The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้หลักสูตรสาระเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)040561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nut7075, 2022-06-21 21:48:25

คู่มือการใช้หลักสูตรสาระเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)040561

คู่มือการใช้หลักสูตรสาระเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)040561

คมู่ ือการใชห้ ลกั สูตร | กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตัวอยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะ 101
สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

µÇѵÍÑÇÂ͋ҧ‹ҧ Ẻ»ÃÐàÁÔ¹·Ñ¡ÉÐ

ตวั อย่างเกณฑก์ ารประเมินกระบวนการและทกั ษะในสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ตวั อยา่ งแบบประเมินทกั ษะ
102 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ
3 (ด)ี
4 (ดีมาก) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)

1) การระบปุ ญั หา ระบุปัญหาและเงอื่ นไขของการแก้ปัญหาได้ ระบปุ ญั หาและเงอ่ื นไขของการแกป้ ญั หา ระบปุ ัญหาและเงื่อนไขของการ ไม่สามารถระบุปญั หาและเงอื่ นไข ค่มู ือการใช้หลกั สูตร | กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
สอดคลอ้ งกบั สถานการณท์ ี่ก�ำ หนดไดค้ รบ ได้สอดคล้องกบั สถานการณท์ ่กี ำ�หนด แกป้ ญั หาได้สอดคล้องกบั สถานการณ์ ของการแกป้ ญั หา
2) การรวบรวมขอ้ มูล ถ้วน สมบรู ณ์ ท่กี �ำ หนดบางส่วน
และแนวคดิ ท่ี รวบรวมขอ้ มลู ทส่ี อดคล้องกับแนวทางการ ไมส่ ามารถรวบรวมขอ้ มลู
เกย่ี วขอ้ งกบั ปญั หา รวบรวมขอ้ มลู ท่สี อดคล้องกบั แนวทาง แก้ปัญหาได้แตไ่ มส่ มบูรณ์ รวบรวมขอ้ มลู ทส่ี อดคล้องกับแนวทาง ทีส่ อดคล้องกบั แนวทางการ
การแก้ปญั หา ไดอ้ ย่างครบถว้ นสมบรู ณ์ การแก้ปัญหาไดบ้ างส่วน แก้ปัญหา
3) การออกแบบวิธีการ ออกแบบชิ้นงานหรือวิธกี ารได้สอดคลอ้ ง ไม่สามารถออกแบบชน้ิ งานหรือ
แกป้ ัญหา ออกแบบชิ้นงานหรอื วธิ กี ารไดส้ อดคล้องกับ กบั แนวทางการแก้ปัญหาและเงอื่ นไข ออกแบบช้ินงานหรอื วธิ กี ารได้ วธิ ีการได้สอดคล้องกับแนวทางการ
แนวทางการแกป้ ญั หาและเงื่อนไขท่กี �ำ หนด ทีก่ �ำ หนด โดยแสดงรายละเอยี ดได้ และ สอดคล้องกับแนวทางการแกป้ ัญหา แกป้ ัญหาและเง่ือนไขทก่ี ำ�หนดและ
4) การวางแผนและ โดยแสดงรายละเอียดครบถว้ น สมบรู ณ์ สอื่ สารให้ผู้อน่ื เขา้ ใจตรงกัน และเงื่อนไขทก่ี ำ�หนดบางสว่ น และ ไมส่ ามารถสอ่ื สารใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจตรงกนั
ดำ�เนนิ การแก้ปญั หา และสามารถสื่อสารใหผ้ อู้ นื่ เข้าใจตรงกนั มกี ารวางแผนในการท�ำ งานและด�ำ เนนิ การ สามารถสื่อสารใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจตรงกัน ดำ�เนนิ การแก้ปญั หาโดยไมม่ กี าร
แกป้ ญั หาตามขนั้ ตอนการท�ำ งานได้ วางแผนในการท�ำ งาน
5) การทดสอบ มีการวางแผนในการท�ำ งานและด�ำ เนนิ การ มีการวางแผนในการท�ำ งาน แต่ไมไ่ ด้
ประเมินผล และ แก้ปญั หาตามขนั้ ตอนการทำ�งานไดอ้ ยา่ ง กำ�หนดประเด็นในการทดสอบได้ ดำ�เนนิ การแกป้ ัญหาตามข้นั ตอนท่ี ไมก่ �ำ หนดประเดน็ ในการทดสอบ
ปรบั ปรงุ แก้ไขวธิ ีการ ถูกตอ้ งและเหมาะสม สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ท่ีก�ำ หนด และ วางแผนไว้ และบนั ทึกผลการทดสอบไม่ชดั เจน
แกป้ ญั หา หรอื ชน้ิ งาน บันทึกผลการทดสอบได้ โดยขาดราย ไมค่ รบถว้ น ไมม่ กี ารปรบั ปรุงแกไ้ ข
ก�ำ หนดประเดน็ ในการทดสอบไดส้ อดคลอ้ ง ละเอยี ดบางสว่ น มกี ารปรบั ปรงุ หรือเสนอ กำ�หนดประเด็นในการทดสอบได้ ชน้ิ งานหรอื วธิ กี ารเมอ่ื พบขอ้ บกพรอ่ ง
6) การนำ�เสนอวิธกี าร กบั สถานการณท์ ก่ี �ำ หนด และบนั ทกึ ผล แนวทางแกไ้ ขที่สอดคลอ้ งกับปญั หาหาก สอดคล้องกบั สถานการณท์ ก่ี �ำ หนด
แก้ปัญหา ผลการ การทดสอบไดอ้ ยา่ งละเอยี ด ครบถว้ น มกี าร ชิน้ งานหรือวิธีการมีข้อบกพร่อง บนั ทึกผลการทดสอบ แต่ไม่ครบถว้ น ไม่สามารถน�ำ เสนอขนั้ ตอน
แกป้ ัญหาหรือชนิ้ งาน ปรบั ปรงุ หรอื เสนอแนวทางแกไ้ ขทส่ี อดคลอ้ ง น�ำ เสนอรายละเอยี ดขน้ั ตอนการแกป้ ญั หาได้ ขาดรายละเอยี ด มีการปรับปรงุ หรือ การแกป้ ัญหา
กบั ปญั หาหากชน้ิ งานหรอื วธิ กี ารมขี อ้ บกพรอ่ ง ส่ือสารให้ผอู้ นื่ เขา้ ใจได้ เสนอแนวทางการแกไ้ ขท่ไี ม่สอดคลอ้ ง
กับข้อบกพรอ่ งของช้นิ งานหรือวธิ ีการ
นำ�เสนอรายละเอียดขนั้ ตอนการแก้ปญั หา
ได้ชดั เจน สือ่ สารใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจไดอ้ ยา่ ง น�ำ เสนอขนั้ ตอนการแกป้ ญั หาได้
ครบถว้ น สมบูรณ์ แต่มีรายละเอยี ดไม่ชดั เจน

