The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้หลักสูตรสาระเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)040561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nut7075, 2022-06-21 21:48:25

คู่มือการใช้หลักสูตรสาระเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)040561

คู่มือการใช้หลักสูตรสาระเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)040561

คูม อื การใชห ลักสูตร
รายว�ชาพ�นฐานว�ทยาศาสตร

กลม�ุ สาระการเรียนรู�วทิ ยาศาสตร� (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน มธั ยมศึกษาตอนปลาย

จัดทำโดย
สถาบนั สง เสรม� การสอนว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธกิ าร



ค่มู ือการใช้หลักสูตร
รายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

สาระเทคโนโลยี

การออกแบบและเทคโนโลยี

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย

จัดท�ำ โดย
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

copyright@2018

คำ�นำ�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทำ�ตัวชี้วัดและ
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในการน้ีได้กำ�หนดให้รายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) อยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซ่ึงมีเป้าหมายมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพ่ือดำ�รงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะ
เพอื่ แกป้ ญั หาหรอื พฒั นางานอยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม บรู ณาการกบั ศาสตรอ์ น่ื
โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์อย่างเหมาะสม เลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำ�นึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม
และสิ่งแวดล้อม โดย สสวท. ได้จัดทำ�คู่มือการใช้หลักสูตรเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจในภาพรวมของหลักสูตร
และให้สถานศึกษาใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั การเรยี นรู้
คมู่ อื การใชห้ ลกั สตู รรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ฉบบั นสี้ ถานศกึ ษา
สามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นจดั การเรยี นรไู้ ดต้ ามความเหมาะสมและตามบรบิ ท ในเลม่ ประกอบดว้ ยภาพรวมของหลกั สตู ร
รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ตวั อย่างหนว่ ยการเรยี นรู้ ตวั อย่างแบบประเมิน
ทักษะ และรายละเอียดอ่ืนๆ ท่ีจะช่วยให้ได้แนวทางในการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถสะท้อนหลักสูตร และพัฒนาผู้เรียน
ให้มคี ณุ ภาพตามท่ีหลักสูตรก�ำ หนด
การพฒั นาคมู่ อื การใชห้ ลกั สตู รน้ี ไดผ้ า่ นการพจิ ารณาและระดมความคดิ จากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ คณาจารย์ นกั วชิ าการ
และครผู ้สู อน จึงขอขอบคุณไว้ ณ ทน่ี ี้ สสวท. หวังเปน็ อย่างยิ่งว่าคู่มือการใช้หลกั สูตรนี้ จะเป็นประโยชนต์ อ่ ผูเ้ กยี่ วขอ้ ง
ทุกฝ่าย หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทำ�ให้คู่มือการใช้หลักสูตรเล่มน้ี มีความสมบูรณ์ย่ิงขึ้น โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้วย
จะขอบคณุ ย่ิง

(นางพรพรรณ ไวทยางกรู )
ผอู้ �ำ นวยการสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบญั

เนอื้ หา หนา้

บทนำ� 7
เปา้ หมายของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 7
สาระการเรยี นรู้ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 8
มาตรฐานการเรยี นรู้ 8
คุณภาพผู้เรยี น 9
ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้ 10
ทักษะสำ�คัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 16
การวางแผนการจัดการเรยี นร ู้ 17
สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู ้ 18
การจัดการเรียนร ู้ 19
การวดั และประเมินผลการเรียนร้ ู 20
ตัวอยา่ งหน่วยการเรียนรู้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 23
ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรียนรู้ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 59

ภาคผนวก 102
ตัวอยา่ งแบบประเมินทกั ษะ 108
บรรณานกุ รม



คมู่ อื การใช้หลักสตู ร | กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 7

คมู่ ือการใช้หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์
สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)

1. บทนำ�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสำ�คัญของการสร้างความรู้ ความเข้าใจและ
ส่งเสริมทักษะพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีของผู้เรียน เพ่ือให้ดำ�รงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งการนำ�เทคโนโลยี
ไปสร้างนวัตกรรมอย่างมีความคิดสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองต่อแนวคิดประเทศไทย 4.0 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ทม่ี งุ่ สง่ เสรมิ อุตสาหกรรมหลกั 5 กลมุ่ ประกอบดว้ ย
กลมุ่ อาหาร เกษตร และเทคโนโลยชี ีวภาพ
กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์
กลมุ่ เครอ่ื งมืออปุ กรณ์อัจฉรยิ ะ ห่นุ ยนต์ และเทคโนโลยเี มคาทรอนกิ ส์
กลมุ่ ดจิ ิทลั Internet of Things ปญั ญาประดิษฐแ์ ละเทคโนโลยีสมองกลฝังตวั
กลมุ่ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ วฒั นธรรมและบรกิ ารทีม่ ีมลู ค่าสงู

จึงได้ปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เพื่อให้เกิด
ความชดั เจนและสอดคลอ้ งกับการจัดการเรียนรู้ในระดับสากล มกี ารเชื่อมโยงความรูก้ บั กระบวนการเรยี นรูแ้ ละการจดั กิจกรรม
การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ คดิ เชงิ ระบบ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ สามารถแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ
สรา้ งผลงานทส่ี ามารถเปน็ แนวทางในการประกอบอาชพี ในอนาคต ท�ำ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชแ้ กป้ ญั หาและการท�ำ งาน
ในชวี ติ จรงิ ได้ เพอ่ื เปน็ ก�ำ ลงั ส�ำ คญั ในการพฒั นาประเทศ
ความรู้ (knowledge) และทักษะปฏิบัติ (practice) ที่ได้จากการเรียนรู้สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
ล้วนมคี วามสำ�คญั ตอ่ การด�ำ เนนิ ชีวิต โดยทคี่ ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (attribute) จะเกดิ ขึ้นระหวา่ งกระบวนการจดั การเรียนรู้
ซง่ึ การน�ำ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ไปสกู่ ารจดั การเรยี นรใู้ นชน้ั เรยี น
เพ่ือให้เกดิ ประสทิ ธิผลต่อผเู้ รียนเปน็ สิ่งทีส่ ำ�คญั ดงั น้นั สสวท. จงึ ได้จัดทำ�ค่มู ือการใช้หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ซง่ึ ประกอบดว้ ย เปา้ หมายของสาระ
คุณภาพผูเ้ รียน ทกั ษะส�ำ คัญ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้ การวางแผนการจดั การเรยี นรู้ สอื่ และแหลง่ เรยี นรู้
การจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตวั อยา่ งกจิ กรรรมการเรียนรู้ เพอื่ ใหส้ ถานศกึ ษา ผ้สู อน ตลอดจนหน่วยงาน
ที่เกย่ี วขอ้ ง ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจัดการเรียนรู้ การพฒั นาสอ่ื การเรียนรู้ ตลอดจนการวดั และประเมนิ ผลไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

2. เป้าหมายของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

เปา้ หมายของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) มุง่ พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั เทคโนโลยเี พือ่
ดำ�รงชวี ิตในสงั คมที่มกี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ใช้ความรแู้ ละทักษะเพ่ือแกป้ ัญหาหรือพฒั นางานอย่างมีความคิดสรา้ งสรรค์
ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม บูรณาการกับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ อย่างเหมาะสม
เลือกใชเ้ ทคโนโลยโี ดยคำ�นงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชีวิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม

8 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) คมู่ ือการใชห้ ลกั สตู ร| กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

3. สาระการเรยี นรขู้ องสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี แบง่ ออกเป็น 3 หวั ขอ้ หลกั ได้แก่ ความรแู้ ละความเข้าใจเก่ียวกับเทคโนโลยี
กระบวนการออกแบบ และความรแู้ ละทักษะพืน้ ฐานเฉพาะดา้ น

หัวขอ้ หลักที่ 1 ความรแู้ ละความเขา้ ใจเกย่ี วกบั เทคโนโลยี ประกอบดว้ ยหัวข้อย่อย ตอ่ ไปนี้

1) ความหมายของเทคโนโลยี
2) ระบบทางเทคโนโลยี
3) การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
4) ความสมั พนั ธ์ระหว่างเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อืน่
5) ผลกระทบของเทคโนโลยี

หวั ขอ้ หลักท่ี 2 กระบวนการออกแบบ

กระบวนการออกแบบ (design process) ในสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เป็นกระบวนการแก้ปญั หาหรอื
พัฒนางานอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน โดยใช้ความรู้และทกั ษะ รวมทงั้ ความคิดสร้างสรรค์ ซ่งึ ในทนี่ ใ้ี ช้กระบวนการทเี่ รยี กว่า กระบวนการ
ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม (engineering design process)

หวั ขอ้ หลักท่ี 3 ความรูแ้ ละทักษะพืน้ ฐานเฉพาะด้าน

ความรแู้ ละทกั ษะพน้ื ฐานทจ่ี �ำ เปน็ ส�ำ หรบั การแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางานในสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ไดแ้ ก่
1) วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครอ่ื งมอื พน้ื ฐาน
2) กลไก ไฟฟ้า และอิเลก็ ทรอนิกส์

4. มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ว 4.1

เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำ�รงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้าน
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ่นื ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรอื พัฒนางานอยา่ งมีความคดิ สร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบ
เชิงวศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคำ�นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และส่งิ แวดล้อม

คูม่ อื การใชห้ ลกั สูตร | กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 9

5. คุณภาพผเู้ รียน

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) จัดให้มีการเรียนการสอนต้ังแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจนถึงระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดยมีความคาดหวงั เพ่ือให้ไดค้ ุณภาพผเู้ รียนเมอ่ื จบการศกึ ษาตามแตล่ ะช่วงชัน้ ดังน้ี

จบชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3
เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่าง
เทคโนโลยีกบั ศาสตร์อืน่ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรอื คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทยี บ และตัดสนิ ใจเพอื่ เลือกใช้เทคโนโลยี
โดยค�ำ นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวิต สงั คม และส่งิ แวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรพั ยากรเพื่อออกแบบและสร้างผลงาน
สำ�หรับแก้ปัญหาในชีวิตประจำ�วันหรือการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใช้วัสดุ
อปุ กรณ์ และเครื่องมือได้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทงั้ คำ�นึงถึงทรัพยส์ นิ ทางปัญญา

จบช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6
วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีท่ีซับซ้อน การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์
ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพ่ือเลือกใช้
เทคโนโลยี โดยค�ำ นงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชีวิต สังคม เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดล้อม ประยุกตใ์ ช้ความรู้ ทกั ษะ ทรพั ยากรเพอ่ื ออกแบบ
สร้างหรือพฒั นาผลงาน สำ�หรบั แก้ปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อสังคม โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ใชซ้ อฟต์แวรช์ ว่ ยใน
การออกแบบและนำ�เสนอผลงาน เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมท้ังคำ�นึงถึง
ทรพั ย์สินทางปญั ญา

10 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี คู่มือการใช้หลักสูตร| กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

6. ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้

ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.1 1. อธิบายแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี • เทคโนโลยี เปน็ สิ่งทม่ี นษุ ย์สร้างหรอื พัฒนาข้นึ ซงึ่ อาจเป็นได้ท้ังชิ้นงานหรือวธิ กี าร

ในชวี ติ ประจำ�วนั และวเิ คราะห์ เพ่อื ใช้แกป้ ัญหา สนองความตอ้ งการ หรือเพ่มิ ความสามารถในการทำ�งานของมนษุ ย์

สาเหตุหรอื ปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อ • ระบบทางเทคโนโลยี เปน็ กลุม่ ของส่วนตา่ ง ๆ ต้งั แตส่ องสว่ นขน้ึ ไปประกอบเขา้ ด้วยกัน

การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และท�ำ งานรว่ มกนั เพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ โดยในการท�ำ งานของระบบทางเทคโนโลยี

จะประกอบไปดว้ ยตัวปอ้ น (input) กระบวนการ (process) และผลผลติ (output)

ทส่ี มั พนั ธก์ นั นอกจากนร้ี ะบบทางเทคโนโลยอี าจมขี อ้ มลู ยอ้ นกลบั (feedback) เพอ่ื ใช้

ปรับปรงุ การท�ำ งานได้ตามวตั ถุประสงค์ ซ่งึ การวิเคราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยชี ่วยให้

เข้าใจองคป์ ระกอบและการท�ำ งานของเทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรบั ปรงุ ให้

เทคโนโลยีทำ�งานได้ตามต้องการ

• เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจบุ นั ซึ่งมสี าเหตหุ รอื ปจั จยั

มาจากหลายดา้ น เชน่ ปญั หา ความตอ้ งการ ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ เศรษฐกจิ

สงั คม

2. ระบุปัญหาหรอื ความต้องการใน • ปัญหาหรอื ความต้องการในชีวติ ประจ�ำ วนั พบได้จากหลายบริบทขึน้ กับสถานการณ์
ชีวิตประจำ�วัน รวบรวม วเิ คราะห์ ท่ปี ระสบ เชน่ การเกษตร การอาหาร
ข้อมลู และแนวคิดทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั
ปัญหา • การแกป้ ญั หาจ�ำ เป็นตอ้ งสืบคน้ รวบรวมขอ้ มูล ความรจู้ ากศาสตร์ตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วข้อง
เพอื่ นำ�ไปส่กู ารออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหา

3. ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หา โดย • การวิเคราะห์ เปรยี บเทยี บ และตัดสนิ ใจเลือกข้อมลู ท่จี ำ�เปน็ โดยค�ำ นงึ ถงึ เงอ่ื นไขและ
วิเคราะห์เปรียบเทยี บ และตัดสิน ทรัพยากรทมี่ อี ยู่ ช่วยใหไ้ ดแ้ นวทางการแกป้ ัญหาทเี่ หมาะสม
ใจเลอื กขอ้ มลู ท่ีจำ�เป็น นำ�เสนอ
แนวทางการแกป้ ัญหาใหผ้ ูอ้ ืน่ • การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หาทำ�ไดห้ ลากหลายวิธี เชน่ การร่างภาพ การเขยี น
เข้าใจ วางแผนและด�ำ เนนิ การ แผนภาพ การเขียนผังงาน
แก้ปัญหา
• การก�ำ หนดข้นั ตอนและระยะเวลาในการทำ�งานก่อนด�ำ เนินการแก้ปญั หาจะชว่ ยให้
ท�ำ งานสำ�เร็จไดต้ ามเปา้ หมาย (และลดข้อผดิ พลาดของการทำ�งานท่ีอาจเกิดขน้ึ )

4. ทดสอบ ประเมินผล และระบุ • การทดสอบและประเมินผลเปน็ การตรวจสอบชนิ้ งานหรอื วิธีการว่าสามารถแกป้ ัญหา
ข้อบกพร่องท่ีเกดิ ขึ้น พรอ้ มทง้ั หา ได้ตามวตั ถปุ ระสงคภ์ ายใตก้ รอบของปญั หาเพอ่ื หาขอ้ บกพรอ่ ง และด�ำ เนนิ การปรบั ปรงุ
แนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ข และ โดยอาจทดสอบซ�ำ้ เพอ่ื ใหส้ ามารถแกไ้ ขปญั หาได้
น�ำ เสนอผลการแกป้ ญั หา
• การน�ำ เสนอผลงานเป็นการถา่ ยทอดแนวคดิ เพอ่ื ให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการ
ท�ำ งานและช้ินงานหรือวธิ กี ารท่ไี ด้ ซึ่งสามารถทำ�ได้หลายวธิ ี เชน่ การเขยี นรายงาน
การท�ำ แผ่นน�ำ เสนอผลงาน การจดั นิทรรศการ การน�ำ เสนอผ่านส่อื ออนไลน์

5. ใชค้ วามรู้และทักษะเกย่ี วกบั วสั ดุ • วสั ดแุ ตล่ ะประเภทมสี มบัตแิ ตกตา่ งกนั เชน่ ไม้ โลหะ พลาสติก จงึ ต้องมกี ารวิเคราะห์
อุปกรณ์ เครอื่ งมือ กลไก ไฟฟา้ สมบตั ิเพ่ือเลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกับลกั ษณะของงาน
หรืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อแกป้ ญั หา
ได้อย่างถูกตอ้ ง เหมาะสมและ • การสร้างช้นิ งานอาจใช้ความรู้ เรือ่ งกลไก ไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เชน่ LED บซั เซอร์
ปลอดภัย มอเตอร์ วงจรไฟฟา้

• อปุ กรณแ์ ละเครือ่ งมือในการสรา้ งชน้ิ งานหรอื พฒั นาวิธกี ารมีหลายประเภท ตอ้ งเลือก
ใช้ให้ถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั รวมท้งั รจู้ ักเกบ็ รักษา

คูม่ อื การใช้หลักสตู ร | กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 11

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ม.2 1. คาดการณแ์ นวโน้มเทคโนโลยี • สาเหตหุ รอื ปัจจยั ตา่ ง ๆ เชน่ ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์ตา่ ง ๆ การเปลยี่ นแปลงทางด้าน

ที่จะเกิดข้นึ โดยพิจารณาจาก เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ท�ำ ให้เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

สาเหตหุ รอื ปัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ • เทคโนโลยีแตล่ ะประเภทมีผลกระทบตอ่ ชวี ิต สงั คม และสง่ิ แวดล้อมท่แี ตกต่างกัน จึงตอ้ ง

การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี วเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบขอ้ ดี ข้อเสยี และตัดสินใจเลือกใช้ใหเ้ หมาะสม

และวเิ คราะห์ เปรียบเทียบ

ตดั สินใจเลือกใช้เทคโนโลยี

โดยค�ำ นึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ

ตอ่ ชวี ติ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม

2. ระบปุ ัญหาหรือความต้องการ • ปญั หาหรอื ความตอ้ งการในชมุ ชนหรอื ทอ้ งถน่ิ มหี ลายอยา่ ง ขน้ึ กบั บรบิ ทหรอื สถานการณ์
ในชมุ ชนหรือท้องถน่ิ สรปุ ที่ประสบ เช่น ด้านพลังงาน สง่ิ แวดล้อม การเกษตร การอาหาร
กรอบของปัญหา รวบรวม
วิเคราะห์ขอ้ มูลและแนวคิด • การระบปุ ญั หาจ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารวเิ คราะหส์ ถานการณข์ องปญั หาเพอ่ื สรปุ กรอบของปญั หา
ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั ปญั หา แล้วด�ำ เนินการสืบค้น รวบรวมขอ้ มลู ความรูจ้ ากศาสตร์ตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง เพ่ือน�ำ ไปสู่
การออกแบบแนวทางการแก้ปญั หา

3. ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหา โดย • การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตดั สนิ ใจเลอื กข้อมูลท่จี �ำ เปน็ โดยคำ�นึงถงึ เง่ือนไขและ
วเิ คราะห์เปรียบเทยี บ และ ทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมลู และสารสนเทศ วสั ดุ เครือ่ งมอื และอุปกรณ์
ตดั สินใจเลอื กข้อมลู ท่จี �ำ เป็น ช่วยให้ไดแ้ นวทางการแกป้ ัญหาที่เหมาะสม
ภายใต้เงือ่ นไขและทรพั ยากร
ที่มีอยู่ น�ำ เสนอแนวทางการ • การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทำ�ได้หลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ การเขยี น
แก้ปญั หาใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจ วางแผน แผนภาพ การเขยี นผังงาน
ขัน้ ตอนการทำ�งานและด�ำ เนิน
การแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ขน้ั ตอน • การก�ำ หนดขน้ั ตอนระยะเวลาในการท�ำ งานกอ่ นด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หาจะชว่ ยใหก้ ารท�ำ งาน
ส�ำ เรจ็ ไดต้ ามเป้าหมาย และลดข้อผดิ พลาดของการทำ�งานท่อี าจเกิดข้ึน

