่ืนชมวัฒนธรรมท้องถ่ิน แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดีท่ีอ่าน ท่องจาบทอาขยาน
ตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน
กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการ
แก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูด
แสดงความคดิ เห็น กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชวี ิตประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

รวม ๕ มำตรฐำน ๓๑ ตัวชวี้ ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๒๕

คำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน

รหัสวชิ ำ ท ๑๔๑๐๑ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย
ระดับช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๔ เวลำ ๑๖๐ ชวั่ โมง

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจาก
เรื่องที่อ่าน อ่านเร่ืองสั้น ๆ ตามเวลาที่กาหนดและตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
จากเร่ืองที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรือ่ งท่ีอ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่ืองท่ี
อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เลือกอ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความ
คดิ เหน็ เกย่ี วกับเร่ืองที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน ฝกึ คดั ลายมอื ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทดั และคร่ึงบรรทดั เขียน
ส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนา
งานเขียน เขียนย่อความจากเร่ืองส้ัน ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจาก
การศึกษาคน้ คว้า เขียนเรอื่ งตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นเร่ืองที่ฟังและดู พูดสรุปจากการ
ฟังและดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเก่ียวกับเรื่องท่ีฟังและดู ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิง
เหตุผลจากเร่ืองท่ีฟังและดู พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา มี
มารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคาใน
บริบทต่าง ๆ ระบุชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคได้
ถูกต้องตามหลักภาษา แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ บอกความหมายของสานวน เปรียบเทียบภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถนิ่ ได้

ระบุข้อคิดจากนิทานพ้ืนบ้านหรือนิทานคติธรรมอธิบายข้อคิดจากการอ่านเพ่ือนาไปใชใ้ นชีวติ จริงรอ้ ง
เพลงพื้นบ้านท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการ
อ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุป
ความ กระบวนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติอธิบาย
บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูดพูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสร้าง
ความคดิ รวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ชวี ติ ประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

รวม ๕ มำตรฐำน ๓๓ ตัวชว้ี ัด

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นห้วยวงั ปลา (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)

๒๖

คำอธบิ ำยรำยวิชำพ้ืนฐำน

รหัสวชิ ำ ท ๑๕๑๐๑ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย
ระดับช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๕ เวลำ ๑๖๐ ช่ัวโมง

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็น
การบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความ
คิดเห็น อ่านงานเขียนเชงิ อธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม เลือกอ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ
มมี ารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพโครงเร่ือง
แผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้งคาถาม ตอบ
คาถาม วิเคราะห์ความ พูดรายงาน มมี ารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด

ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค จาแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถิน่ ใชค้ าราชาศัพท์ บอกคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย แต่งบทรอ้ ยกรอง ใช้สานวนได้
ถกู ตอ้ ง

สรุปเรื่องจากวรรณคดหี รือวรรณกรรมที่อ่าน ระบคุ วามรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรม
ทสี่ ามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตจริง อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรม ท่องจาบทอาขยานตามทกี่ าหนดและ
บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหา
ความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้
ทกั ษะการฟงั การดแู ละการพดู พดู แสดงความคดิ เห็น กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วธิ ีการของเศรษฐกิจพอเพยี ง
และสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ บั ชวี ติ ประจาวันไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

รวม ๕ มำตรฐำน ๓๓ ตัวชวี้ ัด

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นห้วยวงั ปลา (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)

๒๗

คำอธบิ ำยรำยวิชำพืน้ ฐำน

รหสั วิชำ ท ๑๖๑๐๑ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
ระดบั ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เวลำ ๑๖๐ ช่วั โมง

ฝึกอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็น
โวหาร อ่านเรื่องส้ัน ๆ อย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์และแสดง
ความคิดเหน็ เกย่ี วกับเร่ืองที่อ่านเพ่ือนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต อ่านงานเขยี น เชิงอธิบาย คาสั่ง ขอ้ แนะนาและ
ปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิและกราฟ เลือกอ่านหนังสือตาม
ความสนใจและอธบิ ายคุณคา่ ทไ่ี ด้รับ มีมารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อ
ความจากเร่ืองอ่าน เขียนจดส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเร่ืองตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มี
มารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู ตั้ง
คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองท่ีฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากเร่ืองท่ีฟังและดูส่ือโฆษณา
อย่างมีเหตุผล พดู รายงานเรอ่ื งหรือประเด็นท่ีศึกษาคน้ ควา้ จากการฟงั การดูและการสนทนา พดู โน้มน้าวอย่าง
มีเหตุผลและนา่ เชือ่ ถือ มมี ารยาทในการฟงั การดูและการพดู