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ
3 (ดี)
4 (ดมี าก) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรงุ ) ค่มู อื การใชห้ ลกั สตู ร | กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ความคิดสรา้ งสรรค์ พฒั นาชน้ิ งานหรือวิธีการเพ่ือแก้ปัญหาดว้ ย พฒั นาชน้ิ งานหรอื วธิ กี ารเพอ่ื แกป้ ญั หา พฒั นาชิน้ งานหรอื วิธกี ารเพ่อื แกป้ ัญหา พฒั นาชน้ิ งานหรอื วธิ กี ารเพอ่ื แกป้ ญั หา
1) ความคดิ ริเร่มิ ความคิดท่แี ปลกใหม่ เหมาะสมต่อการใช้ ดว้ ยความคิดทแ่ี ปลกใหม่ ดว้ ยการผสมผสานและดดั แปลงจาก โดยไมม่ คี วามคิดแปลกใหม่
งานจรงิ ความคิดเดมิ

2) ความคิดคลอ่ ง มกี ารคดิ หาวิธีการแกป้ ัญหาได้มากกว่า 2 วิธี มีการคิดหาวธิ ีการแก้ปญั หาได้ 2 วธิ ี มีการคดิ หาวธิ ีการแก้ปญั หาได้เพียง 1 วิธี ไม่สามารถคิดหาวิธกี ารแก้ปัญหา
ในเวลาท่กี ำ�หนด ในเวลาท่กี �ำ หนด ในเวลาท่กี �ำ หนด ได้ในเวลาก�ำ หนด