4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และ • การทดสอบและประเมนิ เปน็ การตรวจสอบช้ินงาน หรือวิธกี ารวา่ สามารถแก้ปญั หา
อธิบายปญั หาหรอื ข้อบกพร่อง ไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ภายใต้กรอบของปญั หา เพื่อหาขอ้ บกพรอ่ ง และดำ�เนนิ การปรับปรงุ
ทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายใต้กรอบเงือ่ นไข ใหส้ ามารถแกไ้ ขปญั หาได้
พรอ้ มทงั้ หาแนวทางการ
ปรับปรงุ แก้ไข และน�ำ เสนอผล • การนำ�เสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพือ่ ใหผ้ ูอ้ น่ื เข้าใจเก่ยี วกับกระบวนการ
การแกป้ ญั หา ทำ�งานและช้ินงานหรือวิธีการทไี่ ด้ ซง่ึ สามารถท�ำ ไดห้ ลายวิธี เช่น การเขียนรายงาน
การทำ�แผ่นน�ำ เสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ การนำ�เสนอผา่ นสื่อออนไลน์

5. ใชค้ วามรู้ และทักษะเก่ียวกบั • วสั ดแุ ตล่ ะประเภทมสี มบตั แิ ตกตา่ งกนั เชน่ ไม้ โลหะ พลาสตกิ จงึ ตอ้ งมกี ารวเิ คราะหส์ มบตั ิ
วัสดุ อุปกรณ์ เคร่อื งมอื กลไก เพ่ือเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน
ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์
เพ่ือแกป้ ญั หาหรอื พัฒนางาน • การสร้างช้ินงานอาจใช้ความรู้ เร่อื งกลไก ไฟฟา้ อเิ ล็กทรอนิกส์ เช่น LED มอเตอร์
ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสม และ บัซเซอร์ เฟอื ง รอก ลอ้ เพลา
ปลอดภยั
• อปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมอื ในการสรา้ งชิ้นงานหรอื พฒั นาวธิ ีการมหี ลายประเภท ต้องเลอื กใช้
ให้ถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั รวมทง้ั รู้จกั เก็บรักษา

12 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) คูม่ อื การใชห้ ลักสตู ร| กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชนั้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ม.3 1. วเิ คราะหส์ าเหตุ หรอื ปัจจยั ที่ • เทคโนโลยมี กี ารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาต้งั แตอ่ ดีตจนถงึ ปัจจุบนั ซึ่งมีสาเหตุหรอื ปัจจยั
ส่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของ มาจากหลายดา้ น เชน่ ปัญหาหรอื ความต้องการของมนษุ ย์ ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์
เทคโนโลยี และความสมั พนั ธ์ ตา่ ง ๆ การเปล่ียนแปลงทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ส่งิ แวดล้อม
ของเทคโนโลยกี ับศาสตรอ์ ่ืน
โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรือ • เทคโนโลยีมีความสัมพนั ธก์ ับศาสตรอ์ ่นื โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ เพ่อื เป็นแนวทาง เป็นพ้ืนฐานความรู้ที่นำ�ไปสู่การพฒั นาเทคโนโลยี และเทคโนโลยที ่ีได้สามารถเปน็
การแก้ปญั หาหรอื พฒั นางาน เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษา คน้ ควา้ เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซึง่ องคค์ วามรู้ใหม่

2. ระบุปญั หาหรือความตอ้ งการ • ปญั หาหรอื ความตอ้ งการอาจพบไดใ้ นงานอาชพี ของชมุ ชนหรอื ทอ้ งถน่ิ ซง่ึ อาจมหี ลายดา้ น
ของชมุ ชนหรอื ทอ้ งถน่ิ เพอ่ื เช่น ด้านการเกษตร อาหาร พลังงาน การขนส่ง
พฒั นางานอาชีพ สรปุ กรอบ
ของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ • การวเิ คราะหส์ ถานการณป์ ญั หาชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจเงือ่ นไขและกรอบของปญั หาไดช้ ัดเจน
ขอ้ มลู และแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จากน้นั ดำ�เนนิ การสืบค้น รวบรวมข้อมลู ความรจู้ ากศาสตร์ตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วข้อง เพื่อน�ำ ไปสู่
กบั ปญั หา โดยคำ�นงึ ถงึ การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา
ความถูกต้องดา้ นทรัพยส์ นิ
ทางปญั ญา

3. ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา • การวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบ และตัดสินใจเลอื กข้อมูลท่ีจำ�เป็น โดยค�ำ นึงถึงทรพั ย์สิน
โดยวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บ และ ทางปัญญา เงอ่ื นไขและทรพั ยากร เช่น งบประมาณ เวลา ขอ้ มลู และสารสนเทศ วสั ดุ
ตัดสินใจเลอื กข้อมูลท่ีจำ�เป็น เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ ชว่ ยใหไ้ ด้แนวทางการแก้ปัญหาทเ่ี หมาะสม
ภายใตเ้ ง่อื นไขและทรพั ยากร
ทีม่ อี ยู่ นำ�เสนอแนวทางการ • การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หาท�ำ ได้หลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ
แกป้ ญั หาให้ผู้อ่นื เขา้ ใจดว้ ย การเขยี นแผนภาพ การเขียนผังงาน
เทคนิคหรอื วิธกี ารท่ีหลากหลาย
วางแผนขั้นตอนการท�ำ งานและ • เทคนิคหรือวิธกี ารในการน�ำ เสนอแนวทางการแก้ปญั หามีหลากหลาย เชน่ การใชแ้ ผนภมู ิ
ดำ�เนินการแกป้ ญั หาอย่างเปน็ ตาราง ภาพเคลอื่ นไหว
ขัน้ ตอน
• การก�ำ หนดข้นั ตอนและระยะเวลาในการท�ำ งานก่อนดำ�เนินการแกป้ ญั หาจะชว่ ยให้
การท�ำ งานสำ�เร็จได้ตามเป้าหมาย และลดขอ้ ผิดพลาดของการท�ำ งานที่อาจเกิดขนึ้

4. ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์ • การทดสอบและประเมนิ ผลเป็นการตรวจสอบชนิ้ งานหรือวิธกี ารวา่ สามารถแกป้ ญั หา
และใหเ้ หตุผลของปัญหาหรือ ได้ตามวัตถปุ ระสงค์ภายใตก้ รอบของปญั หา เพื่อหาขอ้ บกพร่อง และด�ำ เนนิ การปรบั ปรุง
ขอ้ บกพรอ่ งท่เี กิดขึน้ ภายใต้ โดยอาจทดสอบซ�้ำ เพ่อื ใหส้ ามารถแก้ไขปัญหาได้
กรอบเง่ือนไข พรอ้ มทงั้ หา
แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข • การน�ำ เสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคดิ เพอ่ื ให้ผู้อืน่ เขา้ ใจเกี่ยวกบั กระบวนการ
และนำ�เสนอผลการแก้ปญั หา ทำ�งานและชน้ิ งานหรือวิธีการทีไ่ ด้ ซึ่งสามารถท�ำ ไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การเขยี นรายงาน
การท�ำ แผน่ น�ำ เสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ การน�ำ เสนอผ่านสื่อออนไลน์

5. ใชค้ วามรูแ้ ละทักษะเก่ยี วกับ • วสั ดแุ ตล่ ะประเภทมสี มบตั แิ ตกตา่ งกนั เชน่ ไม้ โลหะ พลาสตกิ เซรามกิ จงึ ตอ้ งมกี ารวเิ คราะห์
วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือ กลไก สมบัติเพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสมกบั ลักษณะของงาน
ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ สใ์ ห้
ถูกต้องกับลกั ษณะของงาน • การสร้างชิน้ งานอาจใชค้ วามรู้ เร่อื งกลไก ไฟฟ้า อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เชน่ LED LDR มอเตอร์
และปลอดภัย เพอื่ แกป้ ัญหา เฟือง คาน รอก ล้อ เพลา
หรอื พฒั นางาน
• อุปกรณแ์ ละเคร่ืองมือในการสร้างชน้ิ งานหรอื พฒั นาวิธกี ารมีหลายประเภท ตอ้ งเลือกใช้
ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภยั รวมทงั้ ร้จู กั เกบ็ รกั ษา

คู่มอื การใช้หลักสตู ร | กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 13

ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ม.4 1. วเิ คราะหแ์ นวคิดหลักของ • ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกล่มุ ของสว่ นตา่ ง ๆ ตั้งแต่สองสว่ นขน้ึ ไปประกอบเขา้ ด้วยกนั

เทคโนโลยี ความสัมพันธก์ ับ และท�ำ งานรว่ มกันเพอื่ ให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ โดยในการทำ�งานของ

ศาสตร์อ่ืนโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ ระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วย ตัวปอ้ น (input) กระบวนการ (process)

หรอื คณติ ศาสตร์ รวมทงั้ ประเมิน และผลผลติ (output) ทส่ี มั พนั ธก์ นั นอกจากนร้ี ะบบทางเทคโนโลยอี าจมขี อ้ มลู ยอ้ นกลบั

ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ (feedback) เพอื่ ใช้ปรบั ปรงุ การท�ำ งานได้ตามวัตถปุ ระสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยี

สังคม เศรษฐกจิ และส่งิ แวดล้อม อาจมรี ะบบยอ่ ยหลายระบบ (subsystems) ทีท่ ำ�งานสัมพนั ธก์ ันอยู่ และหาก

เพอ่ื เป็นแนวทางในการพัฒนา ระบบยอ่ ยใดท�ำ งานผดิ พลาดจะสง่ ผลตอ่ การท�ำ งานของระบบอื่นด้วย

เทคโนโลยี • เทคโนโลยมี ีการเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาต้ังแตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงมีสาเหตหุ รอื

ปจั จัยมาจากหลายด้าน เชน่ ปัญหา ความตอ้ งการ ความกา้ วหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ

เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ส่งิ แวดลอ้ ม

2. ระบปุ ญั หาหรอื ความต้องการท่ีมี • ปญั หาหรอื ความตอ้ งการทมี่ ผี ลกระทบตอ่ สังคม เชน่ ปญั หาด้านการเกษตร อาหาร
ผลกระทบตอ่ สงั คม รวบรวม วเิ คราะห์ พลังงาน การขนส่ง สุขภาพและการแพทย์ การบรกิ าร ซึง่ แตล่ ะดา้ นอาจมีได้
ขอ้ มลู และแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หา หลากหลายปัญหา
ทีม่ คี วามซับซอ้ นเพ่อื สงั เคราะห์
วธิ กี าร เทคนิคในการแก้ปญั หา • การวเิ คราะหส์ ถานการณป์ ญั หาโดยอาจใช้เทคนคิ หรอื วิธกี ารวเิ คราะหท์ ่หี ลากหลาย
โดยคำ�นงึ ถึงความถกู ต้อง ชว่ ยให้เข้าใจเงอ่ื นไขและกรอบของปญั หาได้ชัดเจน จากนน้ั ด�ำ เนินการสบื ค้น รวบรวม
ดา้ นทรพั ย์สนิ ทางปัญญา ข้อมลู ความรูจ้ ากศาสตรต์ า่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง เพ่ือน�ำ ไปสู่การออกแบบแนวทาง
การแกป้ ัญหา

3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดย • การวเิ คราะห์ เปรียบเทยี บ และตัดสินใจเลอื กข้อมลู ท่ีจ�ำ เป็น โดยค�ำ นงึ ถงึ ทรัพยส์ ิน
วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจ ทางปญั ญา เงอื่ นไขและทรพั ยากร เชน่ งบประมาณ เวลา ขอ้ มูลและสารสนเทศ วสั ดุ
เลือกขอ้ มูลทจี่ �ำ เปน็ ภายใตเ้ งอ่ื นไข เครื่องมอื และอุปกรณ์ ช่วยใหไ้ ด้แนวทางการแก้ปญั หาท่ีเหมาะสม
และทรพั ยากรท่มี ีอยู่ นำ�เสนอ
แนวทางการแก้ปัญหาให้ผ้อู ืน่ • การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาท�ำ ไดห้ ลากหลายวิธี เชน่ การรา่ งภาพ การเขียน
เข้าใจดว้ ยเทคนิคหรือวิธกี ารที่ แผนภาพ การเขียนผงั งาน
หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์
ช่วยในการออกแบบ วางแผน • ซอฟต์แวรช์ ่วยในการออกแบบและน�ำ เสนอมหี ลากหลายชนิดจึงตอ้ งเลอื กใช้ให้เหมาะ
ขนั้ ตอนการทำ�งานและดำ�เนนิ กบั งาน
การแกป้ ญั หา
• การก�ำ หนดขัน้ ตอนและระยะเวลาในการทำ�งานกอ่ นด�ำ เนินการแกป้ ญั หาจะชว่ ย
ใหก้ ารท�ำ งานส�ำ เร็จไดต้ ามเปา้ หมาย และลดขอ้ ผิดพลาดของการทำ�งานท่อี าจเกิดขน้ึ

4. ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์และ • การทดสอบและประเมินผลเปน็ การตรวจสอบชน้ิ งานหรือวิธีการว่าสามารถแก้ปัญหา
ใหเ้ หตผุ ลของปญั หาหรอื ขอ้ บกพรอ่ ง ไดต้ ามวตั ถุประสงค์ภายใต้กรอบของปญั หา เพอื่ หาขอ้ บกพร่อง และดำ�เนนิ การ
ท่ีเกิดขน้ึ ภายใตก้ รอบเงอ่ื นไข ปรบั ปรุง โดยอาจทดสอบซำ้�เพือ่ ให้สามารถแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
หาแนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ข
และนำ�เสนอผลการแก้ปัญหา • การน�ำ เสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคดิ เพ่อื ใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจเกีย่ วกับกระบวนการ
พรอ้ มทง้ั เสนอแนวทางการพฒั นา ท�ำ งานและชนิ้ งานหรอื วิธีการทไี่ ด้ ซึง่ สามารถท�ำ ไดห้ ลายวิธี เชน่ การทำ�แผน่ นำ�เสนอ
ต่อยอด ผลงาน การจัดนทิ รรศการ การน�ำ เสนอผ่านสอ่ื ออนไลน์ หรอื การน�ำ เสนอตอ่ ภาค
ธรุ กิจ เพ่อื การพัฒนาตอ่ ยอดสงู่ านอาชีพ

5. ใช้ความรแู้ ละทกั ษะเกีย่ วกบั วสั ดุ • วสั ดแุ ต่ละประเภทมีสมบตั แิ ตกต่างกนั เชน่ ไม้สงั เคราะห์ โลหะ จึงต้องมกี ารวเิ คราะห์
อปุ กรณ์ เครอื่ งมือ กลไก ไฟฟา้ สมบัติเพอ่ื เลือกใชใ้ ห้เหมาะสมกับลกั ษณะของงาน
และอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยี
ทซ่ี ับซ้อนในการแกป้ ญั หาหรอื • การสร้างช้นิ งานอาจใชค้ วามรู้ เร่อื งกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เชน่ LDR sensor
พฒั นางาน ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม เฟอื ง รอก คาน วงจรส�ำ เรจ็ รปู
และปลอดภยั
• อปุ กรณ์และเคร่อื งมือในการสรา้ งชิน้ งาน หรอื พฒั นาวิธกี ารมีหลายประเภท ตอ้ งเลือก
ใชใ้ ห้ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทัง้ รู้จกั เกบ็ รกั ษา

14 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี คมู่ อื การใชห้ ลกั สตู ร| กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ชัน้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ม.5 1. ประยุกต์ใช้ความรแู้ ละทักษะจาก • การท�ำ โครงงาน เป็นการประยกุ ต์ใช้ความรแู้ ละทกั ษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมทงั้

ศาสตร์ตา่ ง ๆ รวมทั้งทรัพยากร ทรพั ยากร ในการสร้างหรือพฒั นาชนิ้ งานหรือวิธกี าร เพ่ือแก้ปญั หาหรอื อ�ำ นวย

ในการทำ�โครงงานเพ่อื แกป้ ญั หาหรือ ความสะดวกในการทำ�งาน

พัฒนางาน • การท�ำ โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยสี ามารถด�ำ เนินการได้ โดยเร่ิมจาก

การส�ำ รวจสถานการณป์ ญั หาทส่ี นใจ เพอ่ื ก�ำ หนดหัวขอ้ โครงงาน แล้วรวบรวมข้อมูล

และแนวคิดทเ่ี ก่ียวข้องกบั ปัญหา ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา วางแผนและ

ด�ำ เนินการแก้ปญั หา ทดสอบ ประเมนิ ผล ปรับปรุงแก้ไขวิธกี ารแก้ปัญหาหรอื

ช้นิ งาน และน�ำ เสนอวิธกี ารแกป้ ัญหา

ตารางสรุปตวั ชี้วดั และขอบเขตการจดั การเรียนรู้สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)

1. ความรู้และความเข้าใจเก่ยี วกบั เทคโนโลยี (knowledge and understanding)

หวั ขอ้ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5
(เน้นชวี ติ (เน้นชมุ ชน) (เนน้ ชมุ ชนเพื่อ (เนน้ ปญั หาท่ี (เนน้ การท�ำ โครงงาน
ประจ�ำ วนั ) เปิดกว้างในสังคม)
งานอาชพี ) เพ่อื แก้ปญั หา)
วิเคราะหแ์ นวคิดหลกั
ความรู้และ อธบิ ายแนวคดิ หลัก คาดการณแ์ นวโนม้ วิเคราะหส์ าเหตุ ของเทคโนโลยี -
ความเขา้ ใจ ของเทคโนโลยีใน เทคโนโลยที จ่ี ะเกิด หรอื ปัจจยั ท่ีส่งผล ความสมั พันธก์ บั
เก่ยี วกบั ชวี ิตประจ�ำ วันและ ขนึ้ โดยพิจารณา ตอ่ การเปลยี่ นแปลง ศาสตรอ์ ืน่ โดยเฉพาะ
เทคโนโลยี วเิ คราะหส์ าเหตุ จากสาเหตหุ รอื ของเทคโนโลยี และ วทิ ยาศาสตร์ หรอื
หรอื ปจั จัยท่สี ง่ ผล ปัจจัยทสี่ ่งผลตอ่ ความสัมพนั ธ์ของ คณติ ศาสตร์ รวมทั้ง
ตอ่ การเปลี่ยนแปลง การเปลย่ี นแปลง เทคโนโลยกี ับ ประเมนิ ผลกระทบท่ี
ของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยี ศาสตรอ์ นื่ โดย จะเกิดข้ึนต่อมนุษย์
และวเิ คราะห์ เฉพาะวทิ ยาศาสตร์ สงั คม เศรษฐกิจ และ
เปรยี บเทยี บ หรอื คณติ ศาสตร์ สิง่ แวดลอ้ ม เพอื่ เปน็
ตดั สินใจเลอื กใช้ เพือ่ เปน็ แนวทาง แนวทางในการพัฒนา
เทคโนโลยี โดย การแก้ปัญหาหรือ เทคโนโลยี
ค�ำ นงึ ถงึ ผล พฒั นางาน
กระทบทเ่ี กดิ ขึน้
ต่อชวี ติ สังคม และ
สิง่ แวดลอ้ ม

ค่มู ือการใชห้ ลักสตู ร | กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 15

2. กระบวนการออกแบบ (design process)

หัวขอ้ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5
(เน้นชีวิต (เน้นชุมชน) (เนน้ ชุมชนเพอื่ งาน (เน้นปัญหาท่ี (เนน้ การทำ�
ประจ�ำ วนั ) เปดิ กว้างในสงั คม) โครงงานเพอ่ื
อาชพี ) แก้ปญั หา)

