ความงามพระอโุ บสถกลางน้า
วดั ศรโี คมคา เมอื งพะเยา
เร่ืองโดย หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอแม่ใจ
◦ เม่ือพดู ถงึ พระอโุ บสถ หลาย ๆ ทา่ นคงนึกถงึ สถานท่ที ่ใี ชใ้ นการประกอบพธิ กี รรมทางศาสนาหรอื สถานท่ใี ชใ้ นการทาสงั ฆกรรม
ของพระสงฆ์ แตอ่ โุ บสถท่จี ะกลา่ วถงึ ต่อไปน้ี เป็นอโุ บสถท่มี ีความแตกต่างไปจากอโุ บสถทวั่ ไป คอื นอกจากจะใชใ้ นการประกอบ
พธิ กี รรมทางศานาและการทาสงั ฆกรรมของพระสงฆแ์ ลว้ อโุ บสถแหง่ น้ียงั เป็นสถานท่ที อ่ งเท่ยี วท่มี คี วามโดดเด่นเป็นอยา่ งมาก
ทง้ั ดา้ นสถาปตั ยกรรมท่โี ดดเด่นไม่เหมอื นใคร ภายในพระอโุ บสถมีจติ รกรรมฝาผนงั ท่วี าดโดยศิลปินช่ือดงั และท่สี าคญั เป็นพระ
อโุ บสถกลางน้าท่อี ยู่ตดิ กบั ทะเลสาปท่มี ขี นาดใหญท่ ่สี ดุ ในภาคเหนือ นนั่ คอื “กวา๊ นพะเยา”
◦ อโุ บสถกลางน้า ตง้ั อยู่ภายในวดั ศรโี คมคา หรอื ท่ชี าวพะเยาเรยี กกนั ตดิ ปากว่า วดั หลวง หรอื วดั พระเจา้ ตนหลวง วดั แหง่ น้ี ตง้ั อยู่
ภายในตวั เมืองจงั หวดั พะเยา ภายในวดั มสี ถานท่สี าคญั หลายแหง่ เช่นพระวหิ ารหลวงท่ปี ระดษิ ฐานพระเจา้ ตนหลวง พระ
คู่บา้ นคู่เมอื งพะเยา วหิ ารครูบาศรวี ชิ ยั เป็นตน้
1. สถาปตั ยกรรมของพระอโุ บสถแหง่ น้ี มคี วามโดดเด่นเป็นสงา่ อย่างมาก
เน่อื งจากสรา้ งโดยศิลปะลา้ นนาประยุกต์ ทาใหพ้ ระอโุ บสถแห่งน้เี มอ่ื สรา้ งเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ มคี วามงดงามทแ่ี ปลกใหมท่ โ่ี ดดเด่นไม่
เหมอื นใคร จงึ สรา้ งความประทบั ใจใหก้ บั ผูม้ าเยอื นเป็นอย่างยง่ิ
2. ภายในพระอโุ บสถมสี ง่ิ ท่สี าคญั นอกเหนือจากพระประธาน
คอื ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ทห่ี ลากหลาย เช่น ภาพเลา่ เร่อื งราวเก่ยี วกบั พระพทุ ธประวตั ิ เป็นตน้ ซง่ึ เป็นภาพวาดทม่ี คี วามสวยสดงดงามเป็นอย่าง
มาก ศิลปินทท่ี าการวาดคอื อาจารยอ์ งั คาร กลั ยาณพงศ์ ศิลปินแหง่ ชาติ คุณภาพตะวนั สุวรรณกูฏ และคุณกาบแกว้ สวุ รรณกูฏ ซง่ึ ทง้ั
สามทง้ั เป็นศิลปินวาดภาพทม่ี อื ช่อื เสยี งเป็นอนั ดบั ตน้ ๆของเมอื งไทย
◦ 3. อโุ บสถแหง่ น้ี นอกจากจะมีความโดดเด่นของสถาปตั ยกรรมและภาพวาดจติ รกรรมฝาผนงั
◦ ยงั มคี วามโดดเด่นอกี ประการหน่งึ นนั่ กค็ อื เป็นอโุ บสถทต่ี งั้ อยู่ตดิ กบั กวา๊ นพะเยา ซง่ึ เป็นบงึ นา้ ขนาดทใ่ี หญ่ทส่ี ดุ ในภาคเหนือ ดงั นนั้ เมอ่ื ท่านได้
กราบพระและชมภายในพระอโุ บสถเสร็จแลว้ สง่ิ ทห่ี า้ มพลาดเดด็ ขาดคอื การเดนิ มาทด่ี า้ นหลงั ของพระอโุ บสถเพอ่ื ชมบรรยากาศของกวา๊ นพะเยา
และบรเิ วณน้เี ป็นเขตอภยั ทานทม่ี ปี ลาชกุ ชมุ อยู่เป็นจานวนมาก ทา่ นสามารถใหอ้ าหารปลาและทาบญุ ปลอ่ ยปลาในบรเิ วณน้ีไดค้ รบั
◦ จะเหน็ ไดว้ า่ พระอโุ บสถแห่งน้ี ไมไ่ ดใ้ ชเ้ป็นสถานทท่ี าสงั ฆกรรมของพระสงฆห์ รอื ใชป้ ระกอบพธิ ที างศาสนาเทา่ นน้ั แต่ยงั เป็นสถานทท่ี อ่ งเทย่ี วทม่ี ี
ความโดดเด่นในดา้ นของสถาปตั ยกรรมแบบลา้ นนาประยุกต์ ความโดดเด่นของจติ รกรรมฝาผนงั ภายในพระอโุ บสถ และความโดดเด่นในดา้ น
ทต่ี งั้ ของพระอโุ บสถทอ่ี ยู่ตดิ กบั กวา๊ นพะเยา ดงั นนั้ จงึ พลาดไมไ่ ดเ้ลยทจ่ี ะตอ้ งเดนิ ทางมาสมั ผสั อโุ บสถอนั งดงามแห่งน้ีสกั ครงั้
(13 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2469 — 25 สงิ หาคม พ.ศ. 2555)
ทม่ี า
https://th.wikipedia.org/wiki/องั คาร_กลั ยาณพงศ์