3) ความคดิ ยดื หย่นุ มกี ารคิดหาวิธีการแกป้ ัญหาโดยดดั แปลง มีการคิดหาวธิ กี ารแก้ปัญหาโดย มีการคดิ หาวิธีการแกป้ ญั หาโดยดดั แปลง ไมส่ ามารถคิดหาวธิ ีการแกป้ ญั หา
สิง่ ทม่ี ีอยู่ หรือนำ�สงิ่ อ่นื มาทดแทนส่ิงทขี่ าด ดดั แปลงส่ิงที่มีอยู่ หรอื น�ำ สิ่งอน่ื ส่งิ ที่มีอยู่ หรือนำ�สิง่ อื่นมาทดแทนสงิ่ ที่ โดยดดั แปลงสง่ิ ทม่ี อี ยู่ หรอื น�ำ สง่ิ อน่ื
ไดอ้ ย่างหลากหลาย มาทดแทนส่งิ ท่ีขาดได้ ขาดได้ แต่ยังไมเ่ หมาะสมกบั งาน มาทดแทนสิ่งทีข่ าดได้

4) ความคดิ ละเอยี ดลออ มกี ารคดิ แจกแจงรายละเอยี ดของวิธกี าร มกี ารคิดแจกแจงรายละเอยี ดของ มีการคิดแจกแจงรายละเอียดของวธิ กี าร ไม่มีการคดิ แจกแจงรายละเอียด
แกป้ ญั หาหรือขยายความคดิ ไดอ้ ย่าง วธิ กี ารแกป้ ญั หาหรอื ขยายความคดิ ได้ แกป้ ัญหาหรอื ขยายความคิดแต่ขาด ของวิธีการแกป้ ญั หาหรอื ขยาย
ครบถว้ น และมีรายละเอียดทส่ี มบูรณ์ ความชัดเจน ความคดิ
ตัวอย่างแบบประเมนิ ทกั ษะ
การคดิ วเิ คราะห์ แจกแจงองคป์ ระกอบและอธิบายความ แจกแจงองค์ประกอบและอธิบาย แจกแจงองคป์ ระกอบและสามารถอธบิ าย แจกแจงองคป์ ระกอบแตไ่ มส่ ามารถ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
แจกแจงองค์ประกอบ สัมพนั ธเ์ ชงิ เหตผุ ลระหวา่ งองค์ประกอบ ความสัมพันธเ์ ชิงเหตผุ ลระหวา่ ง ความสมั พนั ธเ์ ชงิ เหตผุ ลระหวา่ ง อธบิ ายความสัมพันธเ์ ชงิ เหตผุ ล
อธิบายความสมั พนั ธ์ เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจสาเหตไุ ด้อยา่ งถกู ต้อง องคป์ ระกอบ เพ่ือใหเ้ ข้าใจสาเหตุได้ องค์ประกอบไดไ้ มเ่ หมาะสม ระหวา่ งองค์ประกอบได้
เชิงเหตผุ ล แตไ่ มช่ ัดเจน

การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ วเิ คราะห์และประเมนิ สถานการณ์ ดว้ ย วเิ คราะหแ์ ละประเมินสถานการณ์ วเิ คราะห์และประเมนิ สถานการณ์ วิเคราะห์และประเมนิ สถานการณ์
วิเคราะหแ์ ละประเมนิ หลกั ฐานท่ีหลากหลาย แล้วลงขอ้ สรปุ ได้ ด้วยหลักฐาน แลว้ ลงขอ้ สรุปได้ ดว้ ยหลกั ฐาน แล้วลงขอ้ สรุปได้ไม่สมเหตุ แต่ไม่มหี ลักฐาน ในการลงขอ้ สรปุ
ลงขอ้ สรุป อย่างสมเหตสุ มผล อยา่ งสมเหตุสมผล สมผล

103

รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ ตวั อยา่ งแบบประเมินทกั ษะ
3 (ดี) 104 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
4 (ดมี าก) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)

การคิดเชงิ ระบบ จำ�แนกองค์ประกอบ และเชอื่ มโยงความ จำ�แนกองค์ประกอบ และเชอื่ มโยง จ�ำ แนกองคป์ ระกอบได้ แต่เชอ่ื มโยงความ จ�ำ แนกองค์ประกอบ แต่ไมส่ ามารถ
จำ�แนกองค์ประกอบ สมั พันธข์ ององค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วเนอ่ื ง ความสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบตา่ ง ๆ สัมพนั ธข์ ององคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี ว เชือ่ มโยงความสัมพนั ธ์ของ
เชื่อมโยงความสมั พนั ธ์ กนั อย่างเป็นระบบไดค้ รบถ้วน และถูกต้อง ทเี่ กย่ี วเนอ่ื งกนั อยา่ งเปน็ ระบบไดค้ รบ เนอื่ งกนั อยา่ งเป็นระบบไดไ้ ม่ชัดเจน องคป์ ระกอบต่าง ๆ ที่เก่ยี วเนอื่ ง
ถว้ น แต่ขาดรายละเอยี ดบางส่วน กนั ได้