2.1 ระบุ ระบุปัญหาหรือ ระบุปัญหาหรือความ ระบุปัญหาหรือความ ระบปุ ัญหาหรอื ความ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้
ปญั หา และ ความต้องการใน ต้องการในชุมชนหรอื ต้องการของชุมชน ตอ้ งการท่ีมผี ลกระทบ และทักษะจาก
รวบรวมขอ้ มลู ชีวติ ประจำ�วัน ท้องถ่ิน สรุปกรอบของ หรอื ทอ้ งถนิ่ เพอื่ ตอ่ สังคม รวบรวม ศาสตรต์ ่าง ๆ
และแนวคิดที่ รวบรวม วิเคราะห์ ปญั หา รวบรวม พฒั นางานอาชพี วิเคราะหข์ อ้ มลู และ รวมทง้ั ทรพั ยากร
เกี่ยวข้องกบั ขอ้ มูลและแนวคิด วเิ คราะหข์ ้อมูลและ สรุปกรอบของปัญหา แนวคดิ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ในการท�ำ
ปัญหา ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั แนวคิดท่เี กยี่ วข้องกับ รวบรวม วิเคราะห์ ปญั หาทม่ี ีความซบั ซ้อน โครงงาน
ปญั หา ปญั หา ข้อมูลและแนวคิดที่ เพ่ือสงั เคราะหว์ ิธกี าร เพอ่ื แกป้ ญั หา
เกี่ยวขอ้ งกบั ปัญหา เทคนิคในการแกป้ ัญหา หรือพัฒนางาน
โดยค�ำ นึงถึงความ โดยค�ำ นงึ ถงึ
ถกู ต้องดา้ นทรพั ยส์ ิน ความถูกต้องด้าน
ทางปัญญา ทรพั ย์สินทางปญั ญา

2.2 ออกแบบ ออกแบบวธิ กี าร ออกแบบวิธกี ารแก้ ออกแบบวธิ กี ารแก้ ออกแบบวิธีการ
วธิ กี ารแกป้ ญั หา แกป้ ัญหา โดย ปัญหา โดยวิเคราะห์ ปญั หา โดยวเิ คราะห์ แกป้ ัญหา โดยวเิ คราะห์
วางแผนและ วเิ คราะหเ์ ปรียบ เปรียบเทยี บ และ เปรียบเทยี บ และ เปรยี บเทียบ และ
ด�ำ เนินการ เทียบ และตัดสนิ ตัดสินใจเลือกข้อมูล ตดั สินใจเลือกข้อมลู ตัดสินใจเลือกขอ้ มลู
แกป้ ญั หา ใจเลอื กข้อมูลที่ ท่จี ำ�เป็นภายใต้เงื่อนไข ทจ่ี �ำ เปน็ ภายใตเ้ งอ่ื นไข ท่จี ำ�เป็นภายใตเ้ ง่อื นไข
จำ�เป็น น�ำ เสนอ และทรัพยากรทม่ี ีอยู่ และทรพั ยากรท่มี ีอยู่ และทรพั ยากรทมี่ ีอยู่
แนวทางการ นำ�เสนอแนวทางการ นำ�เสนอแนวทางการ น�ำ เสนอแนวทางการ
แก้ปัญหาใหผ้ ้อู ืน่ แกป้ ญั หาให้ผอู้ นื่ เขา้ ใจ แก้ปญั หาใหผ้ อู้ นื่ แก้ปญั หาใหผ้ ูอ้ น่ื เขา้ ใจ
เขา้ ใจ วางแผน วางแผนขนั้ ตอนการ เข้าใจด้วยเทคนิคหรอื ด้วยเทคนคิ หรือวิธกี าร
และด�ำ เนนิ การ ทำ�งานและด�ำ เนนิ การ วิธีการทหี่ ลากหลาย ท่หี ลากหลาย โดยใช้
แกป้ ญั หา แก้ปญั หาอยา่ งเปน็ วางแผนขน้ั ตอนการ ซอฟตแ์ วรช์ ว่ ยในการ
ข้ันตอน ท�ำ งานและด�ำ เนนิ การ ออกแบบ วางแผน
แกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ขั้นตอนการท�ำ งานและ
ขน้ั ตอน ด�ำ เนินการแก้ปญั หา

2.3 ทดสอบ ทดสอบ ประเมนิ ผล ทดสอบ ประเมินผล ทดสอบ ประเมนิ ผล ทดสอบ ประเมนิ ผล
ประเมนิ ผล และระบุ และอธบิ ายปัญหาหรือ วเิ คราะหแ์ ละให้ วิเคราะหแ์ ละใหเ้ หตผุ ล
และปรับปรุง ข้อบกพรอ่ ง ขอ้ บกพร่องที่เกิดขนึ้ เหตุผลของปัญหาหรอื ของปญั หาหรือ
แกไ้ ขวธิ ีการ ท่เี กดิ ขึ้น พรอ้ มท้งั ภายใต้กรอบเงื่อนไข ข้อบกพร่องท่เี กิดข้นึ ข้อบกพร่องท่เี กิดขนึ้
แก้ปญั หาหรอื หาแนวทาง พรอ้ มทั้งหาแนวทาง ภายใตก้ รอบเง่อื นไข ภายใตก้ รอบเงอื่ นไข
ชิน้ งาน และ การปรับปรุงแก้ไข การปรับปรุงแกไ้ ข พรอ้ มทั้งหาแนวทาง หาแนวทางการปรบั ปรงุ
น�ำ เสนอวธิ ีการ และนำ�เสนอผล และน�ำ เสนอผล การปรับปรุงแก้ไข แกไ้ ข และนำ�เสนอ
แกป้ ัญหา การแกป้ ญั หา การแก้ปัญหา และนำ�เสนอผล ผลการแกป้ ัญหา
ผลการแกป้ ญั หา การแกป้ ัญหา พร้อมท้งั เสนอแนวทาง
หรือชน้ิ งาน การพัฒนาต่อยอด

16 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี คมู่ อื การใชห้ ลักสตู ร| กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

3. ความรู้และทักษะพน้ื ฐานเฉพาะดา้ น (basic technical knowledge and skills)

หัวข้อ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5
(เน้นชวี ติ (เน้นชมุ ชน) (เน้นชมุ ชนเพ่ือ (เนน้ ปญั หาท่ี (เนน้ การท�ำ โครงงาน
ประจำ�วนั ) เปิดกวา้ งในสังคม)
งานอาชพี ) เพอื่ แกป้ ญั หา)

วัสดุ อุปกรณ์ ใช้ความรแู้ ละทักษะ ใช้ความรู้และ ใชค้ วามรู้และทักษะ ใช้ความรแู้ ละทกั ษะ
และเครือ่ งมอื เก่ียวกบั วัสดุ ทักษะเก่ียวกบั เก่ียวกับวัสดุ เก่ียวกบั วัสดุ อุปกรณ์
กลไก ไฟฟา้ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือ วสั ดุ อปุ กรณ์ อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื เคร่อื งมือ กลไก ไฟฟา้
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กลไก ไฟฟา้ หรือ เครอื่ งมือ กลไก กลไก ไฟฟ้าและ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์
อิเล็กทรอนกิ ส์เพอื่ ไฟฟ้า และ อิเลก็ ทรอนกิ สใ์ ห้ถูก และเทคโนโลยที ี่
แก้ปัญหาได้อยา่ ง อิเล็กทรอนิกส์ ตอ้ งกบั ลกั ษณะของ ซับซ้อนในการ
ถกู ต้อง เหมาะสม เพอื่ แกป้ ญั หาหรอื งาน และปลอดภยั แก้ปัญหาหรอื
และปลอดภยั พัฒนางานได้ เพอ่ื แกป้ ัญหาหรือ พฒั นางาน ไดอ้ ย่าง
อย่างถกู ต้อง พฒั นางาน ถกู ตอ้ ง เหมาะสม
เหมาะสม และ และปลอดภัย
ปลอดภยั

7. ทกั ษะสำ�คัญของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

การจัดการเรียนรู้สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เพื่อพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในการแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางานอย่างสร้างสรรค์ ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทักษะและกระบวนการท่ีจำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิตผ่านการจัดการเรียนรู้ที่
เนน้ การลงมอื ปฏิบตั ิ ซ่ึงทกั ษะและกระบวนการส�ำ คญั ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ไดแ้ ก่

1) กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เปน็ กระบวนการแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางาน ประกอบไปดว้ ย ขน้ั ตอนดงั น้ี

ขั้นระบุปัญหา (problem identification) เป็นการทำ�ความเข้าใจปัญหาหรือความต้องการ วิเคราะห์เงื่อนไขหรือ
ข้อจ�ำ กัดของสถานการณ์ปญั หา เพ่ือกำ�หนดขอบเขตของปัญหา ซงึ่ จะนำ�ไปสู่การสร้างชน้ิ งานหรอื พฒั นาวธิ กี ารในการแก้ปญั หา
ขน้ั รวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หา (related information search) เปน็ การรวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ
ทางวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี หรอื ศาสตรอ์ น่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั แนวทางการแกป้ ญั หา เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารออกแบบแนวทาง
การแกป้ ญั หา
ขั้นออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (solution design) เป็นการนำ�ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือก
ข้อมูลที่จำ�เป็นสำ�หรับการแก้ปัญหา โดยคำ�นึงถึงเงื่อนไขหรือทรัพยากรท่ีมีอยู่ แล้วออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา โดยอาจ
รา่ งภาพ เขยี นเป็นแผนภาพ หรอื ผังงาน
ข้นั วางแผนและด�ำ เนินการแก้ปัญหา (planning and development) เป็นการก�ำ หนดลำ�ดบั ขัน้ ตอนของการแก้ปัญหา
และเวลาในการด�ำ เนินงานแตล่ ะขน้ั ตอน แล้วลงมือแก้ปัญหาตามที่ออกแบบและวางแผนไว้
ขน้ั ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แกไ้ ขวธิ กี ารแกป้ ญั หาหรอื ชน้ิ งาน (testing, evaluation and design improvement)
เปน็ การทดสอบและประเมนิ การท�ำ งานของช้ินงานหรอื วิธีการ โดยผลท่ไี ด้อาจนำ�มาใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนาการแกป้ ญั หา
ให้มีประสทิ ธภิ าพมากข้นึ
ขั้นนำ�เสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือช้ินงาน (presentation) เป็นการนำ�เสนอแนวคิดและขั้นตอน
การสร้างช้นิ งานหรอื การพฒั นาวธิ กี ารใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจ

คมู่ อื การใชห้ ลักสูตร | กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 17

ทงั้ นใี้ นการแกป้ ญั หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมนนั้ ไมไ่ ดม้ ลี �ำ ดบั ขนั้ ตอนทแี่ นน่ อนโดยขนั้ ตอนทง้ั หมดสามารถ
ย้อนกลบั ไปมาได้ และอาจมกี ารทำ�งานซ้ำ� (iterative cycle) ในบางขั้นตอนหากตอ้ งการพฒั นาหรือปรบั ปรงุ ให้ดีข้ึน

2) การคดิ เชงิ ระบบ เปน็ การคิดถงึ ส่งิ หน่งึ ส่งิ ใดที่มองภาพรวมเปน็ ระบบ โดยมหี ลกั การและเหตุผล มีการจัดระเบียบข้อมลู

หรือความสมั พนั ธข์ ององค์ประกอบตา่ ง ๆ ให้เปน็ แบบแผนหรอื กระบวนการทชี่ ัดเจน

3) ความคิดสร้างสรรค์ ใช้เทคนิคในการสร้างสรรค์มุมมองอย่างหลากหลายและแปลกใหม่ ซ่ึงอาจจะพัฒนาจากของเดิม

หรือคิดใหม่ วิเคราะห์และประเมินแนวคิดเพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้ได้มากท่ีสุด นำ�ไปสู่การลงมือปฏิบัติตาม
ความคิดสรา้ งสรรค์ให้ได้ผลส�ำ เร็จท่ีเป็นรูปธรรม ความคิดสร้างสรรค์ประกอบดว้ ย 4 ลกั ษณะ คอื
(1) ความคดิ รเิ รม่ิ เปน็ ความสามารถในการคดิ ทแ่ี ปลกใหม่ แตกตา่ งจากความคดิ เดมิ ประยกุ ตใ์ หเ้ กดิ สง่ิ ใหม่ ไมซ่ �ำ้ กบั ของเดมิ
(2) ความคดิ คลอ่ ง เป็นความสามารถในการคิดหาคำ�ตอบไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว รวดเร็ว และมีปริมาณมากในเวลาจำ�กัด
(3) ความคิดยืดหยุ่น เป็นความสามารถในการคิดหาคำ�ตอบได้หลายประเภทและหลายทิศทาง ดัดแปลงจากส่ิงหนึ่ง
ไปเปน็ หลายสิ่งได้
(4) ความคิดละเอียดลออ เป็นความสามารถในการคิดรายละเอียดหรือขยายความคิดหลักให้สมบูรณ์ และรวมถึงการ
เชื่อมโยงความสมั พันธข์ องสิ่งตา่ ง ๆ อยา่ งมีความหมาย

4) การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ เป็นการคิดโดยใช้เหตผุ ลทห่ี ลากหลายเหมาะสมกับสถานการณ์ มกี ารวเิ คราะหแ์ ละประเมิน

หลักฐานและข้อคิดเห็นด้วยมุมมองที่หลากหลาย สังเคราะห์ แปลความหมาย และลงข้อสรุปได้อย่างสมเหตุสมผล รวมทั้ง
สะทอ้ นความคดิ โดยใช้ประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้

5) การสอ่ื สาร เป็นการเรียบเรียงความคิดและส่ือสารแนวคิดในการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจอย่างชัดเจน สามารถใช้วิธีการ

สือ่ สารเพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายไดห้ ลายรปู แบบ เช่น การพดู การเขียนบรรยาย การร่างภาพ และการใช้สื่อมลั ติมีเดยี

6) การท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื เป็นความสามารถในการทำ�งานร่วมกับผู้อื่น มีความยืดหยุ่น มีความรับผิดชอบร่วมกัน เคารพ

ในความคดิ เห็นคณุ คา่ และเขา้ ใจบทบาทของผูอ้ ่ืน เพือ่ ทำ�งานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกนั

8. การวางแผนการจดั การเรยี นรู้

การวางแผนการจดั การเรียนรู้เปน็ ขัน้ ตอนการวิเคราะหต์ ัวชี้วดั ซงึ่ ก�ำ หนดไวใ้ นหลกั สตู ร ไปสู่หนว่ ยการเรยี นรู้ และแผนการ
จัดการเรยี นรู้ ดงั นี้

1) การวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าตอ้ งการให้

ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรตู้ ามสาระการเรยี นรใู้ ด แลว้ ก�ำ หนดเปน็ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทกั ษะและกระบวนการทเ่ี ปน็ จดุ เนน้
2) การก�ำ หนดรปู แบบการจดั การเรยี นรู้ เป็นการพิจารณาแนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ ทักษะ
และกระบวนการ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนบรรลจุ ุดประสงค์การเรยี นรู้ โดยประกอบด้วยองคป์ ระกอบหลัก ๆ ไดแ้ ก่
กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นการกำ�หนดส่ิงที่ผู้เรียนต้องทำ�เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์ที่กำ�หนด โดยควรเขียนเป็นลำ�ดับ
ข้ันตอนอย่างชัดเจน เพื่อลำ�ดับวิธีการจัดการเรียนรู้ให้มองเห็นภาพต่อเนื่องว่าผู้เรียนต้องทำ�ส่ิงใดก่อนหลัง และมีกระบวนการ
อยา่ งไรบา้ ง หากสามารถระบถุ งึ บทบาทของผสู้ อนและผเู้ รยี นไดว้ า่ มสี ว่ นสนบั สนนุ การจดั การเรยี นรกู้ นั ไดอ้ ยา่ งไรจะท�ำ ใหก้ จิ กรรม
การเรียนรูม้ ีความหมายชัดเจนยิง่ ขน้ึ
สื่อการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือสำ�คัญยิ่งสำ�หรับการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยเช่ือมโยงความรู้จากผู้สอนไปถึงผ้เู รียนได้ดีย่งิ ข้นึ
ซึ่งบางคร้ังเน้ือหาอยู่ในรูปที่เป็นนามธรรม ส่ือการเรียนรู้จะช่วยทำ�ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเป็นรูปธรรมมากขึ้น
ซง่ึ สอ่ื การเรยี นรมู้ หี ลากหลายประเภท ผสู้ อนตอ้ งผลติ หรอื เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั การเรยี นรู้
3) การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ เป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์ของการเรียนรู้ รวมทั้งทักษะและ
กระบวนการที่กำ�หนดไว้หรือไม่ เครื่องมือท่ีใช้ในการวัดและประเมินผลมีหลายรูปแบบ การเลือกใช้จึงต้องพิจารณาถึง
จุดประสงคก์ ารเรียนรูแ้ ละกจิ กรรมการเรียนรู้เปน็ สำ�คัญ

18 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี คมู่ อื การใช้หลกั สูตร| กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

9. สือ่ และแหล่งเรียนรู้

ในการจัดการเรียนรู้สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ผู้เรียนและผู้สอนสามารถศึกษาหรือเรียนรู้ได้จาก
แหล่งเรียนรู้ท่ีมีอยู่ได้นอกจากหนังสือเรียนและคู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
โดยอาจใช้แหล่งเรยี นร้อู ื่นเพม่ิ เติมได้ เชน่
1) ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่มีอยู่ในพ้ืนท่ี หรือปราชญ์ชาวบ้านท่ีมีประสบการณ์ บุคคลท่ีประสบความสำ�เร็จในงานต่าง ๆ
ที่เกยี่ วข้องกบั เน้อื หาบทเรียน สามารถเปน็ ผูใ้ หค้ วามรูก้ บั ผูเ้ รียนได้ โดยผู้สอนอาจใช้วธิ กี ารเชิญวทิ ยากรมาใหค้ วามรู้ในโรงเรียน
หรืออาจพาผู้เรียนไปศึกษาดูงานในพื้นท่ีจริงได้ ทั้งน้ี ผู้สอนควรให้ประเด็นกับผู้เรียนเก่ียวกับสิ่งที่ต้องบันทึกหรือศึกษาระหว่าง
การศกึ ษาดงู านแล้วนำ�มาสรปุ อภิปรายขอ้ คดิ ท่ไี ดร้ ะหวา่ งเพอื่ นสมาชิกในช้ันเรียนและผสู้ อน
2) แหล่งวิทยาการ ได้แก่ สถาบัน องค์กร หน่วยงาน ห้องสมุด ศูนย์วิชาการท้ังจากภาครัฐและเอกชนซ่ึงให้บริการความรู้
ในเร่ืองต่าง ๆ โดยผู้สอนอาจมอบหมายให้ผู้เรียนไปศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อท่ีกำ�ลังเรียนรู้แล้วทำ�สรุปรายงาน
เพอ่ื นำ�เสนอในช้นั เรียน
3) สถานประกอบการ สถานประกอบวชิ าชพี อสิ ระ โรงงานอตุ สาหกรรม หน่วยวิจัยในทอ้ งถิ่น ซึง่ ใหบ้ ริการความรู้ ฝึกอบรม
เก่ยี วกบั งาน และวชิ าชพี ต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ นชมุ ชนหรอื ทอ้ งถิ่น โดยผสู้ อนสามารถพาผูเ้ รียนไปศึกษาดงู านในแหลง่ ตา่ ง ๆ เพ่ือใหเ้ กิด
ประสบการณ์จริง สามารถเห็นความเช่ือมโยงระหว่างสิ่งที่ได้เรียนรู้ในช้ันเรียนกับบริบทของชีวิตจริง และยังช่วยเปิดโอกาสให้
ผู้เรียนได้ศึกษาสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนในสถานการณ์จริง ซ่ึงอาจเป็นจุดเร่ิมต้นของการนำ�มาซ่ึงการพัฒนาหรือสร้างแนวทาง
การแกป้ ญั หาด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมไดอ้ ีกดว้ ย
4) ส่ือส่งิ พิมพต์ า่ ง ๆ เชน่ แผ่นพับ วารสาร หนงั สอื อา้ งองิ หนงั สือพิมพ์ สื่อเหล่าน้ีเปน็ สงิ่ ส�ำ คญั ท่สี ามารถจดั หาได้งา่ ยเพือ่ ให้
ผู้สอนสามารถนำ�มาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง หรืออาจเป็นสถานการณ์ปัญหาจากข่าวในหนังสือพิมพ์เพ่ือให้ผู้เรียนใช้เป็นโจทย์
สถานการณป์ ญั หาในการท�ำ กจิ กรรมการเรยี นร้ไู ด้
5) สื่อดิจิทัล ในเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั้งจากในและต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นแนวทางที่สำ�คัญในการใช้ประกอบการสืบค้นข้อมูล
ในสังคมปัจจุบันท่ีมีส่ือต่าง ๆ จากเว็บไซต์จำ�นวนมาก โดยมีท้ังในรูปแบบของข้อความ รูปภาพ หรือวิดีโอ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจ
ได้งา่ ยขึน้ อย่างไรก็ตามการเลือกใชแ้ หลง่ ข้อมลู ท่นี ่าเชอ่ื ถอื การรจู้ ักคิดวเิ คราะห์ และการมวี จิ ารณญาณในการเลอื กใช้ รวมท้งั
ต้องรู้จักการอ้างอิงข้อมูลที่ได้มา ซึ่งเป็นส่ิงสำ�คัญท่ีผู้สอนต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้เรียนในการเคารพสิทธิของผู้อื่น เช่น
แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ของ สสวท. http://learningspace.ipst.ac.th/ แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ของสำ�นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) http://www.dlit.ac.th/pages/classroom.php หรือแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ของสำ�นักงาน
คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา (สกอ.) http://www.thaiteachers.tv/