ฝึกวิเคราะห์ชนดิ และหน้าที่ของคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและ
บอกความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง
วเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บสานวนทเ่ี ปน็ คาพงั เพยและสภุ าษิต

ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่ีอ่าน เล่านิทานพ้ืนบ้านท้องถ่ินตนเองและนิทาน
พ้ืนบ้านของท้องถ่ินอื่น อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อย โดยใช้กระบวนการอา่ น กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหา
ความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกข้อเท็จจริง กระบวนการ
ค้นคว้า กระบวนการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บนั ทึก
การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้าง
ความคิดรวบยอด

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ บั ชีวิตประจาวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๕ มำตรฐำน ๓๔ ตวั ชี้วดั

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)

๒๘

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)

๒๙

คำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน

รหสั วิชำ ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศำสตร์ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๑ เวลำ ๒๐๐ ชั่วโมง

บอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงส่ิงต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
ตัวเลขไทย แสดงจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้
เครอื่ งหมาย = ≠ > < เรียงลาดบั จานวนนับไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จานวน หาคา่ ของตัวไม่ทราบ
ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจานวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐
แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาการบวกและโจทย์ปญั หาการลบของจานวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐ และ ๐

ระบุจานวนที่หายไปในแบบรูปของจานวนท่ีเพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ ๑ และทีละ ๑๐ และระบุรูปท่ี
หายไปในแบบรปู ซ้าของรูปเรขาคณิตและรูปอื่น ๆ ท่สี มาชิกในแต่ละชุดทซ่ี ้ามี ๒ รูป

วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร วัดและเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัม เป็น
ขดี และใชห้ น่วยทไ่ี มใ่ ชห่ น่วยมาตรฐาน
จาแนกรปู สามเหล่ียม รูปสเ่ี หล่ยี ม วงกลม วงรี ทรงสเี่ หลี่ยมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย

ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา เมอื่ กาหนดรปู ๑ รปู แทน ๑ หนว่ ย

มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑

รวม ๕ มำตรฐำน ๑๐ ตัวชว้ี ัด

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านห้วยวังปลา (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)

๓๐

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน

รหัสวิชำ ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์
ระดับชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๒ เวลำ ๒๐๐ ชว่ั โมง

บอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงสิ่งต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข
ไทย ตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้
เคร่ืองหมาย = ≠ > < เรียงลาดับจานวนนับไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ ตงั้ แต่ ๓ ถงึ ๕ จานวนจากสถานการณ์ต่าง
ๆ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจานวน
นบั ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับ
จานวนไม่เกิน ๒ หลัก หาค่าของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตวั ต้งั ไมเ่ กิน ๒ หลัก ตวั หาร ๑
หลัก โดยที่ผลหารมี ๑ หลัก ทั้งหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจานวนนับ
ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขัน้ ตอน ของจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาท่ีมีหน่วยเด่ียวและเป็นหน่วยเดียวกัน วัดและ
เปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ
เกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม
กิโลกรัมและขีด พร้อมทั้งแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบเก่ียวกับน้าหนักท่ีมีหน่วยเป็น
กิโลกรมั และกรัม กิโลกรัมและขีด วดั และเปรียบเทยี บปริมาตรและความจเุ ปน็ ลติ ร

จาแนกและบอกลกั ษณะของรปู หลายเหลี่ยมและวงกลม
ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเมื่อกาหนดรูป ๑ รูป แทน ๒ หน่วย ๕
หนว่ ย หรือ ๑๐ หนว่ ย

มำตรฐำน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑

รวม ๔ มำตรฐำน ๑๖ ตวั ชวี้ ดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๓๑

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

รหสั วชิ ำ ค ๑๓๑๐๑ คณิตศำสตร์ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์
ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๓ เวลำ ๒๐๐ ชั่วโมง

อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐และ
๐ เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่าน และเขียน
เศษส่วนที่แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกาหนด เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากัน
โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการ
ลบของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของ
จานวน ๑ หลักกับจานวนไม่เกิน ๔ หลัก และจานวน ๒ หลักกับจานวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน
ประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวต้ังไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หาร
ระคน และแสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอน ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หา
ผลบวกและแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวกของเศษส่วนที่มตี วั สว่ นเทา่ กันและผลบวกไมเ่ กิน ๑ และ
หาผลลบพร้อมท้ังแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการลบของเสษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน

ระบุจานวนที่หายไปในแบบรูปของจานวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงทีละเทา่ ๆ กัน
แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเงิน เวลา และระยะเวลา เลือกใช้เครื่องมือความยาวท่ี
เหมาะสม วัดและบอกความยาวของส่ิงต่าง ๆ เปน็ เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความ
ยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวระหว่างเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร
กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็น
เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร เลือกใช้เครื่องช่ังท่ีเหมาะสม วัดและบอก
น้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรมั และกรัม คาดคะเนน้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขดี เปรียบเทียบน้าหนัก
และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาเก่ียวกับน้าหนักที่มหี นว่ ยเป็นกิโลกรัมกับกรัม เมตรกิ ตันกับกโิ ลกรัม จาก
สถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เคร่ืองตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตรความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร
คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจุที่
มหี น่วยเป็นลติ รและมลิ ลิเมตร
ระบุรูปเรขาคณติ สองมติ ิทม่ี แี กนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร
เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เขียน
ตารางทางเดียวจากข้อมลู ทเ่ี ป็นจานวนนับ และใช้ข้อมูลจากตารางทางเดยี วในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา
มำตรฐำน/ตวั ช้วี ัด

ค ๑.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙,
ป.๓/๑๐,ป.๓/๑๑

ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖,ป.๓/๗,ป.๓/๘,ป.๓/๙,ป.๓/๑๐,

ป.๓/๑๑,ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวม ๕ มำตรฐำน ๒๘ ตัวช้วี ดั

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นห้วยวงั ปลา (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๓๒

คำอธบิ ำยรำยวิชำพ้นื ฐำน

รหสั วชิ ำ ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรียนรูค้ ณิตศำสตร์
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปีที่ ๔ เวลำ ๑๖๐ ช่ัวโมง

อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐
เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่าน และเขียน
เศษส่วน จานวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน จานวนคละท่ีกาหนด
เปรียบเทียบ เรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัวหนึ่ง อ่านและเขียน
ทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ตาแหนง่ แสดงปริมาณของส่ิงต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมที่กาหนด เปรียบเทียบ
และเรียงลาดับทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่งจากสถานการณ์ต่าง ๆ ประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การ
คูณ การหาร จากสถานการณต์ ่าง ๆ อยา่ งสมเหตสุ มผล หาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการ
บวกและการลบของจานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
แสดงการคูณของจานวนหลายหลัก ๒ จานวน ท่ีมีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ี
ตัวต้ังไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจานวนนับ และ ๐ แสดง
วิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒
ขั้นตอนของจานวนนบั และ ๐ พร้อมท้ังหาคาตอบ หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจานวนคละท่ีตัวส่วนตัว
หน่ึงเป็นพหุคูณของอีกตัวหนึง่ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วนและจานวนคละ
ท่ีตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัวหน่ึง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และแสดงวิธีหา
คาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ ๒ ขน้ั ตอนของทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตาแหนง่

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพื้นท่ีของรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก จาแนกชนิดของมุม บอก
ชื่อมุม ส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูปส่ีเหล่ียมมุมฉากเมื่อกาหนดความยาวของ
ด้าน

ใชข้ อ้ มลู จากแผนภูมิแทง่ ตารางสองทางในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา

มำตรฐำน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙
ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑

รวม ๔ มำตรฐำน ๒๒ ตัวชวี้ ัด

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านห้วยวงั ปลา (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๓๓

คำอธบิ ำยรำยวิชำพ้ืนฐำน

รหสั วิชำ ค ๑๕๑๐๑ คณิตศำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์
ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๕ เวลำ ๑๖๐ ชว่ั โมง

เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตวั ประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธหี า
คาตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจานวนคละ
แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ข้ันตอน หาผลคูณของ
ทศนิยม ท่ีผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง หาผลหารท่ีตัวต้ังเป็นจานวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓
ตาแหน่ง และตวั หารเป็นจานวนนบั ผลหารเปน็ ทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหา
การบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม ๒ ขนั้ ตอน และแสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปญั หาร้อยละไมเ่ กนิ ๒
ขนั้ ตอน