การสอื่ สาร น�ำ เสนอ อภิปราย และตอบค�ำ ถามได้ น�ำ เสนอ อภิปราย และตอบคำ�ถาม นำ�เสนอ อภปิ ราย และตอบค�ำ ถามได้ แต่ นำ�เสนอ อภิปราย และตอบค�ำ ถาม
การนำ�เสนอ เขา้ ใจง่าย และมีวธิ กี ารทีน่ า่ สนใจ เหมาะสม ได้เข้าใจ และมีวิธกี ารท่ีเหมาะสม มีวธิ กี ารไมเ่ หมาะสมกบั ลักษณะขอ้ มลู ไดไ้ ม่เหมาะสมกบั ลกั ษณะขอ้ มูล
การอภปิ ราย กับลกั ษณะขอ้ มลู กับลกั ษณะข้อมูล
การตอบคำ�ถาม
มสี ่วนรว่ มในการท�ำ งานและรับฟัง มีส่วนรว่ มในการท�ำ งานและรับฟงั มีสว่ นรว่ มในการทำ�งาน แต่ไมร่ บั ฟงั ไม่มีส่วนร่วมในการท�ำ งานและ
การทำ�งานร่วมกับผ้อู ื่น ความคิดเห็นของผู้อน่ื อย่างต้ังใจ ความคดิ เหน็ ของผอู้ ื่น ความคิดเหน็ ของผูอ้ น่ื ไมร่ บั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อนื่
มสี ่วนรว่ ม
รับฟงั ความคดิ เห็น ค่มู ือการใช้หลกั สูตร | กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

คูม่ อื การใชห้ ลกั สตู ร | กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ตัวอย่างแบบประเมนิ ทักษะ 105
สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

ตวั อย่างเครอ่ื งมอื การประเมนิ
ในสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)

ตวั อยา่ งเคร่อื งมอื สังเกตพฤตกิ รรม
การท�ำ งานเป็นกลุม่

คำ�ชีแ้ จง การมสี ว่ นรว่ มในการทำ�งาน แบ่งเป็น 4 ระดับ ดงั นี้
ระดบั คะแนน 4 หมายถงึ สมาชิกมากกวา่ รอ้ ยละ 79 มีส่วนร่วมในการทำ�งานตามบทบาทหนา้ ท่ี
ระดับคะแนน 3 หมายถงึ สมาชิกรอ้ ยละ 60 - 79 มีสว่ นรว่ มในการทำ�งานตามบทบาทหนา้ ท่ี
ระดับคะแนน 2 หมายถงึ สมาชกิ รอ้ ยละ 40 - 59 มีสว่ นร่วมในการท�ำ งานตามบทบาทหน้าท่ี
ระดับคะแนน 1 หมายถงึ สมาชิกนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 40 มสี ่วนร่วมในการท�ำ งานตามบทบาทหน้าท่ี

กลุ่มท่ี การมสี ว่ นรว่ มในการทำ�งาน
4321

สถานภาพของผูป้ ระเมนิ ตนเอง เพือ่ น ครู

เกณฑ์การประเมิน คะแนน 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดีมาก
คะแนน 3 หมายถงึ ระดบั คณุ ภาพ ดี
คะแนน 2 หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้
คะแนน 1 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง

ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะ คู่มอื การใชห้ ลักสูตร | กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
106 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)

ตัวอยา่ งแบบมาตรประมาณค่า
การตรวจผลงานการประเมินเพอื่ ตัดสินใจเลอื กวธิ กี ารสรา้ งช้ินงาน

คำ�ช้ีแจง การเลือกวิธีการสร้างช้นิ งานเพอื่ แกป้ ญั หาหรือสนองความต้องการจากสถานการณท์ ่ีกำ�หนด

แบ่งเป็น 4 ระดับ ดังน้ี

ระดับคะแนน 4 หมายถงึ เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการสอดคล้องกับปัญหาหรือ

ความต้องการ โดยคำ�นงึ ถึงทรัพยากรและขอ้ จ�ำ กัดท่ีมีอยอู่ ย่างเหมาะสม

ระดับคะแนน 3 หมายถงึ เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการสอดคล้องกับปัญหาหรือ