คู่มือการใชห้ ลักสตู ร | กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 19

10. การจดั การเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้ที่สามารถสะท้อนหลักสูตร และพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามท่ีหลักสูตรกำ�หนดควรเป็นกระบวนการ
เรียนรู้เชิงรุก (active learning) โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและเป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมการเรียนรู้โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน
มีโอกาสศึกษาด้วยตนเองโดยเลือก ตัดสินใจ ลงมือปฏิบัติ เพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง แก้ปัญหาในชีวิตจริงผ่านการวางแผน
ออกแบบ ประเมินผล และนำ�เสนอผลงานร่วมกันเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการโดยสร้างชิ้นงานหรือ
วิธกี ารอย่างสร้างสรรค์ (Prince, 2004 ; Bonwell, 1991) ผู้สอนจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลกั การ แนวคดิ และจดุ เนน้
ท่เี กีย่ วข้องกบั แนวทางการจัดการเรียนรู้ของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ตวั อย่างแนวทางในการจัดการเรยี น
รู้ เพ่ือให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เชิงรกุ ไดแ้ ก่
การจัดการเรียนร้โู ดยมีกิจกรรมเปน็ ฐาน (activity-based learning) เปน็ การเรียนรตู้ า่ ง ๆ ท่ีใหผ้ ูเ้ รยี นลงมือปฏิบตั ิจริง
ผ่านกิจกรรมและมีบทบาทในการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง โดยเน้นให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ และเรียนรู้จากกิจกรรมท่ีได้
ทำ�จริง และเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นมีสว่ นร่วมในการสร้างองคค์ วามรู้ การสร้างปฏิสมั พนั ธ์และการรว่ มมือกัน
การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (problem-based learning) เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเริ่มต้นจาก
ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยสร้างความรู้จากกระบวนการทำ�งานกลุ่ม เพ่ือแก้ปัญหาหรือสถานการณ์เกี่ยวกับชีวิตประจำ�วันและมีความ
สำ�คัญต่อผู้เรียน โดยปัญหาจะเป็นจุดตั้งต้นของกระบวนการเรียนรู้และกระตุ้นการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลและ
การสบื คน้ หาขอ้ มลู เพอ่ื เขา้ ใจปญั หา วธิ กี ารแกป้ ญั หา ซง่ึ การเรยี นรแู้ บบนม้ี งุ่ เนน้ พฒั นาผเู้ รยี นในดา้ นทกั ษะและกระบวนการเรยี นรู้
และพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้โดยการช้ีนำ�ตนเอง ฝึกฝนการสร้างองค์ความรู้โดยผ่านกระบวนการคิดด้วยการแก้ปัญหา
อย่างมีความหมาย โดยสำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2550) ได้กล่าวถึงลักษณะสำ�คัญของการ
จัดการเรยี นรแู้ บบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน สรุปได้ ดังน้ี
* มีสถานการณ์ท่ีเป็นปัญหาและเร่ิมต้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยการใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดกระบวนการ
เรียนรู้
* ใชป้ ญั หาท่ีพบเหน็ ได้ในชวี ิตจรงิ ของผู้เรยี นหรอื มีโอกาสทจี่ ะเกิดขึน้ ไดจ้ ริง
* ผเู้ รียนได้เรียนร้โู ดยการนำ�ตนเอง (self-directed learning) แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง ดงั น้ัน ผูเ้ รยี นจงึ ต้องวางแผน
การเรียนด้วยตนเอง บริหารเวลาเอง คัดเลือกวิธีการเรียนรู้ และประสบการณ์การเรียนรู้ รวมท้ังประเมินผลการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง
* เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มย่อย เพื่อประโยชน์ในการค้นหาความรู้ ข้อมูลร่วมกัน เป็นการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วย
เหตแุ ละผล ฝึกการทำ�งานรว่ มกับผอู้ ่นื ความรู้ท่ไี ด้มีความหลากหลายโดยมาจากการวเิ คราะหข์ องผ้เู รยี น
* มกี ารบรู ณาการความรู้และบรู ณาการทักษะกระบวนการตา่ ง ๆ เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นไดร้ ับความรแู้ ละคำ�ตอบทีก่ ระจ่างชดั
* การประเมนิ ผลจะเนน้ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ โดยพจิ ารณาจากความกา้ วหนา้ ในการปฏบิ ตั งิ านของผเู้ รยี น
การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (project-based learning) เป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะ
ของการศึกษา สำ�รวจ คน้ ควา้ ทดลอง ประดิษฐค์ ิดค้นโดยมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ คอื ผสู้ อนกำ�หนดขอบเขตของโครงงาน
อย่างกว้าง ๆ ให้สอดคล้องกับรายวิชา สภาพปัญหาหรือความถนดั ของผู้เรยี น และใหผ้ เู้ รียนออกแบบโครงงานร่วมกนั เพอื่ น�ำ ไป
สู่การเขียนเค้าโครงและลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ในเค้าโครง ผู้เรียนสรุปผ่านการเขียนรายงานและมีการประเมินโครงงาน
(MacDonell, 2007)
จะเห็นว่า การจัดการเรียนรู้สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) จะให้ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการทำ�งานอย่าง
เป็นระบบผ่านกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ผ่านการคิดวิเคราะห์ ลงมือแก้ปัญหาจากสถานการณ์ปัญหาที่เช่ือมโยงกับ
ชีวิตจริง (real-world problems) ผู้เรียนต้องฝึกการท�ำ งานเพ่ือแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมตามเงื่อนไข ทรัพยากรที่มีด้วยวิธี
การทห่ี ลากหลาย

20 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี คู่มือการใช้หลกั สูตร| กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินผลของสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) มุ่งเน้นที่การประเมินตามสภาพจริง
(authentic assessment) โดยวัดและประเมินผล 3 ด้าน คือ ความสามารถด้านสติปัญญา ความสามารถด้านทักษะปฏิบัติ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยการประเมินตามสภาพจริงในสาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ผู้สอนสามารถ
ประเมินจากผลงานหรือการทำ�งานของผู้เรียนเป็นหลัก ผ่านกระบวนการสังเกต บันทึก หรือตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกับชิ้นงาน
และวิธกี ารของผูเ้ รียน เพ่อื ให้ได้ข้อมูลเชิงคุณภาพที่มีความต่อเนื่อง โดยลกั ษณะสำ�คญั ของการประเมินจากสภาพจริง มีดังน้ี
1) การประเมินต้องผสมผสานไปกับการจัดการเรียนรู้และต้องประเมินอย่างต่อเน่ือง โดยใช้วิธีประเมินหลาย ๆ วิธี
ท่ีครอบคลุมพฤติกรรมหลาย ๆ ด้านในสถานการณ์ท่แี ตกต่างกนั
2) ให้ความสำ�คัญกับการประเมินกระบวนการคิดที่ซับซ้อน ความสามารถในการปฏิบัติงาน ศักยภาพของผู้เรียนในแง่ของ
ผผู้ ลติ และกระบวนการทีไ่ ด้ผลผลิตมากกวา่ ทีจ่ ะประเมินวา่ ผู้เรยี นสามารถจดจ�ำ ความร้อู ะไรไดบ้ า้ ง
3) มุ่งเน้นศักยภาพโดยรวมของผู้เรียนท้ังด้านความรู้พ้ืนฐาน ความคิดระดับสูง ความสามารถในการแก้ปัญหา การส่ือสาร
เจตคติ ลักษณะนิสัย ทักษะในด้านตา่ ง ๆ และความสามารถในการทำ�งานรว่ มกบั ผอู้ นื่
4) ให้ความส�ำ คัญตอ่ พัฒนาการของผูเ้ รียน ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินหลาย ๆ ด้าน และหลากหลายวธิ สี ามารถนำ�มาใชใ้ น
การวินิจฉัยจุดเด่นของผู้เรียนท่ีควรจะให้การส่งเสริม และวินิจฉัยจุดด้อยท่ีจะต้องให้ความช่วยเหลือหรือแก้ไข เพ่ือให้ผู้เรียนได้
พฒั นาเต็มตามศักยภาพ ตามความสนใจ และความสามารถของแต่ละบคุ คล
5) ข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการจัดการเรียนรู้ และการวางแผนการสอนของผู้สอนว่าเป็นไป
ตามจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนหรือไม่ ผู้สอนสามารถนำ�ข้อมูลจากการประเมินมาปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้
กจิ กรรมและตัวแปรอ่ืน ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งให้เหมาะสมต่อไป ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นรจู้ กั ตวั เอง เชอ่ื มน่ั
ในตนเองและสามารถพฒั นาตนเองได้
6) ทำ�ให้การจัดการเรียนรู้มีความหมาย และเพ่ิมความเชื่อม่ันได้ว่าผู้เรียนสามารถถ่ายโอนการเรียนรู้ไปสู่การดำ�รงชีวิต
ในสงั คมได้

ทง้ั นผ้ี สู้ อนสามารถเลอื กใชว้ ธิ กี ารหรอื เครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผลทห่ี ลากหลาย โดยตอ้ งมคี วามสอดคลอ้ งและความเหมาะสม
กับจดุ ประสงค์และกจิ กรรมการเรยี นรู้ ซ่งึ วธิ ีการหรือเคร่อื งมอื วัดทีส่ ามารถนำ�มาใช้ เชน่
1) การเขียนสะท้อนการเรียนรู้ เป็นวิธีการประเมินด้วยการเขียนตอบตามประเด็นคำ�ถามที่ผู้สอนกำ�หนด เพื่อตรวจสอบ
ความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการ ซึ่งสามารถประเมินได้ทั้งระหว่างเรียนและหลังเรียน ค�ำ ตอบของผเู้ รยี นจะสะทอ้ นถงึ
ความเขา้ ใจ ความกา้ วหนา้ ในผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น เครอ่ื งมอื ทน่ี ยิ มใช้ คอื แบบบันทกึ การเรียนรู้ แบบสะทอ้ นการเรียนรู้
2) การทดสอบ เป็นวิธีการประเมินความรู้ความเข้าใจและทักษะของผู้เรียน ซึ่งผู้สอนควรเลือกใช้เคร่ืองมือทดสอบให้ตรง
ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการวัดและประเมนิ ผลน้ัน ๆ และตอ้ งมีคุณภาพ มีความเทย่ี งตรง (validity) และเชือ่ ม่ันได้ (reliability)
เครือ่ งมือทีน่ ิยมใช้ คือ แบบทดสอบชนิดตา่ ง ๆ
3) แฟ้มสะสมงาน เปน็ วธิ ีการประเมนิ ดว้ ยการรวบรวมผลงานและหลกั ฐานการเรียนรูท้ ีแ่ สดงถึงความร้คู วามสามารถ ทักษะ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์และพัฒนาการของผู้เรียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อใช้ในการประเมินความสามารถของผู้เรียนในด้าน
ตา่ ง ๆ ผ้สู อนจะเลอื กผลงานและหลักฐานชิ้นใดทร่ี วบรวมอยู่ในแฟ้มมาประเมินกย็ อ่ มขึน้ อยู่กับวตั ถุประสงคใ์ นการประเมิน เช่น
หากต้องการประเมินความสามารถของผู้เรียนควรเลือกผลงานหรือชิ้นงานท่ีดีที่สุดของผู้เรียนมาประเมิน หากต้องการประเมิน
พัฒนาการทางการเรียนควรเลือกตัวแทนผลงานในแต่ละช่วงมาประเมิน หากต้องการประเมินกระบวนการทำ�งานและการแก้
ปัญหาควรนำ�บนั ทกึ การทำ�งานของผู้เรียนมาประเมนิ

ค่มู อื การใช้หลกั สตู ร | กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 21

4) ผลการปฏิบัติงาน เป็นวิธีการประเมินงานหรือกิจกรรมที่ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติงานเพ่ือให้ทราบถึงผล
การพัฒนาของผ้เู รียน ซ่งึ ผ้สู อนต้องเตรียมการประเมิน 2 ส่วน คือ ภาระงานหรือช้นิ งาน และกระบวนการท�ำ งาน และเกณฑ์
การใหค้ ะแนนการปฏบิ ตั ซิ ง่ึ จะปรบั เปลยี่ นไปตามภาระงานหรือช้ินงาน เครอื่ งมือทีน่ ยิ มใช้ คอื แบบมาตรประมาณค่า และแบบ
บันทกึ การปฏิบตั ิงาน
5) การสงั เกตพฤติกรรม เปน็ วธิ กี ารประเมนิ จากการสงั เกตพฤตกิ รรมต่าง ๆ ของผู้เรียนระหว่างการท�ำ กจิ กรรม เพอ่ื ประเมิน
ท้ังด้านทกั ษะการท�ำ งาน และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เครอ่ื งมือวดั ท่นี ยิ มใช้ เชน่ แบบบันทกึ พฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม
และแบบตรวจสอบรายการ (check list)
6) การสัมภาษณ์ เป็นวิธีการประเมินด้วยการพูดคุย การซักถามตามประเด็นการประเมินท่ีเตรียมการไว้ล่วงหน้า ซ่ึงการ
สัมภาษณ์สามารถกระทำ�ได้ 2 ลักษณะ คือ การสัมภาษณ์อย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ เคร่ืองมือวัดท่ีนิยมใช้ คือ
แบบสัมภาษณแ์ บบมโี ครงสรา้ ง แบบกงึ่ โครงสรา้ ง และแบบไม่มโี ครงสรา้ ง



µÇÑ ÍÂÒ‹ § ˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹ÌÙ

ªÑ้¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»·‚ ่Õ 1

ตารางการวเิ คราะห์การจดั ท�ำ หน่วยการเรียนรู้ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
24 ตัวอย่างหน่วยการเรยี นรู้ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1
หนว่ ยการ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จ�ำ นวน แนวทางการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
เรยี นรู้ ชวั่ โมง
อธบิ ายแนวคดิ หลักของ
1. เทคโนโลยี เทคโนโลยใี นชวี ติ ประจ�ำ วนั 1. เทคโนโลยี เป็นสงิ่ ทมี่ นุษยส์ รา้ งหรือ 6 กจิ กรรม เทคโนโลยรี อบตวั 1. การยกตวั อย่างและอธิบาย
รอบตัว และวิเคราะหส์ าเหตหุ รือ
ปัจจัยทีส่ ่งผลตอ่ พฒั นาข้นึ ซึง่ อาจเปน็ ไดท้ ั้งช้นิ งานหรือ ภาระงาน: ความหมายของเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยี วิธีการ เพ่ือใช้แกป้ ญั หา สนองความ 1. ยกตัวอย่างและอธบิ ายความหมายของ 2. การอธบิ ายองคป์ ระกอบและ

ตอ้ งการ หรือเพ่มิ ความสามารถ เทคโนโลยี การท�ำ งานของระบบทาง

ในการทำ�งานของมนษุ ย์ 2. อธิบายองค์ประกอบและการทำ�งานของ เทคโนโลยี

2. ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของ ระบบทางเทคโนโลยี 3. การวิเคราะหร์ ะบบทาง

ส่วนต่าง ๆ ต้ังแตส่ องสว่ นขน้ึ ไปประกอบ 3. วิเคราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยีของชิ้นงาน เทคโนโลยขี องชิน้ งานหรอื

เขา้ ด้วยกนั และทำ�งานร่วมกนั เพ่ือให้ หรือวธิ ีการในชีวิตประจ�ำ วนั ทสี่ นใจ วธิ กี ารในชีวติ ประจำ�วันที่สนใจ

บรรลุวัตถปุ ระสงค์ โดยในการทำ�งานของ 4. วเิ คราะหส์ าเหตหุ รือปจั จัยท่สี ง่ ผลตอ่ 4. การวเิ คราะห์สาเหตหุ รอื ปัจจัย

ระบบทางเทคโนโลยจี ะประกอบ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ท่ีสง่ ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของ

ไปด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ เทคโนโลยี

(process) และผลผลติ (output) คมู่ ือการใชห้ ลกั สตู ร| กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ทส่ี ัมพันธก์ ัน นอกจากนี้ระบบทาง

เทคโนโลยอี าจมขี ้อมูลย้อนกลับ

(feedback) เพื่อใช้ปรับปรงุ การทำ�งาน

ไดต้ ามวัตถุประสงค์ ซง่ึ การวิเคราะห์

ระบบทางเทคโนโลยีชว่ ยใหเ้ ข้าใจ

องคป์ ระกอบและการทำ�งานของ

เทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรับปรงุ

ใหเ้ ทคโนโลยีท�ำ งานได้ตามต้องการ

3. เทคโนโลยมี กี ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา

ต้งั แตอ่ ดตี จนถึงปจั จบุ ัน ซ่ึงมสี าเหตุหรอื

ปจั จัยมาจากหลายด้าน เชน่ ปญั หา

ความตอ้ งการ ความก้าวหนา้ ของศาสตร์

ต่าง ๆ เศรษฐกจิ สังคม

หน่วยการ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง จ�ำ นวน แนวทางการจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล
เรยี นรู้ ชวั่ โมง

2. วสั ดแุ ละ ใช้ความรู้และทกั ษะเก่ียวกบั 1. วัสดแุ ต่ละประเภทมสี มบตั ิแตกตา่ งกนั 4 กจิ กรรมท่ี 2.1 รจู้ กั สมบตั ขิ องวสั ดุ 1. การวเิ คราะห์สมบตั ขิ องวสั ดุ และ คู่มอื การใช้หลักสูตร | กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
อปุ กรณ์
นา่ รู้ วัสดุ อปุ กรณ์ เครือ่ งมอื กลไก เช่น ไม้ โลหะ พลาสตกิ จงึ ต้องมี ภาระงาน: การเลือกใช้เครื่องมอื ทีเ่ หมาะสม

ไฟฟา้ หรืออิเล็กทรอนกิ ส์ การวเิ คราะหส์ มบัตเิ พอ่ื เลอื กใช้ 1. วเิ คราะหส์ มบตั ขิ องวสั ดจุ ากตวั อยา่ งชน้ิ งาน กับการสรา้ งช้ินงาน

เพือ่ แก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ใหเ้ หมาะสมกับลักษณะของงาน ทก่ี ำ�หนดให้ พร้อมระบุเครื่องมือท่ีใชส้ ร้าง 2. การเลือกใชส้ ง่ิ ของท่เี หมาะสมกบั