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาว น้าหนัก ท่ีมีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูป
ทศนิยม แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากและความจุของภาชนะ
ทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก ความยาวรอบรปู ของรูปสี่เหลย่ี มและพ้ืนท่ีของรูปส่ีเหลย่ี มดา้ นขนานและรูปส่ีเหล่ียมขนม
เปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กาหนดให้ จาแนกรูป
ส่ีเหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสี่เหล่ียมชนิดต่าง ๆ เมื่อกาหนดความยาวของด้านและขนาด
ของมมุ หรือเมื่อกาหนดความยาวของเสน้ ทแยงมมุ และบอกลกั ษณะของปรซิ มึ

ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา และเขียนแผนภูมิแท่งจากข้อมูลท่ีเป็น
จานวนนบั

มำตรฐำน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒

รวม ๔ มำตรฐำน ๑๙ ตัวช้วี ัด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านห้วยวงั ปลา (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕)

๓๔

คำอธิบำยรำยวิชำพนื้ ฐำน

รหัสวชิ ำ ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรยี นร้คู ณติ ศำสตร์
ระดับชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๖ เวลำ ๑๖๐ ช่ัวโมง

เปรียบเทียบ เรียงลาดับ เศษส่วนและจานวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ
เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยท่ีปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจานวนนับ หา
อัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กาหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับไม่เกิน ๓ จานวน แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เก่ียวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน
ของเศษส่วนและจานวนคละ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจานวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หา
ผลหารของทศนยิ มทต่ี ัวหารและผลหารเป็นทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ตาแหนง่ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการ
บวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ๓ ขนั้ ตอน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาอตั ราส่วน ปญั หารอ้ ยละ
๒ – ๓ ข้นั ตอน แสดงวิธคี ิดและหาคาตอบของปญั หาเก่ยี วกับแบบรูป

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบด้วยทรง
ส่ีเหล่ียมมุมฉาก และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปหลาย
เหลี่ยม ความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของวงกลม จาแนกรูปสามเหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูป
สามเหล่ียมเมื่อกาหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ
ระบุรูปเรขาคณิตสามมติ ิทปี่ ระกอบจากรปู คลีแ่ ละระบุรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ

ใช้ข้อมูลจากแผนภมู ิรูปวงกลมในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา

มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑,ป๑/๑๒
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑

รวม ๕ มำตรฐำน ๒๑ ตัวชี้วดั

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวงั ปลา (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)

๓๕

คำอธบิ ำยรำยวิชำ
กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์

และเทคโนโลยี

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๓๖

คำอธิบำยรำยวิชำพน้ื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์
รหสั วิชำ ว ๑๑๑๐๑ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี เวลำ ๘๐ ชัว่ โมง
ระดับชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี ๑

ระบชุ ื่อพืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่บริเวณต่าง ๆ จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ บอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับ
การดารงชีวิตของสัตว์ในบริเวณที่อาศัยอยู่ ระบุช่ือ บรรยายลักษณะและบอกหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
มนุษย์ สัตว์ และพืช รวมท้ังบรรยายการทาหน้าที่ร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ในการทากิจกรรมต่าง
ๆ จากข้อมูลที่รวบรวมได้ ตระหนักถึงความสาคัญของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วนต่าง
ๆ อย่างถูกต้อง ใหป้ ลอดภัย และรักษาความสะอาดอยเู่ สมอ

อธบิ ายสมบตั ทิ สี่ งั เกตได้ของวัสดุทใ่ี ชท้ าวตั ถุซ่ึงทาจากวสั ดชุ นิดเดยี วหรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติที่สังเกตได้ บรรยายการเกิดเสียงและทิศ
ทางการเคลือ่ นทข่ี องเสยี งจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์

ระบุดาวท่ีปรากฏบนทอ้ งฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืนจากขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้ อธบิ ายสาเหตุทม่ี องไมเ่ ห็น
ดวงดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายลักษณะภายนอกของหินจากลักษณะ
เฉพาะตัวทส่ี ังเกตได้

แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ แสดงลาดับขั้นตอนการทางานหรือการ
แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ
ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพวิ เตอร์ร่วมกัน ดแู ลรกั ษาอุปกรณ์เบือ้ งต้น ใช้งานอย่างเหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕

รวม ๗ มำตรฐำน ๑๕ ตวั ชี้วัด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)