ความต้องการได้ โดยพิจารณาทรัพยากรแตไ่ มค่ ำ�นึงถึงขอ้ จำ�กัด

ระดบั คะแนน 2 หมายถงึ เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการสอดคล้องกับปัญหาหรือ

ความตอ้ งการโดยไมไ่ ดพ้ จิ ารณาทรพั ยากรและขอ้ จำ�กัด

ระดับคะแนน 1 หมายถึง เลือกวธิ ีการแก้ปญั หาหรอื สนองความต้องการไม่สอดคลอ้ งกับปัญหาหรือ

ความตอ้ งการ

การเลือกวิธกี ารสรา้ งชน้ิ งานเพอื่ แก้ปัญหาหรอื ความต้องการ

กล่มุ ท่ี

432 1

สถานภาพของผู้ประเมิน ตนเอง เพื่อน พ่อแม/่ ผปู้ กครอง ครู

เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 4 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ดีมาก
คะแนน 3 หมายถึง ระดับคณุ ภาพ ดี
คะแนน 2 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ พอใช้
คะแนน 1 หมายถงึ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง

คู่มือการใชห้ ลกั สูตร | กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ตัวอย่างแบบประเมนิ ทกั ษะ 107
สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)

ตัวอยา่ งแบบสงั เกตพฤตกิ รรม
การใชเ้ ครอื่ งมือในการสรา้ งชิ้นงาน

ช่อื -สกลุ เลขที่ หอ้ ง

คำ�ช้แี จง ให้ท�ำ เครอ่ื งหมาย √ ลงใน ท่ตี รงกับพฤตกิ รรมนกั เรยี น

ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏิบตั ิ
1. เลอื กเครอ่ื งมือเหมาะสมกับลกั ษณะและประเภทของงาน
2. ใช้เคร่ืองมืออยา่ งถูกวิธี
3. ใช้เคร่ืองมือไดอ้ ย่างปลอดภัย
4. ทำ�ความสะอาดเครอื่ งมอื หลงั การใช้งาน
5. จัดเก็บเครอ่ื งมอื ที่ถกู วิธหี ลงั การใช้งาน

สถานภาพของผ้ปู ระเมนิ ตนเอง เพอ่ื น พ่อแม่/ผ้ปู กครอง ครู

เกณฑก์ ารประเมนิ แสดงพฤตกิ รรม 5 ด้าน หมายถึง ดีมาก
แสดงพฤติกรรม 3-4 ดา้ น หมายถงึ ดี
แสดงพฤตกิ รรม 1-2 ดา้ น หมายถึง พอใช้
แสดงพฤตกิ รรม 0 ด้าน หมายถึง ปรบั ปรงุ

สรุปผลการประเมนิ ผ่าน มพี ฤตกิ รรม 3-5 ดา้ น
ไมผ่ ่าน มีพฤตกิ รรม 0-2 ดา้ น

ตัวอยา่ งแบบประเมนิ ทักษะ คมู่ อื การใช้หลกั สตู ร | กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์
108 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

บรรณานุกรม

Barrows, H. S. (2000). Problem-Based Learning Applied to Medical Education. Springfield, IL:
Southern Illinois University School of Medicine.
Bonwell, C. & Eison, J. (1991). Active Learning: Creating Excitement in the Classroom AEHE-ERIC
Higher Education Report No. 1. Washington, D.C.: Jossey-Bass.
MacDonell, C. (2007). Project-based inquiry units for young children: First steps to research for
grade pre-K-2. Worthington, OH: Linworth Publishing Inc.
Prince, M. (2004). Does Active Learning Work? A Review of the Research. Journal of Engineering
Education. 93(3), 223-232.
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2559). คู่มือหลักสตู รอบรมครู
สะเตม็ ศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร.
สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2552). แนวปฏิบัติการวัดและประเมนิ ผล
การเรียนรู้. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำ กดั .
สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2550). การจดั การเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำ กัด.
สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ส�ำ นกั นายกรัฐมนตร.ี (2560). แผนพฒั นาเศรษฐกจิ
และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564). สบื คน้ 2 มถิ ุนายน 2560, จาก
http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422

คณะผูจ้ ัดทำ�

คณะทีป่ รกึ ษา ผอู้ ำ�นวยการ
ดร.พรพรรณ ไวทยางกรู สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รองผอู้ �ำ นวยการ
รองศาสตราจารย์ ดร.สญั ญา มิตรเอม สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