เหมาะสมและปลอดภัย 2. อปุ กรณแ์ ละเคร่ืองมอื ในการสร้างชิ้น ชิ้นงานนน้ั ลักษณะของงาน โดยค�ำ นงึ ถงึ

งานหรอื พัฒนาวธิ กี ารมหี ลายประเภท 2. เลือกใชเ้ ก้าอ้ีรปู แบบต่าง ๆ ให้เหมาะสม สมบัติของวสั ดุ

ต้องเลือกใชใ้ หถ้ ูกต้อง เหมาะสม กับลักษณะของงาน

และปลอดภัย รวมทง้ั รู้จกั เกบ็ รกั ษา

กจิ กรรมท่ี 2.2 เกา้ อข้ี องฉนั 1. การเลอื กใช้วสั ดุในการสรา้ งแบบ
ภาระงาน: จ�ำ ลองเก้าอไ้ี ดเ้ หมาะสมพร้อมทัง้
สร้างแบบจ�ำ ลองเกา้ อ้ีตามสถานการณท์ ี่ อธิบายเหตผุ ล
กำ�หนดโดยใช้ความรู้เร่อื งการเลอื กวัสดแุ ละ
ฝึกใชอ้ ุปกรณ์หรอื เคร่ืองมอื ในการสร้าง 2. การใช้อปุ กรณห์ รอื เครือ่ งมอื
ชิ้นงานอย่างถูกตอ้ ง และปลอดภยั ในการสรา้ งแบบจ�ำ ลองเก้าอี้
ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและปลอดภยั

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
ตวั อยา่ งหน่วยการเรยี นรู้ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1

25

หนว่ ยการ ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง จำ�นวน แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
เรียนรู้ ช่วั โมง 26 ตัวอย่างหน่วยการเรยี นรู้ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1
1. การใชก้ ระบวนการ
3. การแกป้ ญั หา 1. ระบุปัญหาหรือความ 1. ปญั หาหรอื ความตอ้ งการในชวี ติ ประจำ�วนั พบได้จากหลาย 10 กจิ กรรม พดั ลมจว๋ิ ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม
ในการสรา้ งพดั ลมตาม
ตามกระบวน ต้องการในชวี ติ ประจำ�วัน บรบิ ทขน้ึ กบั สถานการณท์ ป่ี ระสบ เชน่ การเกษตร การอาหาร ภาระงาน: สถานการณท์ ก่ี �ำ หนด

การออกแบบ รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มูล 2. การแกป้ ญั หาจ�ำ เป็นตอ้ งสบื คน้ รวบรวมขอ้ มูล ความรูจ้ าก สร้างพดั ลมมอื ถือตาม 2. การใชอ้ ปุ กรณห์ รอื
เครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน
เชงิ วิศวกรรม และแนวคดิ ทเ่ี กีย่ วข้องกบั ศาสตร์ตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง เพือ่ น�ำ ไปสู่การออกแบบแนวทาง กระบวนการออกแบบเชิง ในการสรา้ งพดั ลมจว๋ิ ได้
อยา่ งถกู ตอ้ งและ
ปญั หา การแก้ปญั หา วศิ วกรรม ปลอดภยั

2. ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา 3. วิเคราะห์ เปรียบเทยี บ และตดั สนิ ใจเลือกข้อมูลท่จี �ำ เปน็

โดยวเิ คราะห์เปรยี บเทียบ โดยค�ำ นงึ ถึงเงอื่ นไขและทรพั ยากรท่ีมีอยู่ ชว่ ยใหไ้ ดแ้ นวทาง

และตัดสินใจเลือกข้อมูล การแกป้ ัญหาทีเ่ หมาะสม

ทจ่ี ำ�เป็น นำ�เสนอแนวทาง 4. การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หาทำ�ไดห้ ลากหลายวธิ ี

การแกป้ ัญหาใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจ เช่น การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การเขยี นผังงาน

วางแผนและดำ�เนนิ การ 5. การกำ�หนดข้นั ตอนและระยะเวลาในการท�ำ งานกอ่ นดำ�เนิน

แกป้ ญั หา การแกป้ ญั หาจะชว่ ยให้ท�ำ งานสำ�เรจ็ ไดต้ ามเป้าหมาย และ

3. ทดสอบ ประเมนิ ผล และ ลดข้อผดิ พลาดของการทำ�งานทอี่ าจเกดิ ขึน้

ระบขุ ้อบกพรอ่ งทเ่ี กิดขนึ้ 6. การทดสอบและประเมนิ ผลเปน็ การตรวจสอบชิ้นงานหรอื วธิ ี คมู่ ือการใชห้ ลกั สตู ร| กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

พรอ้ มทง้ั หาแนวทางการ การว่าสามารถแกป้ ัญหาไดต้ ามวตั ถปุ ระสงคภ์ ายใต้กรอบ

ปรบั ปรุงแก้ไข และนำ�เสนอ ของปญั หาเพ่อื หาข้อบกพรอ่ ง และดำ�เนนิ การปรับปรุงโดย

ผลการแกป้ ัญหา อาจทดสอบซำ�้ เพอื่ ใหส้ ามารถแก้ไขปัญหาได้

4. ใช้ความรู้และทักษะเก่ียวกับ 7. การน�ำ เสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคดิ เพื่อให้ผอู้ ืน่

วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื กลไก เข้าใจเก่ียวกบั กระบวนการท�ำ งานและช้ินงานหรือวธิ ีการทีไ่ ด้

ไฟฟ้า หรืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ซึง่ สามารถท�ำ ไดห้ ลายวธิ ี เช่น การเขยี นรายงาน การทำ�แผ่น

เพ่ือแกป้ ญั หาได้อย่างถกู ต้อง นำ�เสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ การนำ�เสนอผา่ นสื่อ

เหมาะสมและปลอดภัย ออนไลน์

8. วสั ดแุ ตล่ ะประเภทมสี มบตั แิ ตกตา่ งกนั เชน่ ไม้ โลหะ พลาสตกิ

จึงตอ้ งมีการวิเคราะห์สมบัตเิ พอ่ื เลือกใชใ้ ห้เหมาะสมกับ

ลักษณะของงาน

9. การสรา้ งชิน้ งานอาจใช้ความรู้ เรอ่ื งกลไก ไฟฟา้

อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LED บัซเซอร์ มอเตอร์ วงจรไฟฟา้

10. อปุ กรณแ์ ละเคร่ืองมือในการสรา้ งชิ้นงานหรือพฒั นาวิธกี าร

มหี ลายประเภท ตอ้ งเลอื กใชใ้ ห้ถูกตอ้ ง เหมาะสม และ

ปลอดภัย รวมทัง้ รจู้ กั เกบ็ รักษา

ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2

เรอ่ื ง วสั ดแุ ละอปุ กรณน์ า่ รู้

1. ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรู้

1.1 ตวั ช้ีวัด

ใช้ความรูแ้ ละทักษะเก่ยี วกบั วสั ดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมอื กลไก ไฟฟา้ หรืออเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ พือ่ แกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ ง
ถกู ต้อง เหมาะสมและปลอดภัย

1.2 สาระการเรียนรู้

1) วสั ดแุ ต่ละประเภทมสี มบัติแตกตา่ งกนั เชน่ ไม้ โลหะ พลาสตกิ จึงต้องมีการวิเคราะหส์ มบตั เิ พอ่ื เลือกใช้
ให้เหมาะสมกับลกั ษณะของงาน
2) อุปกรณ์และเคร่ืองมือในการสร้างช้ินงานหรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง
เหมาะสม และปลอดภยั รวมทั้งรจู้ ักเก็บรกั ษา

2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

2.1 บอกประเภทและอธิบายสมบัติของวัสดไุ ด้
2.2 อธบิ ายเหตุผลท่ีเลอื กใช้วสั ดใุ ห้เหมาะสมกับลกั ษณะของงาน
2.3 วเิ คราะห์เครอื่ งมอื ชา่ งพน้ื ฐานที่ใชใ้ นการสรา้ งชน้ิ งานได้
2.4 เลือกใชว้ ัสดุในการสร้างแบบจำ�ลองเก้าอไี้ ด้เหมาะสมพรอ้ มท้งั อธิบายเหตุผล
2.5 ใช้อปุ กรณห์ รอื เครือ่ งมือในการสรา้ งแบบจำ�ลองเกา้ อไี้ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและปลอดภยั

3. ทกั ษะและกระบวนการ

3.1 ทกั ษะการส่อื สาร
3.2 ทักษะการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ
3.3 ทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรค์
3.4 ทักษะการท�ำ งานร่วมกบั ผอู้ น่ื

4. สาระส�ำ คัญ

วัสดมุ หี ลายประเภท แต่ละประเภทมสี มบัติทีแ่ ตกตา่ งกนั การเลอื กวัสดแุ ละสิง่ ของตา่ ง ๆ มาใชง้ านหรอื สร้างสงิ่ ของ
เครอื่ งใชต้ ้องพิจารณาจากสมบตั ิของวัสดเุ พือ่ ใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งานและเพอื่ ความปลอดภยั
การสรา้ งแบบจ�ำ ลองเกา้ อเี้ พอื่ ใชง้ านในสถานทตี่ า่ ง ๆ ตอ้ งใชค้ วามรเู้ รอ่ื งสมบตั ขิ องวสั ดุ เพอื่ เลอื กใชว้ สั ดทุ เี่ หมาะสม
กับการสร้างช้ินงาน ในการลงมือสร้างชิ้นงานต้องเลือกใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมืออย่างเหมาะสมกับประเภทของวัสดุ
ใช้อย่างถูกต้อง และค�ำ นงึ ถงึ ความปลอดภัยในการใชง้ าน

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี คมู่ ือการใชห้ ลกั สตู ร| กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
28 ตวั อยา่ งหนว่ ยการเรียนรู้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1

5. สอ่ื ประกอบการเรียนรู้

5.1 ใบกจิ กรรมที่ 1 เก้าอ้ชี วนคดิ
5.2 ใบกิจกรรมท่ี 2 เกา้ อ้ีท่ีแตกตา่ ง
5.3 ใบกจิ กรรมที่ 3 ออกแบบเกา้ อ้ี
5.4 ใบกิจกรรมท่ี 4 ทดสอบการทำ�งานแบบจำ�ลองเก้าอ้ี
5.5 ใบความรู้ท่ี 1 เร่อื ง ประเภทและสมบตั ิของวสั ดุ
5.6 ใบความรทู้ ่ี 2 เรื่อง เครอ่ื งมือชา่ งพ้ืนฐาน
5.7 วัสดสุ ่ือของจริง เช่น ดนิ สอ ยางลบ ไมบ้ รรทดั
5.8 วัสดุทใี่ หเ้ ลือกส�ำ หรบั การสร้างแบบจ�ำ ลองเก้าอ้ี เชน่ ไมบ้ ัลซา ไม้อัด โฟม แผ่นอะครลิ กิ แผน่ พลาสตกิ ลูกฟูก
กระดาษลัง ฯลฯ
5.9 อุปกรณ์และเครื่องมือสำ�หรับการสร้างแบบจำ�ลองเก้าอี้ เช่น นอต สกรู ไขควง กรรไกร คัตเตอร์ กาว เล่ือย
สวา่ นมือ ตลับเมตร ฯลฯ

6. แนวทางการจดั การเรยี นรู้

6.1 การจัดเตรียม
จดั เตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ สอ่ื ของจรงิ ใบกิจกรรมและใบความรู้ดงั น้ี

1) ดินสอ ยางลบ ยางรัด ไมบ้ รรทดั แกว้ น�ำ้ ผ้าเชด็ หน้า ถงุ เทา้ ไมถ้ ูพ้นื ของเล่น สมุด โตะ๊ เกา้ อี้ ถังน�้ำ จาน ชาม
ชอ้ นสเตนเลส ทัพพี

2) ใบกิจกรรมท่ี 1 - 4 และใบความรูท้ ี่ 1 และ 2
3) วัสดแุ ละอปุ กรณส์ �ำ หรบั สร้างแบบจำ�ลองเกา้ อี้

6.2 ขน้ั ตอนดำ�เนินการ

กิจกรรมท่ี 2.1 รู้จักสมบัตขิ องวัสดุ

1. ผเู้ รยี นสังเกตและศกึ ษาสงิ่ ของรอบตวั เชน่ ดินสอ ยางลบ ยางรัด ไมบ้ รรทัด แกว้ น�ำ้ ผ้าเชด็ หนา้ ถุงเท้า ไมถ้ ูพื้น
ของเล่น สมดุ โตะ๊ เกา้ อ้ี ถงั น้�ำ จาน ชาม ช้อนสเตนเลส ทพั พี เพอ่ื ตอบค�ำ ถามว่าส่ิงของเหล่านที้ �ำ มาจากวัสดุประเภทใด
และจัดกลมุ่ สงิ่ ของดังกล่าวตามประเภทของวสั ดุ แลว้ รว่ มกนั สรปุ ขอ้ มลู เปน็ แผนภาพความคดิ
2. ผู้เรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 เร่ือง ประเภทและสมบัติของวัสดุ จากน้ันจำ�แนกสมบัติของวัสดุจากการจัดกลุ่ม
ในแผนภาพความคดิ (จากข้อที่ 1) ในด้านต่าง ๆ ท่ีเป็นจุดเด่นและจุดด้อย
3. ผเู้ รยี นศกึ ษาใบความรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง เครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายถงึ เครอ่ื งมอื ชา่ งทใ่ี ชใ้ นการสรา้ งโตะ๊ เรยี น
วา่ มเี ครอ่ื งมอื อะไร ใชอ้ ยา่ งไร จากน้ันใหผ้ ้เู รยี นทำ�ใบกิจกรรมที่ 1 เก้าอชี้ วนคดิ
4. ผู้สอนสุ่มผู้เรียนเพ่ือนำ�เสนอใบกิจกรรมที่ 1 เก้าอี้ชวนคิด และร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับประเภทและสมบัติ
ของวสั ดุ เหตผุ ลของการเลือกใช้ และเคร่ืองมือช่างพื้นฐาน

คู่มือการใช้หลกั สูตร | กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 29
ตวั อย่างหน่วยการเรยี นรู้ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1

5. แบง่ ผ้เู รียนเปน็ กลมุ่ ตามความเหมาะสม และทำ�ใบกิจกรรมท่ี 2 เกา้ อีท้ แ่ี ตกตา่ ง เพือ่ ระดมแนวคิดในการเลอื กสรร
เก้าอ้ี โดยวิเคราะห์ประเภทและสมบัติของวัสดุ ให้เหมาะสมกับลักษณะของงานและสถานท่ีท่ีนำ�ไปใช้ จากนั้นผู้สอน
สุ่มผู้เรียนเพอื่ นำ�เสนอใบกจิ กรรมท่ี 2
ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม ผู้สอนอาจนำ�ตัวอย่างเก้าอี้ของจริงมาให้ผู้เรียนได้สังเกตและสัมผัสด้วยตัวเอง เพ่ือช่วยให้
ผู้เรียนสามารถวเิ คราะหช์ ัดเจนย่งิ ขน้ึ
6. ผู้สอนและผ้เู รยี นรว่ มกันสรปุ ผลจากการท�ำ กิจกรรม ในประเด็น
1) ประเภทและสมบัติของวัสดุ
2) การเลอื กวสั ดุใหเ้ หมาะสมกับลักษณะของการใช้งาน
3) การใช้เครอื่ งมืออยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภัย

กิจกรรมท่ี 2.2 เกา้ อีข้ องฉนั

1. ผ้สู อนทบทวนความรู้เกยี่ วกบั สมบัตขิ องวสั ดแุ ละเคร่ืองมอื ช่างพนื้ ฐาน
2. แบ่งผเู้ รยี นเปน็ กลุม่ ตามความเหมาะสม เพอื่ เลือกวสั ดุและเครอ่ื งมอื ชา่ งพ้นื ฐานในการแกป้ ญั หาตามสถานการณ์
ดงั ต่อไปนี้
“อนนั ตเ์ ปดิ รา้ นขายสนิ คา้ ส�ำ หรบั คนทม่ี รี ปู รา่ งอว้ น และตอ้ งการผลติ สนิ คา้ รปู แบบใหมเ่ พอื่ ตอบสนองความตอ้ งการ
ของลูกค้ามากขึน้ คือ เกา้ อ้เี พื่อใช้ในการนง่ั พักผ่อน”
นักเรียนจะชว่ ยอนนั ต์ออกแบบเกา้ อี้ตามสถานการณด์ งั กลา่ วอยา่ งไร ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกแบบและสร้างแบบ
จ�ำ ลองเก้าอี้ ขนาดไมเ่ กิน 20 เซนติเมตร x 20 เซนตเิ มตร x 20 เซนติเมตร โดยใหส้ ามารถรบั น้�ำ หนกั ไดม้ ากท่สี ดุ และ
ใช้ในการนัง่ พกั ผ่อนได้สะดวกสบาย จากนน้ั บันทกึ ผลลงในใบกจิ กรรมท่ี 3 ออกแบบเก้าอี้
3. ผู้เรยี นแต่ละกลมุ่ น�ำ เสนอแบบเก้าอี้ (ใบกิจกรรมท่ี 3) โดยอธบิ ายในประเด็นตา่ ง ๆ ดังน้ี
1) แนวคดิ ในการออกแบบ (นำ�เสนอดว้ ยวาจา)
2) รายละเอียดของแบบร่าง ประกอบด้วย ขนาด มาตราส่วน วัสดุ เครอ่ื งมือชา่ งพ้ืนฐานท่ีใช้
และเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนในช้นั ร่วมอภิปรายหรอื ซกั ถามเกย่ี วกบั การออกแบบเก้าอข้ี องกลมุ่ ที่นำ�เสนอ
4. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มลงมือสร้างแบบจำ�ลองเก้าอ้ีตามท่ีได้ออกแบบไว้ ผู้สอนควรเน้นในเรื่องการใช้เคร่ืองมืออย่าง
ปลอดภยั ทง้ั นีผ้ ูส้ อนอาจใหผ้ ู้เรยี นลงมือสรา้ งแบบจ�ำ ลองเก้าอี้นอกเวลาเรียน
5. ทดสอบการทำ�งานของแบบจำ�ลองเก้าอ้ีของผู้เรียนทุกกลุ่ม บันทึกผลลงใน
ใบกจิ กรรมท่ี 4 ทดสอบการทำ�งานแบบจ�ำ ลองเก้าอ้ี
6. ผเู้ รียนและผู้สอนร่วมกนั อภปิ รายผลท่ไี ด้จากการทดสอบ ในประเด็นต่อไปนี้
1) แบบจำ�ลองเก้าอี้ท่ีผู้เรียนสร้างขึ้นสามารถรับนำ้�หนักได้ตามที่กำ�หนดไว้
หรอื ไม่ เพราะเหตุใด
2) ลกั ษณะและวสั ดทุ ใ่ี ชส้ รา้ งแบบจ�ำ ลองเกา้ อเ้ี ปน็ อยา่ งไร พรอ้ มบอกเหตผุ ล
ในการเลือก
3) เครื่องมือช่างพื้นฐานที่ใช้ในการสร้างแบบจำ�ลองเก้าอี้ประกอบด้วย
อะไรบา้ ง พร้อมบอกเหตุผลในการเลอื ก
ทั้งนี้ผ้สู อนควรอธิบายเพ่ิมเติมว่านอกจากสมบัตขิ องวัสดุแลว้ การออกแบบก็
สง่ ผลตอ่ ความแขง็ แรงของชิน้ งานดว้ ยเช่นกัน

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี คู่มอื การใช้หลักสตู ร| กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
30 ตัวอยา่ งหน่วยการเรียนรู้ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1