๓๗

คำอธบิ ำยรำยวิชำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รหสั วิชำ ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี เวลำ ๘๐ ชัว่ โมง
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๒

ระบุว่าพืชต้องการแสงและน้า เพื่อการเจริญเติบโต โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนัก
ถึงความจาเป็นท่ีพืชต้องการได้รับน้าและแสงเพื่อการเจริญเติบโต โดยดูแลพืชให้ได้รับส่ิงดังกล่าวอย่าง
เหมาะสม สร้างแบบจาลองท่ีบรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก เปรียบเทียบลักษณะสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตจาก
ข้อมูลท่ีรวบรวมได้

เปรยี บเทียบสมบตั ิการดดู ซบั น้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ และระบุการนาสมบัติการดูดซับ
น้าของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทาวัตถุในชีวิตประจาวัน อธิบายสมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนาวัสดุมา
ผสมกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เปรียบเทียบสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุ เพื่อนามาทาเป็นวัตถุในการใช้งานตาม
วัตถุประสงค์ และอธิบายการนาวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ ตระหนักถึงประโยชน์
ของการนาวัสดุทใี่ ชแ้ ลว้ กลับมาใช้ใหม่ โดยการนาวสั ดทุ ่ีใชแ้ ล้วกลับมาใชใ้ หม่

บรรยายแนวการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกาเนิดแสง และอธิบายการมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิง
ประจกั ษ์ ตระหนักในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเหน็ โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอนั ตรายจาก
การมองเหน็ วตั ถุในที่มีแสงสว่างไมเ่ หมาะสม

ระบุส่วนประกอบของดิน และจาแนกชนิดของดินโดยใช้ลักษณะเน้ือดินและการจับตัวเป็นเกณฑ์
อธิบายการใชป้ ระโยชน์จากดนิ จากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้

แสดงลาดับขั้นตอนการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ
เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้เทคโนโลยีในการ
สร้าง จัดหมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติ
ตามขอ้ ตกลงในการใชค้ อมพิวเตอรร์ ่วมกนั ดูแลรกั ษาอุปกรณ์เบอื้ งต้น ใช้งานอยา่ งเหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

รวม ๖ มำตรฐำน ๑๖ ตวั ชี้วดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๓๘

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รหสั วิชำ ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี เวลำ ๘๐ ช่วั โมง
ระดับชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๓

บรรยายสิ่งที่จาเปน็ ตอ่ การดารงชวี ิต และการเจริญเตบิ โตของมนุษย์และสัตว์โดยใชข้ ้อมูลทีร่ วบรวมได้
ตระหนักถึงประโยชน์ของอาหาร น้า และอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตวใ์ ห้ได้รับสิ่งเหล่าน้ีอย่างเหมาะสม
สร้างแบบจาลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์และเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิด ตระหนักถึง
คณุ ค่าของชีวิตสตั วโ์ ดยไม่ทาให้วฏั จกั รชวี ิตของสตั ว์เปล่ยี นแปลง

อธิบายว่าวัตถุประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนย่อย ๆ ซึ่งสามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกันเป็น
วัตถุช้ินใหม่ได้โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเม่ือทาให้ร้อนขึ้นหรือทาใหเ้ ย็นลง
โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิง
ประจักษ์ เปรียบเทียบและยกตัวอยา่ งแรงสมั ผสั และแรงไม่สัมผสั ท่ีมผี ลตอ่ การเคลื่อนท่ีของวตั ถุโดยใช้หลักฐาน
เชงิ ประจกั ษ์ จาแนกวัตถโุ ดยใช้การดงึ ดดู กับแม่เหล็กเป็นเกณฑจ์ ากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุขว้ั แม่เหล็กและ
พยากรณ์ผลท่ีเกิดข้ึนระหว่างข้ัวแม่เหล็กเม่ือนามาเข้าใกล้กันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ยกตัวอย่างการเปลี่ยน
พลังงานหนึง่ ไปเปน็ อีกพลังงานหน่ึงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ บรรยายการทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและ
ระบุแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้าจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ตระหนักในประโยชน์และโทษของไฟฟ้า โดย
นาเสนอวธิ กี ารใช้ไฟฟา้ อย่างประหยดั และปลอดภัย

อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายสาเหตุการ
เกิดปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน และการกาหนดทิศโดยใช้
แบบจาลอง ตระหนักถึงความสาคัญของดวงอาทิตย์ โดยบรรยายประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อส่ิงมีชีวิต ระบุ
สว่ นประกอบของอากาศ บรรยายความสาคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสิ่งมีชีวิตจาก
ข้อมูลที่รวบรวมได้ตระหนักถึงความสาคัญของอากาศ โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนในการลดการเกิด
มลพิษทางอากาศ อธิบายการเกิดลมจากหลักฐานเชิงประจักษ์ บรรยายประโยชน์และโทษของลมจากข้อมลู ที่
รวบรวมได้

แสดงอัลกอริทึมในการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียน
โปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหา
ความรู้ รวบรวม ประมวลผล และนาเสนอข้อมูล โดยใช้ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่างปลอดภยั ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงในการใช้อินเทอรเ์ นต็

มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕

รวม ๗ มำตรฐำน ๒๕ ตวั ชีว้ ดั

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านห้วยวังปลา (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๓๙

คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รหสั วชิ ำ ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี เวลำ ๑๒๐ ชัว่ โมง
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๔

บรรยายหน้าทีข่ องราก ลาตน้ ใบ และดอกของพชื ดอกโดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ จาแนกสงิ่ มีชีวติ โดยใช้
ความเหมือน และความแตกตา่ งของลกั ษณะของสิง่ มีชวี ิตออกเปน็ กลุม่ พชื กล่มุ สตั ว์ และกลมุ่ ทีไ่ มใ่ ช่พชื และสัตว์
จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ จาแนกสัตว์
ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่
รวบรวมได้ บรรยายลกั ษณะเฉพาะทส่ี งั เกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กล่มุ สัตวส์ ะเทนิ น้าสะเทินบก
กลุม่ สัตว์เลอื้ ยคลาน กล่มุ นก และกลมุ่ สัตว์เลี้ยงลกู ด้วยนา้ นม และยกตัวอย่างสิง่ มชี ีวิตในแต่ละกลมุ่

เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อน และการนาไฟฟ้าของ
วัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและระบุการนาสมบัติเร่ืองความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนา
ความร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวันผ่านกระบวนการออกแบบชิ้นงาน แลกเปลี่ยน
ความคิดกับผู้อื่นโดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุอย่างมีเหตุผลจากการทดลอง
เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมวล การต้องการที่อยู่ รูปร่างและ
ปริมาตรของสสาร ใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวล และปริมาตรของสสารท้ัง ๓ สถานะ ระบุผลของแรงโน้มถ่วงท่ีมีต่อ
วัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้เคร่ืองชั่งสปริงในการวัดน้าหนักของวัตถุ บรรยายมวลของวัตถุท่ีมีผลต่อการ
เปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ จาแนกวตั ถุเปน็ ตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปรง่ แสง
และวตั ถทุ บึ แสง จากลกั ษณะการมองเห็นสิง่ ตา่ ง ๆ ผ่านวัตถุน้ันเป็นเกณฑโ์ ดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์

อธิบายแบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ สร้างแบบจาลองท่ี
อธิบายแบบรูป การเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ สร้าง
แบบจาลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ
จากแบบจาลอง

ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณผ์ ลลัพธ์ จากปญั หาอยา่ งง่าย
ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้
อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ และประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
โดยใชซ้ อฟต์แวร์ทห่ี ลากหลาย เพอื่ แกป้ ญั หาในชีวิตประจาวนั ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เขา้ ใจสทิ ธิ
และหนา้ ท่ขี องตน เคารพในสิทธขิ องผูอ้ ่นื แจ้งผเู้ กี่ยวข้องเม่อื พบข้อมลู หรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕

รวม ๗ มำตรฐำน ๒๑ ตัวช้ีวัด

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นหว้ ยวังปลา (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)

๔๐

คำอธิบำยรำยวิชำพน้ื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์
รหสั วิชำ ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี เวลำ ๑๒๐ ชัว่ โมง
ระดับชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๕

บรรยายโครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชวี ติ ที่เหมาะสมกบั การดารงชวี ิต ซึง่ เป็นผลมาจากการปรับตัว
ของส่ิงมีชีวิตในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่าง
ส่ิงมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิต เพ่ือประโยชน์ต่อการดารงชีวิต เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าท่ีของสิ่งมีชีวิตท่ีเป็น
ผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่อาหาร ตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมท่ีมีต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต โดยมีส่วน
ร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อธิบายลักษณะทางพนั ธุกรรมที่มีการถา่ ยทอดจากพ่อแม่สลู่ ูกของพชื สตั ว์ และ
มนุษย์ แสดงความอยากรู้อยากเห็น โดยการถามคาถามเก่ยี วกับลกั ษณะที่คลา้ ยคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่