คณะผยู้ กร่าง สถาบันนวตั กรรมการเรยี นรู้ มหาวิทยาลยั มหดิ ล
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชัย นพรตั น์แจม่ จ�ำ รัส ผชู้ ำ�นาญ สาขาเทคโนโลยี
นายขจติ   เมตตาเมธา สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผชู้ �ำ นาญ สาขาเทคโนโลยี
นายบุญวิทย์  รัตนทิพยาภรณ ์ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ้ชู �ำ นาญ สาขาเทคโนโลยี
ดร.อภสิ ทิ ธิ ์ ธงไชย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
นกั วชิ าการ สาขาเทคโนโลยี
นางสาวสุทธิดา  บญุ ทว ี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นกั วชิ าการ สาขาเทคโนโลยี
นางสาวสธุ ิดา การีม ี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
นกั วิชาการ สาขาเทคโนโลยี
นายสยามชัย  สกุ ใส สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
นกั วิชาการ สาขาเทคโนโลยี
ดร.นุศวดี พจนานุกจิ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นกั วิชาการ สาขาเทคโนโลยี
ดร.ตรสี ุคนธ์ ตรีบพุ ชาตสิ กลุ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
นักวิชาการ สาขาเทคโนโลยี
นายสุนทร พรมมงคล สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี


คณะผ้พู ิจารณา สถาบันเทคโนโลยนี านาชาตสิ ริ ินธร มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย อ่อนจนั ทร์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์พิเชษฐ์ ศรีสังข์งาม   มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา
ศูนย์วทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรี ะพงษ์ แสงประดิษฐ ์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช
ดร.พนั ธศุ์ กั ดิ์ เกดิ ทองมี จงั หวัดนครศรีธรรมราช

ดร.รงั สันต์ จอมทะรักษ์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต
กรุงเทพมหานคร
นายวสั สา รวยรวย คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช
นางสกุ ัญญา นตุ โร คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี
จังหวดั อุบลราชธานี
นายกฤษขจร  ศรถี าวร ครชู �ำ นาญการพเิ ศษ กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ
และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นหนองหญา้ ววั จ.บุรรี ัมย์
นางสาวจนิ ตนา ธปิ นั ครชู ำ�นาญการพิเศษ กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรยี นยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชยี งใหม่
นางณัฐภสั สร เหล่าเนตร ์ ครเู ชี่ยวชาญ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
โรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย จังหวัดพิษณโุ ลก
นายพิริยะ ทองเหลอื ง ครชู ำ�นาญการพิเศษ กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี โรงเรยี นเบ็ญจะมะมหาราช จ.อุบลราชธานี
นางมณเฑียร คละเครอื ครชู ำ�นาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรยี นบ้านทา่ บอ่ จงั หวัดอุบลราชธานี
นางรงุ่ อรุณ คีรสี ตั ยกลุ ครูช�ำ นาญการพิเศษ ก ลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์
โรงเรียนไตรประชาวิทยา จังหวดั นา่ น
นายวรี ชาติ มาตรหลุบเลา ครู กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
โรงเรียนโพนเมืองประชารฐั “ดร.ก่อ สวสั ด์พิ าณิชย์ อนุสรณ”์
จังหวัดรอ้ ยเอ็ด
นางสาวสุขสวัสด์ิ ปรยี าโชต ิ ผชู้ ่วยผอู้ ำ�นวยการ โรงเรยี นปรยี าโชติ จงั หวดั นครสวรรค์
นายวีระพจน์ รัตนรตั น ์ ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนดรุณาราชบุรี จงั หวัดราชบรุ ี
นายอาจอง มุขเงนิ ครู กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรยี นจติ รลดา กรุงเทพมหานคร
นางเอมอร รสเครอื นกั วิชาการอสิ ระ

คณะบรรณาธิการ รกั ษาการผู้อ�ำ นวยการ สาขาเทคโนโลยี สสวท.
ดร.เขมวดี พงศานนท์ คณะวิทยาศาสตร์
รองศาสตราจารยธ์ ีรวฒั น์ ประกอบผล สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั
ผอู้ �ำ นวยการ
นายกมลเทพ  ชงั ช ู โรงเรียนปราโมชวิทยารามอนิ ทรา กรุงเทพมหานคร



สถาบนั สงเสร�มการสอนวท� ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธกิ าร
บารโคต


Click to View FlipBook Version