7. การวัดและประเมินผล

รายการประเมนิ วิธกี ารวัด เครือ่ งมือท่ีใช้วดั เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ น
คะแนน 11-15 หมายถึง ดี
1. การบอกประเภท และอธบิ ายสมบตั ขิ องวสั ดไุ ด้ ตรวจใบกิจกรรม ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื ง คะแนน 6-10 หมายถึง พอใช้
ถกู ตอ้ ง เกา้ อ้ชี วนคิด คะแนน 1-5 หมายถึง ปรบั ปรงุ
ผู้เรยี นไดร้ ะดับคณุ ภาพ พอใช้ ข้ึนไป
2. การอธบิ ายเหตผุ ลทเ่ี ลอื กใชว้ สั ดใุ หเ้ หมาะสมกบั ตรวจใบกิจกรรม ใบกจิ กรรมท่ี 2 เร่อื ง ถอื ว่าผา่ น
ลักษณะของงาน เกา้ อ้ที ่ีแตกต่าง
ใบกิจกรรมท่ี 1 เร่ือง SLOOTผูเ้ รียนได้ระดบั 2 ข้ึนไปถือว่าผ่าน
3. การวเิ คราะห์เครอ่ื งมอื ช่างพ้ืนฐานที่ใช้ใน ตรวจใบกจิ กรรม เกา้ อ้ีชวนคิด FLESRUOY TI OD
การสรา้ งชน้ิ งานได้ ใบกิจกรรมท่ี 3 เร่ือง
ออกแบบเกา้ อ้ี
4. การเลอื กใชว้ สั ดใุ นการสรา้ งแบบจ�ำ ลองเกา้ อไี้ ด้ ตรวจใบกจิ กรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม
เหมาะสมพร้อมท้งั อธิบายเหตุผล
แบบสังเกตพฤตกิ รรม
5. การใช้อปุ กรณ์หรือเคร่ืองมอื ช่างพ้ืนฐาน สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม
ในการสรา้ งแบบจ�ำ ลองเก้าอ้ไี ด้อยา่ งถกู ตอ้ ง แบบสงั เกตพฤติกรรม
สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม
SLOOTและปลอดภัย
ทกั ษะการส่ือสาร

ทักษะการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ สังเกตพฤตกิ รรม
สังเกตพฤตกิ รรม
FLESRUOY TI ODทักษะความคดิ สรา้ งสรรค์ สงั เกตพฤติกรรม

SLOOTทกั ษะการท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื
FLESRUOY TI OD

คู่มือการใช้หลกั สูตร | กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 31
ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรยี นรู้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1

เกณฑ์ระดบั การให้คะแนน

ประเดน็ การ 3 ระดับคะแนน 1
ประเมนิ 2

1. การบอกประเภท บอกประเภทและอธบิ ายสมบัติ บอกประเภทของวสั ดไุ ด้ถกู ตอ้ ง แต่อธิบาย บอกประเภท อธิบายสมบตั ิ
และอธบิ ายสมบัติ ของวัสดไุ ด้ถูกตอ้ ง ให้เหตุผลใน สมบตั ิของวสั ดุไมถ่ กู ตอ้ ง ให้เหตุผลใน ของวัสดุ และให้เหตุผลใน
ของวสั ดุ การใชว้ ัสดไุ ดถ้ ูกต้อง การใชว้ ัสดุได้ถูกต้องน้อยหรอื ไมถ่ กู ต้อง การใช้วัสดไุ ดถ้ กู ต้องน้อย
หรือไม่ถูกต้อง

2. การอธิบายเหตุผล วิเคราะหป์ ระเภท สมบัตขิ องวัสดุ วิเคราะห์ประเภท สมบัติของวสั ดุ วิเคราะหป์ ระเภท สมบตั ขิ อง
ทเี่ ลอื กใช้วัสดุให้ เลอื กใช้วัสดแุ ละอธิบายเหตผุ ล ได้ถูกต้องหรือถูกตอ้ งเปน็ ส่วนใหญ่ วสั ดุไดไ้ มถ่ กู ตอ้ ง
เหมาะสมกับ ในการเลอื กใช้ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม เลอื กใชว้ ัสดุไดถ้ ูกตอ้ ง แต่อธบิ ายเหตผุ ล อธิบายเหตุผลทเี่ ลือกใชว้ สั ดุ
ลักษณะของงาน กบั ลักษณะของงาน ในการเลอื กใช้ไม่ถกู ตอ้ ง หรอื ไม่เหมาะสม ไมต่ รงประเดน็ กบั ลกั ษณะ
กับลักษณะของงาน ของงานหรอื อธิบายไมไ่ ด้

3. การวิเคราะห์ วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายเหตุผลในการ วเิ คราะหเ์ ครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐานทใ่ี ชส้ รา้ งชน้ิ งาน วิเคราะห์หรอื อธบิ ายเหตผุ ลใน
เครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน เลอื กใช้เคร่ืองมอื ช่างพ้นื ฐานทใี่ ช้ ทก่ี �ำ หนดไดถ้ กู ต้อง แต่อธบิ ายเหตุผลในการ การเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน
ทใ่ี ชใ้ นการสรา้ ง สร้างช้ินงานทก่ี ำ�หนดไดถ้ ูกต้อง เลือกใช้ไม่ตรงประเด็น ไม่สมเหตุ ทใ่ี ช้สรา้ งชนิ้ งานที่ก�ำ หนด
ชน้ิ งาน สมผล หรือไมถ่ ูกต้อง ได้ถูกตอ้ ง

4. การเลือกใชว้ สั ดุ เลือกวสั ดทุ เี่ หมาะสมกับ เลือกวัสดทุ เ่ี หมาะสมกบั จุดประสงค์ เลอื กวัสดุไมเ่ หมาะสมกบั
ในการสรา้ งแบบ จดุ ประสงค์การใชง้ านและสามารถ การใชง้ านแต่ไม่สามารถอธิบายเหตผุ ล จุดประสงค์การใช้งาน
จ�ำ ลองเก้าอ้ี อธบิ ายเหตผุ ลในการเลือกใชไ้ ด้ ในการเลอื กใชไ้ ด้หรือไมถ่ ูกต้อง
ไม่สามารถใชอ้ ปุ กรณห์ รือ
5. การใช้อุปกรณ์หรอื ใช้อุปกรณห์ รือเครื่องมอื ช่าง ใชอ้ ุปกรณ์หรือเครอื่ งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน เครอื่ งมือชา่ งพ้ืนฐาน
เครอ่ื งมอื ชา่ งพน้ื ฐาน พน้ื ฐานในการสรา้ งช้ินงานได้ ในการสร้างชนิ้ งานอยา่ งถูกตอ้ ง ในการสร้างชนิ้ งานได้
ในการสรา้ งแบบ เหมาะสมกับวัสดุ ใชอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และปลอดภยั
จ�ำ ลองเกา้ อี้ และปลอดภยั

เกณฑก์ ารตดั สินระดับคณุ ภาพ
คะแนน 11 - 15 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ด ี
คะแนน 6 - 10 คะแนน หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
คะแนน 1 - 5 คะแนน หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง
หมายเหตุ เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลสามารถปรับเปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ค่มู อื การใชห้ ลกั สตู ร| กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
32 ตัวอยา่ งหน่วยการเรยี นรู้ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

8. แหล่งเรียนรู้

8.1 รูปแบบต่าง ๆ ของเก้าอี้ เช่น โรงฝกึ งาน ศูนยศ์ ลิ ปาชพี รา้ นเฟอร์นิเจอร์
8.2 เว็บไซตส์ �ำ หรับสืบคน้ เก้าอ้รี ปู แบบต่าง ๆ

9. ขอ้ เสนอแนะ

9.1 การนำ�เสนอผลงานอาจทำ�ได้หลายรูปแบบ เชน่ โปสเตอร์ โปรแกรมนำ�เสนอผลงาน
9.2 ผู้สอนประเมินความคิดสร้างสรรค์ของชิ้นงาน โดยให้ผู้เรียนแต่ละคนลงคะแนนช้ินงานท่ีตนเองชอบ หรือ
มคี วามโดดเด่น แปลกใหม่ และประณตี
9.3 ผู้สอนสามารถแนะนำ�การใช้วัสดุอ่ืน ๆ ท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินเพื่อเป็นทางเลือกในการสร้างชิ้นงานที่มีรูปแบบ
หลากหลาย
9.4 กรณีที่ต้องการเน้นความสำ�คัญของการออกแบบช้ินงานเพื่อสื่อสารให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ผู้สอนอาจจัดกิจกรรม
โดยใหผ้ เู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ สลบั แบบรา่ งเกา้ อท้ี กี่ ลมุ่ ของตนเองออกแบบ เพอื่ ใหก้ ลมุ่ อนื่ ท�ำ การสรา้ งตามแบบ จากนนั้ ประเมนิ
ช้ินงานทีไ่ ดว้ ่าสอดคล้องกบั แบบท่ีออกแบบไวห้ รือไม่
9.5 ผสู้ อนอาจจดั กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ โดยใหผ้ เู้ รยี นสามารถปรบั เปลย่ี นวสั ดทุ ใ่ี ชส้ รา้ งหรอื ปรบั เปลย่ี นแบบของเกา้ อไ้ี ด้

คู่มอื การใช้หลกั สตู ร | กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 33
ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรยี นรู้ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1

ใบกจิ กรรมท่ี 1
เรอ่ื ง เก้าอีช้ วนคดิ

ให้นักเรียนอธิบายประเภท สมบตั ิของวัสดุ และเคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการสร้างเก้าอีด้ ังภาพ อยา่ งนอ้ ย 2 ตำ�แหน่ง

ส่วนใดของเก้าอี้ สว่ นใดของเก้าอ้ี
ประเภทของวสั ดุ ประเภทของวสั ดุ
สมบตั ิของวัสดุ สมบัติของวัสดุ

เหตุผลของการเลอื กใช้วัสดุน้ี เหตผุ ลของการเลอื กใช้วัสดุนี้

เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชส้ รา้ งหรอื ประกอบชน้ิ สว่ นนี้ เคร่อื งมือท่ใี ชส้ ร้างหรือประกอบชน้ิ ส่วนนี้
เหตุผลทีใ่ ชเ้ ครอ่ื งมอื นี้ เหตผุ ลท่ใี ช้เครือ่ งมอื นี้

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) คูม่ ือการใชห้ ลกั สตู ร| กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
34 ตวั อยา่ งหนว่ ยการเรยี นรู้ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1

ใบกิจกรรมท่ี 2
เร่อื ง เก้าอี้ทีแ่ ตกต่าง

ให้นักเรียนวิเคราะห์ประเภทและสมบัติของวัสดุท่ีนำ�มาทำ�เก้าอี้ตามประเด็นพิจารณาในตาราง จากนั้นเลือกใช้เก้าอ้ี
ใหเ้ หมาะสมกับลักษณะของงานและสถานท่ที น่ี ำ�ไปใช้

AB

หวั ขอ้ ประเดน็ พิจารณา

เบาะนง่ั และ ประเภทของวสั ดุ
พนกั พงิ การระบายความรอ้ น
การเสียดสกี บั ผิว
โครงสรา้ ง การปรบั เอนของพนกั พงิ
ความแข็งแรง
อ่นื ๆ น้ำ�หนัก
การปรบั ระดับความสูง
สถานที่ การหมุนหรอื เคล่ือนท่ี
การใชง้ าน การจัดเก็บ
การท�ำ ความสะอาด

.............................................
.............................................
สถานท่ที ่นี �ำ ไปใช้
ลกั ษณะการใชง้ าน

คมู่ อื การใชห้ ลักสูตร | กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 35
ตวั อย่างหนว่ ยการเรียนรู้ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1

C D

หัวขอ้ ประเดน็ พจิ ารณา

เบาะนง่ั และ ประเภทของวัสดุ
พนักพงิ การระบายความรอ้ น
การเสียดสกี บั ผวิ
โครงสรา้ ง การปรบั เอนของพนักพิง
ความแขง็ แรง
อน่ื ๆ นำ้�หนัก
การปรบั ระดบั ความสูง
สถานท่ี การหมุนหรือเคลือ่ นท่ี
การใชง้ าน การจดั เก็บ
การทำ�ความสะอาด

.............................................
.............................................
สถานทท่ี ่นี ำ�ไปใช้
ลกั ษณะการใช้งาน

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี คูม่ อื การใชห้ ลกั สูตร| กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
36 ตัวอยา่ งหน่วยการเรียนรู้ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1

ใบกิจกรรมท่ี 3
เร่อื ง ออกแบบเกา้ อี้

ให้นักเรียนออกแบบเกา้ อ้ีตามสถานการณ์ต่อไปนี้ โดยระบแุ นวคดิ ในการออกแบบ ก�ำ หนดวสั ดุและเคร่อื งมือท่ตี ้องการใชใ้ น
การสรา้ งเกา้ อี้ พรอ้ มทัง้ ใหเ้ หตุผลประกอบ

สถานการณ์
“อนนั ตเ์ ปดิ รา้ นขายสนิ คา้ ส�ำ หรบั คนทมี่ รี ปู รา่ งอว้ น และตอ้ งการผลติ สนิ คา้ รปู แบบใหมเ่ พอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้
มากขึน้ คือ เก้าอีเ้ พื่อใชใ้ นการนงั่ พกั ผ่อน”

นักเรียนจะช่วยอนันต์ออกแบบเก้าอ้ีตามสถานการณ์ดังกล่าวอย่างไร ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบและสร้างแบบจำ�ลอง
เก้าอี้ ขนาดไม่เกิน 20 เซนติเมตร x 20 เซนติเมตร x 20 เซนติเมตร โดยให้สามารถรับนำ้�หนักได้มากที่สุด และใช้ในการ
นัง่ พักผ่อนได้สะดวกสบาย

นำ�้ หนักท่ีคาดว่าจะรองรบั ได้ กโิ ลกรมั

แบบรา่ ง (มาตราสว่ น ......... : ………)

ค่มู ือการใช้หลักสูตร | กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 37
ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1
แนวคิดในการออกแบบ

วัสดุที่ใช้ เหตุผลทเ่ี ลอื ก
เครือ่ งมือช่างพน้ื ฐานที่ใช้ เหตุผลทเี่ ลอื ก

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ค่มู ือการใช้หลกั สูตร| กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
38 ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรียนรู้ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1

ใบกจิ กรรมที่ 4
เรือ่ ง ทดสอบการท�ำ งานแบบจ�ำ ลองเก้าอ้ี

1. ให้นักเรยี นบันทึกผลการทดสอบช้ินงาน และปัญหาท่ีพบ

2. แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข

3. สรปุ ผลการท�ำ กิจกรรม

คูม่ ือการใชห้ ลกั สูตร | กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 39
ตัวอย่างหนว่ ยการเรยี นรู้ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

ใบความรูท้ ี่ 1
เร่อื ง ประเภทและสมบัตขิ องวัสดุ

วัสดุ คือ ส่ิงที่นำ�มาทำ�เป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ซึ่งส่ิงของแต่ละอย่างทำ�จากวัสดุ
หลากหลายประเภท ในสมยั กอ่ นเราใชว้ สั ดทุ ม่ี าจากธรรมชาติ เชน่ หนิ กง่ิ ไม้ ใบไม้ หนงั สตั ว์
มาทำ�ส่ิงของเครือ่ งใช้ เชน่ อาวธุ เคร่ืองน่งุ ห่ม ภาชนะใส่อาหาร ต่อมามกี ารพฒั นาวัสดจุ าก
ธรรมชาตมิ าใชง้ านจนกระทง่ั สามารถสงั เคราะห์วัสดใุ หม่ข้ึนมา เช่น กระดาษ ไม้อัด เสน้ ใย
ยาง พลาสตกิ โลหะ วัสดุผสม

ภาพตัวอยา่ งส่งิ ของเครอ่ื งใชท้ ี่ท�ำ จากวสั ดุต่าง ๆ

ประเภทและสมบตั ิของวสั ดุ

วสั ดทุ นี่ �ำ มาท�ำ สง่ิ ของเครอ่ื งใชท้ เี่ ราพบในชวี ติ ประจ�ำ วนั สว่ นใหญ่ ไดแ้ ก่ วสั ดปุ ระเภท ไม้ โลหะ พลาสตกิ ยาง ซง่ึ แตล่ ะประเภท
มีสมบัติและการนำ�ไปใช้งานท่แี ตกต่างกนั ดังนี้

1. ไม้ (wood)
คือ วัสดุธรรมชาติที่ได้มาจากลำ�ต้นของต้นไม้ สามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายเน่ืองจากมีสมบัติที่ดีหลายด้าน เช่น
มีความแข็งแรง ทนทาน ไม่เป็นสนิม มีผิวเรียบ มีกล่ินและลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว แต่มีข้อเสียคือ ถ้าใช้ไปนาน ๆ
อาจเกดิ การโกง่ ตัว หรือผุได้
ไม้ แบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื ไม้ธรรมชาติ และไมป้ ระกอบ ไมธ้ รรมชาติแบง่ เป็น ไมเ้ น้อื แขง็ กบั ไม้เนือ้ อ่อน ไมเ้ น้อื แขง็ จะมี
เนอื้ มัน ลายเน้ือไมล้ ะเอยี ด มีน�ำ้ หนักมาก เน้ือแนน่ สเี ขม้ แข็งแรงทนทาน เชน่ ไม้เต็ง ไมม้ ะค่า ไมต้ ะเคยี น นยิ มนำ�มาใชท้ ำ�เป็น
คาน โครงหลังคาบ้าน ประตู หน้าต่าง เฟอร์นิเจอร์ ส่วนไมเ้ นื้ออ่อนมเี น้ือไมค้ อ่ นข้างเหนียว น้�ำ หนักเบา แตเ่ นือ้ ไมไ้ มแ่ ข็งแรงมาก
จึงรบั น�้ำ หนักได้ไม่ดี เน้อื ไมม้ ีตัง้ แตส่ จี างอ่อนไปถึงสีเขม้ เชน่ ไม้ยาง ไมฉ้ ำ�ฉา นิยมน�ำ มาใชท้ �ำ เปน็ ประตู หนา้ ตา่ ง เฟอรน์ ิเจอร์
ของใช้ตา่ ง ๆ กลอ่ งใส่วัสดุ งานตกแต่ง เครือ่ งดนตรีไทย
ไมอ้ กี ประเภทหนง่ึ คอื ไมป้ ระกอบ เปน็ ไมท้ ไี่ ดจ้ ากการน�ำ ชนิ้ สว่ นของไมม้ าตอ่ รวมกนั ดว้ ยกระบวนการตา่ ง ๆ ซงึ่ มหี ลายประเภท
เชน่ ไมอ้ ดั มคี วามแขง็ แรง ไมย่ ดื หรอื หดตวั เมอ่ื ความชน้ื เปลย่ี นไป ไมป้ ารต์ เิ คลิ บอรด์ มคี วามเหนยี ว น�ำ้ หนกั เบา ราคาถกู แตค่ วาม
แข็งแรง ความตา้ นทานตอ่ แมลง และความชน้ื ต�ำ่ อายกุ ารใชง้ านส้นั กวา่ ไม้อดั

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี คมู่ อื การใชห้ ลักสตู ร| กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
40 ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรียนรู้ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ข