อธิบายการเปล่ียนสถานะของสสาร เมื่อทาให้สสารร้อนข้ึนหรือเย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
อธิบายการละลายของสารในน้าโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเม่ือเกิดการ
เปล่ียนแปลงทางเคมีโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับได้และการ
เปลยี่ นแปลงทผ่ี นั กลับไม่ได้ อธบิ ายวธิ ีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันทกี่ ระทาต่อวัตถุในกรณี
ที่วัตถุอยู่นิ่งจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทาต่อวัตถุที่อยู่ในแนวเดียวกันและแรงลัพธ์
ท่ีกระทาต่อวัตถุ ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
การเคล่ือนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรงที่อยู่ในแนวเดยี วกันท่ี
กระทาต่อวัตถุ อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบาย
ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่า ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย
วัดระดบั เสียงโดยใชเ้ คร่ืองมือวัดระดบั เสียง ตระหนักในคณุ คา่ ของความรู้เร่ืองระดับเสียงโดยเสนอแนะแนวทาง
ในการหลกี เล่ยี งและลดมลพิษทางเสียง

เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจาลอง ใช้แผนท่ีดาวระบุตาแหน่ง
และเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่ม
ดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี เปรยี บเทยี บปริมาณน้าในแตล่ ะแหล่ง และระบปุ ริมาณน้าท่ีมนุษยส์ ามารถนามาใช้
ประโยชนไ์ ด้จากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้ ตระหนักถึงคณุ คา่ ของนา้ โดยนาเสนอแนวทางการใชน้ า้ อย่างประหยัดและ
การอนรุ ักษน์ า้ สร้างแบบจาลองที่อธิบายการหมุนเวียนของน้าในวัฏจักรน้า เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ
หมอก น้าค้าง และน้าค้างแข็งจากแบบจาลอง เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บจากข้อมลู ท่ี
รวบรวมได้

ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่าง
ง่าย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมท่ีมีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้
อนิ เทอรเ์ นต็ คน้ หาขอ้ มูล ตดิ ต่อสือ่ สารและทางานร่วมกัน ประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของขอ้ มลู รวบรวม ประเมนิ
นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลาย
เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิต ประจาวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของ
ตน เคารพในสิทธิของผ้อู ่ืน แจง้ ผ้เู ก่ียวขอ้ งเม่ือพบข้อมูลหรือบคุ คลท่ีไม่เหมาะสม

มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นห้วยวงั ปลา (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๔๑

ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕
ว ๔.๒ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕
รวม ๘ มำตรฐำน ๓๒ ตัวช้ีวัด

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวงั ปลา (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)

๔๒

คำอธบิ ำยรำยวิชำพนื้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์
รหสั วิชำ ว ๑๖๑๐๑ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี เวลำ ๑๒๐ ชวั่ โมง
ระดับชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๖

ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทาน บอก
แนวทางในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วน ในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้ง
ความปลอดภัยต่อสุขภาพ ตระหนักถึงความสาคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหาร
ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งปลอดภัยต่อสุขภาพ สร้างแบบจาลองระบบย่อยอาหาร และ
บรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมท้ังอธบิ ายการย่อยอาหารและการดดู ซึมสารอาหาร ตระหนกั
ถงึ ความสาคัญของระบบย่อยอาหาร โดยการบอกแนวทางในการดแู ลรักษาอวยั วะในระบบย่อยอาหารใหท้ างานเป็น
ปกติ

อธิบายและเปรียบเทยี บการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การร่อน การใชแ้ มเ่ หล็กดึงดูด การรนิ ออก
การกรอง และการตกตะกอนโดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ รวมท้ังระบุวิธีแก้ปัญหาในชวี ิตประจาวันเก่ียวกับการแยก
สาร อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซ่ึงเกิดจากวัตถุท่ีผ่านการขัดถูโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุ
ส่วนประกอบและบรรยายหน้าท่ีของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลั กฐานเชิงประจักษ์
เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบาย
วิธีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ
อนุกรม โดยบอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจาวัน ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีท่ี
เหมาะสมในการอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของ
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน โดยบอกประโยชน์ ข้อจากัด และการประยุกต์ใช้ ใน
ชีวิตประจาวัน อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ เขียนแผนภาพรงั สีของแสงแสดงการเกิด
เงามดื เงามัว