ภาพ (ก) ไมอ้ ัด (ข) ไมป้ าร์ตเิ คลิ บอร์ด

2. โลหะ (metals)
คอื วัสดุทไี่ ดจ้ ากการถลงุ สนิ แร่ต่าง ๆ โลหะสว่ นใหญผ่ ่านกระบวนการปรับปรุงสมบัติใหด้ ขี ้ึนกอ่ นนำ�มาใชง้ าน โลหะเปน็ วัสดุ
ที่น�ำ มาใช้ประโยชน์อยา่ งกวา้ งขวาง เนือ่ งจากมสี มบัตทิ ี่ดีมากมาย เชน่ เปน็ ตวั นำ�ความร้อนและนำ�ไฟฟา้ ได้ดี มีความแข็งแรงสูง
มีความคงทนถาวร ไมเ่ สอ่ื มสลายหรอื เปลีย่ นแปลงสภาพงา่ ย เปน็ วัสดุทบึ แสง ทนทานตอ่ การกัดกรอ่ น มีความสวยงาม ผวิ ของ
โลหะสามารถขดั ให้เป็นเงาวาว สามารถตเี ปน็ แผ่นบางหรือดึงใหเ้ ป็นเส้นลวดได้
โลหะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ โลหะกลุ่มเหล็ก และโลหะนอกกลุ่มเหล็ก โลหะกลุ่มเหล็ก คือ โลหะท่ีมีเหล็กเป็น
ส่วนประกอบหลัก เช่น เหล็กกล้า เหล็กหล่อ ใช้ทำ�ชิ้นส่วนอะไหล่ อุปกรณ์ เคร่ืองมือช่าง ลวด กรรไกร ช้ินส่วนเครื่องจักร
ส่วนโลหะนอกกลุม่ เหลก็ คอื คือ โลหะทไ่ี มม่ เี หลก็ เปน็ ส่วนประกอบ ดงั น้นั จึงไม่ดดู ติดกบั แม่เหล็กและไม่เกิดสนิม เช่น ทองแดง
อะลูมิเนียม สังกะสี ซ่ึงต่างก็มีสมบัติเด่นที่แตกต่างกัน ทองแดงนำ�ความร้อนและนำ�ไฟฟ้าได้ดี จึงนำ�มาทำ�สายไฟ อะลูมิเนียม
น�้ำ หนกั เบา เปลย่ี นรปู รา่ งไดง้ า่ ย น�ำ มาท�ำ กรอบประตู ฟอยลห์ อ่ อาหาร สว่ นประกอบของเครอ่ื งบนิ สงั กะสที นทานตอ่ การกดั กรอ่ น
จากสภาพอากาศ จงึ นำ�มาเคลอื บโลหะเพ่อื ปอ้ งกนั สนิม เช่น แผน่ เหล็กเคลอื บสงั กะสีใช้มงุ หลงั คา

เหลก็ กล้า ทองแดง อะลมู เิ นียมฟอยล์ แผ่นเหล็กเคลือบสงั กะสี

ภาพผลิตภณั ฑ์ทท่ี �ำ จากโลหะประเภทต่าง ๆ

3. พลาสตกิ (plastic)
คือ วัสดุสังเคราะห์ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นผลผลิตท่ีได้จากการกลั่นน้ำ�มันดิบ ปัจจุบันมีการใช้พลาสติกกันมากเน่ืองจากพลาสติก
มีหลายชนิด ทำ�ให้พลาสติกมีสมบัติที่หลากหลาย เช่น บางชนิดมีลักษณะอ่อนนิ่ม บางชนิดจะแข็งมาก บางชนิดทนความร้อน
ได้น้อยแต่บางชนิดทนความร้อนได้มาก บางชนิดหลอมละลายนำ�มาใช้ใหม่ได้ บางชนิดไม่สามารถหลอมแล้วนำ�มาใช้ใหม่ได้
แต่มีสมบตั โิ ดยรวมทเี่ หมอื นกนั เชน่ น�ำ้ หนักเบา เปน็ ฉนวนไฟฟ้า สามารถทำ�ให้เปน็ สีตา่ ง ๆ ได้ ไมเ่ ปน็ สนมิ
พลาสตกิ แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ชนดิ คอื เทอรโ์ มพลาสตกิ (thermoplastic) และเทอรโ์ มเซตตง้ิ พลาสตกิ (thermosetting plastic)
เทอร์โมพลาสติกเม่ือได้รับความร้อนจะอ่อนตัวและเปล่ียนรูปร่างได้ สามารถหลอมแล้วนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ ทนต่อแรงดึงได้สูง
พลาสตกิ ชนิดนี้ เชน่ พอลิเอทลิ ีน พอลิสไตรนี พอลิไวนลิ คลอไรด์ (พีวซี ี) ใชง้ านหลายหลาย เชน่ ถุงใส่ของ ชอ้ น ขวดน�ำ้ กะละมัง
ถงั ขยะ สว่ นเทอรโ์ มเซตตง้ิ พลาสตกิ ทนความรอ้ นสงู แขง็ แรง แตไ่ มส่ ามารถหลอมแลว้ น�ำ มาใชใ้ หมไ่ ด้ พลาสตกิ ชนดิ น้ี เชน่ เมลามนี
พอลิยูรเี ทน ตัวอยา่ งการใช้งาน เชน่ จานชาม สายไฟ ปลัก๊ ไฟ โฟมกันกระแทก รองเท้า

ค่มู ือการใช้หลกั สตู ร | กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 41
ตัวอย่างหน่วยการเรยี นรู้ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1

พอลเิ อทลิ ีน พอลสิ ไตรนี พอลิไวนิลคลอไรด์ เมลามนี

ภาพผลติ ภัณฑท์ ีท่ �ำ จากพลาสตกิ ชนดิ ตา่ ง ๆ

4. ยาง (rubber)
คือ วัสดุท่ีมีความยืดหยุ่น เมื่อออกแรงดึงหรือกด ยางจะยืดหรือยุบและกลับสู่สภาพเดิมได้เม่ือปล่อยให้ยางเป็นอิสระ
ยางแบ่งเปน็ 2 ประเภทคือ ยางธรรมชาติ (natural rubber) และยางสงั เคราะห์ (synthetic rubber) ยางธรรมชาตไิ ดม้ าจาก
ต้นยาง มคี วามยดื หยุน่ สูง ทนตอ่ การฉกี ขาดและการสกึ หรอ แต่ไม่ทนต่อตวั ทำ�ละลายพวกน้ำ�มันปโิ ตรเลียม และเส่ือมสภาพเร็ว
ภายใตแ้ สงแดด ความร้อน ออกซเิ จน และโอโซน การใชง้ าน เชน่ ถุงมอื ยาง ยางรัดของ ลูกโป่ง ยางรถยนต์ สว่ นยางสงั เคราะห์
ได้มาจากการสังเคราะห์ทางเคมีเพ่ือเลียนแบบยางธรรมชาติ สามารถปรับปรุงสมบัติให้ดีขึ้นหลายด้าน เช่น ทนต่อเปลวไฟ
สภาพอากาศ แสงแดด สารเคมีและนำ้�มันได้ตามต้องการ ทนทานต่อการใช้งานและเส่ือมสภาพได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ แต่มี
ราคาแพงกว่า ตัวอย่างการใชง้ าน เชน่ ยางรถยนต์ แปน้ พิมพค์ อมพิวเตอร์ซลิ โิ คน พนื้ รองเทา้ ยางขอบหน้าตา่ ง

ภาพผลิตภัณฑท์ ท่ี ำ�จากยาง

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) คมู่ ือการใช้หลกั สูตร| กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
42 ตัวอย่างหนว่ ยการเรยี นรู้ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1

ใบความร้ทู ี่ 2
เรือ่ ง เคร่ืองมือชา่ งพ้นื ฐาน

เครื่องมือช่างพื้นฐานเป็นสิ่งจำ�เป็นในการสร้างชิ้นงานเน่ืองจากเป็นส่ิงท่ีช่วยในการ
ทำ�งานในหลาย ๆ ด้าน เช่น ช่วยในการผอ่ นแรง ทำ�งานไดเ้ ร็วข้ึน ละเอยี ด แม่นยำ�มากขึ้น
ปรับแต่งช้ินงานให้ได้รูปร่างลักษณะที่ต้องการและเรียบร้อยสวยงาม การรู้จักเลือกใช้
เครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน ใช้อย่างถูกต้องและปลอดภัยจึงมีความสำ�คัญท้ังต่อผู้ปฏิบัติ
งานเองและความสำ�เร็จของงาน

เครอ่ื งมอื ชา่ งในการท�ำ งานมตี ง้ั แตเ่ ครอ่ื งมอื อยา่ งงา่ ย ไมม่ กี ลไกซบั ซอ้ น ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทว่ั ไปสามารถใชไ้ ดโ้ ดยไมต่ อ้ งฝกึ ใชม้ ากนกั
ไปจนถงึ เครอ่ื งมอื ชา่ งทมี่ กี ลไกซบั ซอ้ นมากขนึ้ มรี ะบบไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ปน็ สว่ นประกอบซงึ่ ตอ้ งใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะทม่ี ากขน้ึ
ในการทำ�งานกับเคร่ืองมือช่างเหล่านี้ สำ�หรับเครื่องมือช่างพื้นฐานในระดับช้ันน้ี ประกอบด้วยเคร่ืองมือสำ�หรับการวัด การตัด
การติดยดึ และการเจาะ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

1. การวัดความยาว เช่น ไม้บรรทดั ตลบั เมตร

2. การวัดมุม เช่น ไม้โพรแทรกเตอร์

3. การตดั เช่น คตั เตอร์ กรรไกร เลือ่ ยลอ เลอื่ ยฉลุ คีมตัด

3.1 คัตเตอร์ เหมาะสำ�หรับการตัดที่ต้องการความเรียบ 3.2 กรรไกร เหมาะสำ�หรับการตัดวัสดทุ ่ีเปน็ แผ่นบาง เชน่
ตรง ควรใช้กบั แผ่นรองตดั เพอื่ ป้องกนั พ้ืนผวิ เป็นรอย กระดาษ สามารถตดั แบบที่มรี ูปร่างโค้งได้

คมู่ อื การใชห้ ลกั สตู ร | กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 43
ตวั อยา่ งหน่วยการเรียนรู้ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1

3.3 เล่ือยลอ เหมาะสำ�หรับ 3.4 เลื่อยฉลุ เหมาะสำ�หรับงานตดั โคง้ 3.5 คีมตัด ใช้ตัด ปอกวัสดุชิ้นเล็กท่ี
การตัดผิวหรือรอยต่อหน้าไม้ ทำ�ลวดลายกับแผ่นชิ้นงานที่ไม่ใหญ่ ไมแ่ ขง็ มากนัก เชน่ สายไฟ เส้นลวด
ให้เรยี บตรง และ หนามากนกั

4. การตดิ ยดึ เช่น กาวลาเท็กซ์ กาวร้อน กาวแท่ง ปืนกาว ไขควง สกรู

4.1 กาวลาเท็กซ์ กาว 4.2 กาวร้อน ยดึ ตดิ วัสดตุ ่าง ๆ 4.3 กาวแทง่ ใชย้ ดึ ตดิ 4.4 ปนื กาว ยดึ ตดิ วสั ดปุ ระเภท
กระดาษ ไม้ ยาง พลาสตกิ
ชนดิ นแ้ี หง้ ชา้ ทาวสั ดแุ ลว้ ไดเ้ กือบทุกชนิด แห้งเรว็ มาก วสั ดปุ ระเภทกระดาษ

ควรท้ิงไว้สักระยะหนึ่ง ตดิ เรยี บ ไมเ่ ลอะเทอะ

เหมาะสำ�หรับงานไม้ ผ้า ไม่ท�ำ ใหก้ ระดาษยน่

กระดาษ

4.5 ไขควง ใช้ขนั หรอื คลายสกรู ท่ีใชง้ านทวั่ ไป 4.6 สกรู ใช้ยึดวัตถุสองช้ิน สกรูเกลยี วปลอ่ ย
จะเปน็ แบบปากแบนกบั ปากแฉก ขน้ึ อยกู่ บั ลกั ษณะ เข้าดว้ ยกนั สกรมู หี ลายชนดิ เชน่ สกรู
ของหวั สกรู สกรู เกลียวปล่อย จะใช้เกลียว
เปน็ ตวั หมนุ เจาะเขา้ ไปในเนอ้ื วสั ดุ

สกรูหัวเหล่ียมและนอต จะต้อง

เจาะรูชิ้นงาน แล้วจึงขันสกรู นอต

และนอต สามารถถอดและยึด

เพอ่ื ประกอบชน้ิ งานใหมไ่ ด้

5. การเจาะ เชน่ สวา่ นมอื สวา่ นไฟฟ้า สกรหู ัวเหลย่ี ม

5.1 สวา่ นมือ ใชเ้ จาะรขู นาดเลก็ เหมาะสำ�หรับ 5.2 สว่านไฟฟ้า ใช้เจาะรู
งานไม้ โลหะ พลาสติก ที่มชี ้นิ งานไมห่ นามาก เหมาะสำ�หรับ งานไม้
งานโลหะ งานกอ่ สร้าง

ตวั อย่างหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3

เรอ่ื ง การแกป้ ญั หาตามกระบวนการ
ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

1. ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้

1.1 ตัวชว้ี ัด

1) ระบปุ ญั หาหรอื ความตอ้ งการในชวี ิตประจำ�วัน รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูลและแนวคิดทเี่ กีย่ วขอ้ งกับปญั หา
2) ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา โดยวเิ คราะห์เปรยี บเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลทีจ่ ำ�เป็น น�ำ เสนอแนวทาง
การแกป้ ัญหาใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจ วางแผนและดำ�เนินการแกป้ ญั หา
3) ทดสอบ ประเมนิ ผล และระบขุ ้อบกพร่องทเ่ี กดิ ขน้ึ พรอ้ มทัง้ หาแนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ข และนำ�เสนอ
ผลการแกป้ ัญหา
4) ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะเกยี่ วกบั วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื กลไก ไฟฟา้ หรอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ พอ่ื แกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ ง
ถูกตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั

1.2 สาระการเรียนรู้

1) ปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำ�วันพบได้จากหลายบริบทขึ้นกับสถานการณ์ท่ีประสบ เช่น
การเกษตร การอาหาร
2) การแกป้ ญั หาจ�ำ เปน็ ตอ้ งสบื คน้ รวบรวมขอ้ มลู ความรจู้ ากศาสตรต์ า่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารออกแบบ
แนวทางการแก้ปญั หา
3) การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจำ�เป็น โดยคำ�นึงถึงเง่ือนไขและทรัพยากรที่มีอยู่
ชว่ ยให้ไดแ้ นวทางการแก้ปัญหาทเี่ หมาะสม
4) การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หาท�ำ ไดห้ ลากหลายวธิ ี เชน่ การรา่ งภาพ การเขยี นแผนภาพ การเขยี นผงั งาน
5) การกำ�หนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทำ�งานก่อนดำ�เนินการแก้ปัญหาจะช่วยให้ทำ�งานสำ�เร็จได้
ตามเป้าหมายและลดข้อผดิ พลาดของการทำ�งานท่อี าจเกิดขนึ้
6) การทดสอบและประเมนิ ผลเปน็ การตรวจสอบชนิ้ งานหรอื วธิ กี ารวา่ สามารถแกป้ ญั หาไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์
ภายใตก้ รอบของปัญหา เพ่อื หาข้อบกพรอ่ ง และดำ�เนินการปรับปรุงโดยอาจทดสอบซ�ำ้ เพอ่ื ให้สามารถแกไ้ ขปญั หาได้
7) การน�ำ เสนอผลงานเปน็ การถา่ ยทอดแนวคดิ เพอื่ ใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจเกย่ี วกบั กระบวนการท�ำ งานและชน้ิ งานหรอื
วิธีการทไ่ี ด้ ซงึ่ สามารถท�ำ ไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การเขียนรายงาน การท�ำ แผ่นน�ำ เสนอผลงาน การจดั นทิ รรศการ การน�ำ เสนอ
ผา่ นส่อื ออนไลน์
8) วัสดแุ ตล่ ะประเภทมีสมบัติแตกตา่ งกัน เช่น ไม้ โลหะ พลาสตกิ จงึ ต้องมีการวิเคราะห์สมบัตเิ พ่ือเลือกใช้
ใหเ้ หมาะสมกบั ลักษณะของงาน
9) การสรา้ งชนิ้ งานอาจใช้ความรู้ เร่อื งกลไก ไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เช่น LED บซั เซอร์ มอเตอร์ วงจรไฟฟา้
10) อุปกรณ์และเคร่ืองมือในการสร้างช้ินงานหรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง
เหมาะสม และปลอดภยั รวมทง้ั ร้จู ักเก็บรักษา

คู่มอื การใช้หลกั สูตร | กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 45
ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรียนรู้ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1

2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

2.1 ใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมในการสรา้ งพดั ลมจวิ๋ ตามสถานการณ์ท่กี ำ�หนด
2.2 ใชอ้ ปุ กรณห์ รอื เครื่องมือช่างพน้ื ฐานในการสร้างพัดลมจว๋ิ ได้อย่างถกู ตอ้ งและปลอดภยั

3. ทักษะและกระบวนการ

3.1 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
3.2 ทกั ษะการสื่อสาร
3.3 ทกั ษะการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ
3.4 ทักษะการคดิ เชิงระบบ
3.5 ทักษะความคิดสร้างสรรค์
3.6 ทักษะการท�ำ งานร่วมกับผอู้ ่นื

4. สาระส�ำ คัญ

การสร้างพัดลมจ๋ิวตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่สามารถพกพาได้สะดวก ใช้พลังงานไฟฟ้ากระแสตรง
จำ�เป็นต้องวิเคราะห์และเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมกับการสร้างชิ้นงานโดยคำ�นึงถึงสมบัติของวัสดุ และประเภทของวัสดุ
ทีแ่ ตกต่างกัน เชน่ ไม้ โลหะ พลาสตกิ การลงมอื สรา้ งพดั ลมจ๋วิ จะตอ้ งใช้เคร่อื งมือชา่ งพนื้ ฐานส�ำ หรบั การวดั การตัด
การยึดติด และการเจาะ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความประณีตในการทำ�งาน โดยต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
ประเภทของงาน มีการใชง้ านอยา่ งถูกต้อง และค�ำ นงึ ถงึ ความปลอดภัย

5. ส่ือประกอบการเรียนรู้

5.1 ใบกิจกรรมที่ 1 อากาศร้อน
5.2 ใบกจิ กรรมที่ 2 สมบตั ิของวสั ดุ
5.3 ใบกิจกรรมท่ี 3 ออกแบบพดั ลมจวิ๋
5.4 ใบกิจกรรมที่ 4 ทดสอบการท�ำ งานพดั ลมจวิ๋
5.5 ใบความร้ทู ี่ 1 องค์ประกอบและการท�ำ งานของพดั ลม
5.6 ใบความรู้ท่ี 2 การตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบสองทางเลือก
5.7 วีดิทศั นแ์ ละภาพของมนษุ ย์ท่ีเผชญิ กบั อากาศรอ้ น
5.8 ภาพวิธีการต่าง ๆ ท่มี นษุ ยใ์ ชเ้ พอื่ คลายความร้อน
5.9 กระดาษ A4 หนา 150 แกรม กล่มุ ละ 2 แผ่น
5.10 อปุ กรณส์ �ำ หรับทดสอบใบพัด ไดแ้ ก่ กรรไกร 1 เล่ม มอเตอร์ขนาดเล็กทใ่ี ช้กับถา่ นไฟฉาย (ขนาด AA จ�ำ นวน
2 กอ้ น) 1 ตัว และถา่ นไฟฉายขนาด AA 2 กอ้ น กลุม่ ละ 1 ชุด
5.11 อุปกรณ์ส�ำ หรบั สร้างพดั ลมจว๋ิ ได้แก่ ไม้อดั หรือไมบ้ ัลซา แผน่ พลาสติก กระดาษ กระปอ๋ งน้ำ�อัดลม มอเตอร์
ขนาดเลก็ ทใ่ี ชก้ บั ถา่ นไฟฉาย (ขนาด AA จ�ำ นวน 2 กอ้ น) และถา่ นไฟฉายขนาด AA รางถา่ น สายไฟ สวติ ช์ ลกู บอลเดก็ เลน่
5.12 กล่องวดั ขนาดของพัดลมจ๋วิ ขนาด 8 เซนตเิ มตร x 8 เซนติเมตร x 8 เซนติเมตร

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ค่มู ือการใชห้ ลักสตู ร| กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
46 ตวั อย่างหน่วยการเรียนรู้ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1

6. แนวทางการจัดการเรียนรู้

6.1 การจัดเตรียม
จัดเตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์ สื่อของจริง ใบกิจกรรมและใบความรู้ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 อากาศรอ้ น

1) สื่อวดี ิทัศน์และภาพของมนษุ ย์ทเ่ี ผชญิ กบั อากาศรอ้ น
2) ภาพวิธีการต่าง ๆ ท่มี นษุ ยใ์ ชเ้ พอ่ื คลายความรอ้ น
3) ใบกิจกรรมท่ี 1 อากาศรอ้ น

กจิ กรรมที่ 2 สนุกกับใบพดั

1) กระดาษ A4 หนา 150 แกรม กลุม่ ละ 2 แผ่น
2) อุปกรณ์ 1 ชุดต่อกลุ่ม ซ่ึงประกอบด้วย กรรไกร 1 เล่ม มอเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้กับถ่านไฟฉาย
(ขนาด AA จำ�นวน 2 กอ้ น) 1 ตวั และถา่ นไฟฉายขนาด AA 2 กอ้ น

กิจกรรมที่ 3 เลือกวสั ดทุ ำ�ใบพดั ลมจิว๋

1) ใบกจิ กรรมท่ี 2 สมบตั ิของวสั ดุ

กจิ กรรมท่ี 4 ออกแบบและสร้างพัดลมจิ๋ว

1) วสั ดสุ �ำ หรบั สร้างพดั ลมจิ๋ว เช่น ไมอ้ ดั หรือไมบ้ ลั ซา แผ่นพลาสตกิ กระดาษ กระปอ๋ งน้�ำ อดั ลม มอเตอรข์ นาดเลก็
ทีใ่ ชก้ บั ถ่านไฟฉาย (ขนาด AA จำ�นวน 2 ก้อน) และถา่ นไฟฉายขนาด AA กระบะ สายไฟ สวติ ช์
2) ใบกิจกรรมท่ี 3 ออกแบบพดั ลมจ๋ิว
3) ใบกจิ กรรมท่ี 4 ทดสอบการท�ำ งานพัดลมจว๋ิ
4) ใบความรู้ที่ 1 องคป์ ระกอบและการท�ำ งานของพดั ลม
5) ใบความร้ทู ี่ 2 การตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบสองทางเลอื ก
6) อปุ กรณ์และเครอื่ งมอื ช่างพื้นฐานส�ำ หรับสร้างพดั ลมจวิ๋ เชน่ คัตเตอร์ กรรไกร ไม้บรรทดั กาว
7) ลูกบอลยางขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง 3 - 4 น้ิว เพอ่ื ใชท้ ดสอบแรงลมจากพดั ลมจว๋ิ ทผี่ เู้ รยี นประดษิ ฐ์
8) กลอ่ งวัดขนาดของพดั ลมจิ๋ว ขนาด 8 เซนติเมตร x 8 เซนติเมตร x 8 เซนติเมตร

คมู่ ือการใชห้ ลักสตู ร | กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 47
ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1

6.2 ข้นั ตอนดำ�เนินการ

กิจกรรมที่ 1 อากาศรอ้ น

1. ผู้สอนใช้วีดิทัศน์และภาพของมนุษย์ท่ีเผชิญกับอากาศร้อน
ให้ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายถึงวิธีการที่ใช้ในการคลายร้อนตาม
ความคิดของผเู้ รียน เชน่ การพดั โดยใช้มือ การอาบนำ�้ การใชพ้ ดั ลม
การเปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศ ฯลฯ โดยบนั ทกึ ลงในใบกจิ กรรมท่ี 1 อากาศรอ้ น
2. ผู้สอนก�ำ หนดสถานการณใ์ ห้ผเู้ รยี นหาวธิ คี ลายร้อนด้วยตนเอง

“เมอ่ื เดนิ ทางไปตามสถานทต่ี า่ ง ๆ และเจอกบั อากาศรอ้ น เรามกั จะใชส้ งิ่ ของ
รอบตัวมาพัดเพื่อให้เกิดลมท่ีสามารถคลายร้อนได้ แตเ่ ม่อื พัดเป็นเวลานานจะเกดิ
ความเมอ่ื ยลา้ จงึ ตอ้ งการหาวธิ กี ารทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ลมไดเ้ องโดยไมต่ อ้ งออกแรงพดั ”
3. ผู้สอนและผูเ้ รยี นร่วมกันอภิปรายเก่ยี วกับลกั ษณะของสิง่ ของต่าง ๆ ทใ่ี ชพ้ ัดเพือ่ ท�ำ ให้เกิดลมวา่ มลี กั ษณะอยา่ งไร
จนได้ข้อสรปุ ร่วมกนั เพ่อื นำ�ไปสกู่ ารสร้างใบพัด

กจิ กรรมที่ 2 สนกุ กบั ใบพดั

1. ผู้สอนจัดกิจกรรมเพ่ือให้ผู้เรียนศึกษาปัจจัยการเกิดลมของใบพัด ได้แก่ ลักษณะการหมุนของใบพัด ขนาดของ
ใบพดั (พ้ืนทีข่ องใบพัด) รปู ร่างของใบพดั และน้ำ�หนกั ของใบพดั ทม่ี ีผลต่อการเกิดลม
2. ผเู้ รียนแตล่ ะกล่มุ สรา้ งใบพัด 4 ใบ จำ�นวน 3 ชุด โดยตัดกระดาษ A4 หนา 150 แกรม ขนาดกวา้ ง 4 เซนติเมตร
ยาว 14 เซนติเมตร จำ�นวน 8 ช้ิน จากนั้นนำ�กระดาษที่ตัดแล้ว 2 ชิ้นมาวางทับกันเป็นรูปกากบาท ยึดติดกระดาษ
ทง้ั สองดว้ ยกาวหรอื เทปใส จะไดใ้ บพดั แบบท่ี 1 ท�ำ ใบพดั เชน่ นอ้ี กี เปน็ แบบที่ 2 แตใ่ หพ้ บั ความยาวของกระดาษท�ำ ใบพดั
ลดลงครง่ึ หนง่ึ ใบพดั แบบที่ 3 เกดิ จากการตดั กระดาษ A4 หนา 150 แกรม ขนาดกวา้ ง 2 เซนตเิ มตร ยาว 14 เซนตเิ มตร
จ�ำ นวน 4 ชิ้น มาวางทบั กันเป็นรูปกากบาท ยึดติดกระดาษทัง้ สองดว้ ยกาวหรอื เทปใส จากนั้นนำ�ใบพัดทง้ั 3 แบบมาตดิ
กับแกนมอเตอรท์ ตี่ ่อกบั แหล่งกำ�เนิดไฟฟา้ เพื่อทดสอบการหมนุ พร้อมสงั เกตแรงลมที่เกิดจากการหมนุ ทั้ง 3 แบบ
(หมายเหตุ สามารถใชก้ าวสารพดั ประโยชน์ ตดิ ระหวา่ งใบพดั กบั แกนของมอเตอรเ์ พอ่ื ใหใ้ บพดั และแกนของมอเตอร์
ติดกนั มากขึ้น)

ใบพดั แบบท่ี 1 ใบพดั แบบท่ี 2 ใบพดั แบบที่ 3

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ค่มู ือการใชห้ ลกั สตู ร| กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
48 ตัวอยา่ งหนว่ ยการเรยี นรู้ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1

3. ให้ผู้เรียนน�ำ ใบพัดในข้อ 2 ทัง้ 3 แบบ มาพบั ใบพดั ตามรอยประดงั ภาพด้านล่าง แล้วทดสอบการหมุนของใบพดั
โดยติดเขา้ กับแกนมอเตอร์ สังเกตลมทีเ่ กิดจากการหมุนของใบพัดท้ัง 3 แบบ

ใบพดั แบบที่ 1 ใบพดั แบบที่ 2 ใบพัด แบบท่ี 3

4. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายร่วมกันว่า ขนาดของใบพัด (พื้นท่ีของใบพัด) และรูปร่างของใบพัด มีผลต่อแรงลม
หรือไม่ อยา่ งไร
5. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทดสอบการหมุนของใบพัดอีกครั้ง โดยพิจารณาจากน้ำ�หนักของใบพัดว่านำ้�หนักของใบพัด
มผี ลต่อแรงลมหรือไม่
6. ผเู้ รยี นท�ำ ใบพดั แบบที่ 1 และ 2 พรอ้ มกบั พบั ตามรอยประตามแบบในขอ้ 3 อกี หนง่ึ ชดุ แลว้ เพมิ่ น�ำ้ หนกั ของใบพดั
โดยการน�ำ เหรียญหน่ึงบาทมาตดิ ที่ส่วนกลางของใบพดั ท้ัง 4 ใบของแต่ละแบบ แลว้ ทดสอบการหมุนของใบพัดโดยตดิ
เขา้ กับแกนมอเตอร์ พรอ้ มสงั เกตแรงลมทีเ่ กดิ ขึ้นโดยเปรียบเทยี บระหว่างใบพัดแบบเดยี วกนั ท่มี เี หรยี ญและไมม่ ีเหรยี ญ

ใบพัด แบบท่ี 1 ใบพดั แบบที่ 2

7. ผสู้ อนและผู้เรยี นรว่ มกันสรปุ ว่านำ�้ หนกั ของใบพดั มีผลต่อแรงลมหรือไม่

คูม่ ือการใชห้ ลักสตู ร | กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 49
ตวั อย่างหนว่ ยการเรยี นรู้ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1

กจิ กรรมที่ 3 เลอื กวสั ดทุ ำ�ใบพัดลม

1. ผสู้ อนร่วมอภปิ รายกับผเู้ รียนเพอ่ื ทบทวนความรู้เก่ียวกบั สมบตั ขิ องวสั ดุประเภทต่าง ๆ เชน่ ไม้ กระดาษ โลหะ
พลาสติก และการเลือกใช้เคร่อื งชา่ งพ้ืนฐานท่เี หมาะสมกบั ลกั ษณะงาน เช่น เครอ่ื งมือสำ�หรบั การวดั การตดั การยดึ ติด
2. แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามความเหมาะสมเพ่ือวิเคราะห์สมบัติของวัสดุพร้อมกับเลือกวัสดุและเคร่ืองมือช่างพื้นฐาน
ทจ่ี ะนำ�มาใช้สร้างใบพดั ลมและให้เหตุผลประกอบ โดยบันทึกลงในใบกจิ กรรมท่ี 2 สมบัตขิ องวสั ดุ
3. แต่ละกลมุ่ น�ำ เสนอผลการวิเคราะหก์ ารเลือกวัสดุท่ีจะนำ�มาท�ำ ใบพัดลมพรอ้ มอธิบายเหตุผลประกอบ ผสู้ อนและ
ผเู้ รียนร่วมกนั อภิปรายและสรุปเก่ยี วกับสมบตั ิของวสั ดุ

กิจกรรมท่ี 4 ออกแบบและสร้างพดั ลมจิ๋ว

1. ผสู้ อนกำ�หนดสถานการณ์ปญั หาว่า
“ให้ออกแบบและสร้างพัดลมจิ๋วที่สามารถพกพาและใช้งานได้สะดวก โดยสามารถบรรจุในกล่องท่ีมีขนาด
กว้าง 8 เซนติเมตร ยาว 8 เซนติเมตร สูง 8 เซนติเมตร ใช้ถ่านไฟฉายขนาด AA จ�ำ นวน 2 กอ้ น และมอเตอร์ขนาดเลก็
ที่ใช้กับถ่านไฟฉาย (ขนาด AA จำ�นวน 2 ก้อน) โดยใช้วัสดุท่ีเหมาะสม นำ้�หนักน้อยท่ีสุด และให้แรงลมมากท่ีสุดใน
ระยะหา่ ง 10 เซนติเมตร”
2. ผเู้ รยี นศึกษาใบความร้ทู ่ี 1 องค์ประกอบและการทำ�งานของพดั ลม เพือ่ ใชเ้ ป็นข้อมูลการออกแบบพัดลมจ๋ิว เช่น
ใบพัดและการทำ�งานของใบพัด มอเตอร์ขบั เคล่อื น ระบบวงจรไฟฟ้า
3. ผสู้ อนทบทวนความรเู้ กยี่ วกบั การตอ่ วงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รม พรอ้ มทง้ั อธบิ ายเพมิ่ เตมิ ในกรณที ตี่ อ้ งการปรบั ความ
แรงของลม สามารถใช้สวิตช์แบบสามขาสองทางควบคกู่ บั การตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบอนกุ รมสองทางเลอื ก โดยใช้ใบความรู้
ท่ี 2 การตอ่ วงจรไฟฟา้ แบบสองทางเลือก ประกอบการอธิบาย
4. ผเู้ รียนแต่ละกลมุ่ สำ�รวจวสั ดุแล้วระดมความคิดเพอื่ ออกแบบพัดลมจิว๋ จากนัน้ ออกแบบพัดลมเป็นภาพ โดยระบุ
วสั ดทุ ใ่ี ชพ้ รอ้ มอธบิ ายเหตผุ ลประกอบ พรอ้ มวาดวงจรไฟฟา้ ของพดั ลม แลว้ บนั ทกึ ลงในใบกจิ กรรมท่ี 3 ออกแบบพดั ลมจว๋ิ
5. ผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอแบบพดั ลมจ๋ิว โดยอธิบายในประเด็น แนวคิดในการออกแบบ และวสั ดทุ ่ีใช้ พร้อมท้งั
เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นในชั้นรว่ มอภิปรายหรอื ซกั ถามเกย่ี วกับการออกแบบพดั ลมจว๋ิ ของกลุม่ ที่นำ�เสนอ
6. ผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ ลงมอื สรา้ งพดั ลมจวิ๋ ตามทไี่ ดอ้ อกแบบไว้ โดยผสู้ อนควรเนน้ เกย่ี วกบั การใชเ้ ครอ่ื งมอื ชา่ งพนื้ ฐาน
อย่างปลอดภยั
7. ผสู้ อนช้ีแจงประเดน็ ในการทดสอบชิ้นงานตามเง่ือนไขท่ีระบุในสถานการณด์ ังนี้
1) ขนาดของพัดลม ต้องสามารถบรรจุในกลอ่ งทีม่ ขี นาด กวา้ ง 8 เซนตเิ มตร ยาว 8 เซนติเมตร สงู 8 เซนตเิ มตร
2) น้ำ�หนักของพัดลม โดยนำ�ไปชั่งกับตาช่ังท่เี ตรียมไว้
3) ความแรงของลม ทดสอบโดยก�ำ หนดใหท้ กุ กลมุ่ น�ำ พดั ลมมาทดสอบกบั ลกู บอลยางทม่ี เี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางขนาด
3-4 นิ้ว ให้ระยะห่างระหว่างลูกบอลยางกับพัดลมห่างกัน 10 เซนติเมตร จากน้ันเปิดสวิตช์เป็นเวลา
5 วนิ าทแี ล้วสังเกตวา่ ลกู บอลเคลอื่ นท่ไี ปได้ระยะทางเทา่ ไหร่ ทำ�การทดสอบ 3 ครง้ั แล้วหาคา่ เฉล่ยี
4) ทศิ ทางลม ทดสอบโดยการสงั เกตว่าเม่ือเปดิ สวิตช์ให้พัดลมทำ�งาน ลกู บอลมกี ารเคลอ่ื นท่ีไปข้างหนา้ หรอื ไม่
5) ความคงทน แขง็ แรง ทดสอบโดยหลงั จากการทดสอบการท�ำ งานแลว้ พดั ลมเกดิ การช�ำ รดุ เสยี หายสว่ นใดหรอื ไม่
8. แต่ละกลุ่มนำ�พัดลมจิ๋วท่ีสร้างขึ้นมาทดสอบการท�ำ งานตามเง่ือนไขท่ีกำ�หนด พร้อมท้ังบันทึกการทดสอบว่าเกิด
ขอ้ บกพรอ่ งอยา่ งไร เพอื่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบการแกไ้ ขชนิ้ งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพดยี ง่ิ ขน้ึ โดยบนั ทกึ ผลการทดสอบลงใน
กจิ กรรมท่ี 4 ทดสอบการท�ำ งานพดั ลมจ๋วิ

สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ค่มู ือการใช้หลักสตู ร| กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
50 ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1

9. ผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ น�ำ ผลจากการทดสอบมาระดมความคดิ เพอื่ หาแนวทางในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขจากนน้ั ลงมอื ปรบั ปรงุ
แก้ไขชิน้ งาน แล้วนำ�ไปทดสอบการทำ�งานอีกครัง้
10. ผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอขน้ั ตอนการสรา้ งพดั ลมจว๋ิ ตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี
1) แนวคดิ ในการออกแบบ
วัสดุและเครอื่ งมือท่ีใชส้ ร้าง
ขนาดและน้ำ�หนกั ของพดั ลมจิว๋
วงจรไฟฟา้ ทีใ่ ช้
2) การวางแผนและสร้างพดั ลมจว๋ิ
3) การทดสอบและปรับปรงุ แก้ไขพัดลมจว๋ิ
4) ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ หรือแนวทางการพฒั นาให้ช้นิ งานมีประสทิ ธิภาพยิ่งขน้ึ
11. ผ้สู อนและผูเ้ รยี นร่วมกันอภิปรายและสรปุ เกยี่ วกบั การทำ�กิจกรรมในประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้
1) พดั ลมจิว๋ ทผ่ี ู้เรยี นสรา้ งขึน้ แก้ปญั หาไดต้ ามสถานการณท์ ก่ี ำ�หนดไวไ้ ดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
2) วสั ดทุ ใ่ี ชส้ ร้างใบพดั เปน็ อย่างไร เพราะเหตุใด
3) ขนาด รูปรา่ ง และนำ้�หนักของใบพดั มผี ลต่อความแรงของลมอยา่ งไร เพราะเหตุใด

7. การวัดและประเมินผล

รายการประเมนิ วิธีการวดั เครือ่ งมอื วัด เกณฑ์การประเมินการผ่าน

1. การใช้กระบวนการออกแบบ 1. ตรวจใบกิจกรรม ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื ง สภาพอากาศรอ้ น คะแนน 29-42 หมายถึง ดี
เชิงวิศวกรรมในการสรา้ ง ใบกจิ กรรมท่ี 2 เรอ่ื ง สมบตั ขิ องวสั ดุ คะแนน 15-28 หมายถึง พอใช้
พดั ลมจิว๋ ตามสถานการณ์ 2. สงั เกตพฤตกิ รรม ใบกจิ กรรมท่ี 3 เรอ่ื ง ออกแบบพดั ลมจว๋ิ คะแนน 1-14 หมายถงึ ปรบั ปรงุ
ทก่ี ำ�หนด สังเกตพฤติกรรม ใบกจิ กรรมท่ี 4 เรอ่ื ง ทดสอบการ ผู้เรียนไดร้ ะดบั คุณภาพ พอใช้ ข้นึ ไป
ถอื ว่าผ่าน
2. การใชอ้ ปุ กรณห์ รอื เครอ่ื งมอื ชา่ ง สงั เกตพฤตกิ รรม ท�ำ งานพดั ลมจว๋ิ
พน้ื ฐานในการสรา้ งพดั ลมจว๋ิ ได้ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ้เู รยี นไดร้ ะดบั 2 ขนึ้ ไปถอื วา่ ผ่าน
อยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภยั แบบสงั เกตพฤติกรรม
สังเกตพฤตกิ รรม
3. ความสำ�เรจ็ ของช้นิ งาน สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
4. กระบวนการออกแบบเชงิ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม
สงั เกตพฤติกรรม
วศิ วกรรม สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม
ทกั ษะการสอ่ื สาร แบบสงั เกตพฤติกรรม
ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ แบบสังเกตพฤตกิ รรม
ทักษะการคดิ เชงิ ระบบ แบบสังเกตพฤติกรรม
ทักษะความคดิ สร้างสรรค์ แบบสังเกตพฤติกรรม
ทกั ษะการทำ�งานร่วมกับผ้อู ื่น


Click to View FlipBook Version