สรา้ งแบบจาลองท่ีอธบิ ายการเกดิ และเปรยี บเทยี บปรากฏการณ์สรุ ิยปุ ราคาและจันทรปุ ราคา อธบิ าย
พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และยกตัวอย่างการนาเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันจาก
ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และอธิบายวัฏจักรหินจาก
แบบจาลอง บรรยายและยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของหนิ และแร่ในชีวิตประจาวันจากข้อมูลที่รวบรวมได้
สร้างแบบจาลองท่ีอธิบายการเกิดซากดึกดาบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดาบรรพ์
เปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม รวมท้ังอธิบายผลท่ีมีต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม จากแบบจาลอง
อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทยจากข้อมูลที่รวบรวมได้ บรรยายลักษณะและผลกระทบของ
น้าท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ ตระหนักถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพบิ ัติ
ภยั โดยนาเสนอแนวทางในการเฝา้ ระวงั และปฏบิ ัตติ นให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัตภิ ัยท่อี าจเกิด
ในท้องถ่ิน สรา้ งแบบจาลองที่อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก และผลของปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อ
สิ่งมีชีวิต ตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลด
กจิ กรรมทีก่ อ่ ให้เกดิ แก๊สเรือนกระจก

ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตประจาวัน ออกแบบและ
เขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข ใช้
อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกันอย่างปลอดภัย
เข้าใจสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของตน เคารพในสิทธิของผอู้ ื่น แจง้ ผูเ้ กี่ยวขอ้ งเมอื่ พบข้อมลู หรือบคุ คลที่ไมเ่ หมาะสม

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕)

๔๓

มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๗ มำตรฐำน ๓๐ ตวั ชีว้ ัด

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นห้วยวังปลา (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๔๔

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
กล่มุ สำระกำรเรียนสงั คมศกึ ษำ

ศำสนำและวฒั นธรรม

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านหว้ ยวังปลา (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)

๔๕

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ งั คมศึกษำฯ
รหัสวิชำ ส ๑๑๑๐๑ สังคมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม เวลำ ๘๐ ช่วั โมง
ระดับช้นั ประถมศึกษำปีท่ี ๑

บอกพุทธประวัติ หรือประวัติของศาสดาท่ีตนนับถือโดยสังเขป ช่ืนชมและบอกแบบอย่างการดาเนิน
ชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เร่ืองเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามท่ีกาหนด บอกความหมาย
ความสาคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของ
ศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ีกาหนด เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิใน
พระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด บาเพ็ญประโยชน์ต่อวัด
หรือศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาท่ี
ตนนับถือ ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวนั สาคัญทางศาสนาตามทก่ี าหนดไดถ้ กู ต้อง

ระบสุ นิ ค้าและบริการท่ีใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ยกตวั อยา่ งการใช้จ่ายเงินในชวี ิตประจาวนั ที่ไม่เกิน
ตัวและเห็นประโยชน์ของการออม ยกตัวอย่างการใช้ทรัพยากรในชีวิตประจาวันอย่างประหยัด อธิบาย
เหตุผลความจาเป็นทคี่ นตอ้ งทางานอยา่ งสุจริต

จาแนกส่ิงแวดล้อมรอบตัวท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ระบุความสัมพันธ์ของ
ตาแหน่ง ระยะ ทิศของสิ่งต่าง ๆ ใช้แผนผังแสดงตาแหน่งของส่ิงต่าง ๆ ในห้องเรียน สังเกตและบอกการ
เปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน บอกสิ่งแวดล้อมที่เกิดตามธรรมชาติท่ีส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
สงั เกตและเปรียบเทียบการเปลย่ี นแปลงของสงิ่ แวดล้อมเพ่ือการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม มีส่วนรว่ มในการดูแล
สง่ิ แวดลอ้ มทบี่ ้านและห้องเรยี น

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ส ๕.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓

รวม ๘ มำตรฐำน ๒๔ ตัวช้วี ัด

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านห้วยวงั ปลา (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕)


Click to View FlipBook Version