The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัฒนธรรมภาคเหนือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sarin Sinso, 2020-02-19 23:49:43

วัฒนธรรมภาคเหนือ

วัฒนธรรมภาคเหนือ

คำนำ

ภาคเหนือ หรือล้านนา ดนิ แดนแหง่ ความหลากหลาย
ทางประเพณีและวฒั นธรรมที่มีความน่าสนใจไมน่ ้อยไปกว่า
ภาคอื่นของไทย เพราะเป็ นเมืองท่ีเต็มไปด้วยเสนห่ ์มนตร์
ขลงั ชวนให้นา่ ขนึ ้ ไปสมั ผสั ความงดงามเหล่านีย้ ิง่ นกั สว่ น
บรรดานกั ท่องเที่ยวที่ไปเยี่ยมชม ตา่ งก็ประทบั ใจกบั สถานท่ี
ท่องเท่ียวมากมายและนา้ ใจอนั ล้นเหลือของชาวเหนือ ดงั นนั้
ใครที่ยงั ไม่มีโอกาสได้ไปเยือนสกั ครัง้ คงต้องไปแล้วละ่ คะ่ วา่
แล้วเราก็ขอนาประวตั เิ ล็ก ๆ น้อย ๆ พร้อมข้อมลู เกี่ยวกบั
วฒั นธรรมและประเพณีของภาคเหนือมาฝากกนั เผ่ือเป็น
ไกด์ให้เพ่อื น ๆ ได้ศกึ ษาหาข้อมลู ก่อนจะเดนิ ทางไปเยือน
เมืองเหนือ

ผ้จู ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ หนงั สือเลม่ นีจ้ ะมีประโยชน์
ไมม่ ากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดใด ๆ ต้อขออภยั ไว้ ณ ที่นี ้

ผ้จู ดั ทา
สาริน ซินโซ

สำรบญั หน้ำ

เร่ือง 4
ประวัตคิ วำมเป็ นมำภำคเหนือ 6
วฒั นธรรมทำงภำษำถ่นิ 7
วัฒนธรรมกำรแต่งกำย 11
วฒั นธรรมกำรกนิ 13
วัฒนธรรมเก่ียวกับศำสนำ-ควำมเช่อื 17
ประเพณีของภำคเหนือ
นิทำนพนื้ บ้ำน 28
เคร่ืองดนตรีพนื้ บ้ำน 32
กำรแสดงพนื้ เมืองภำคเหนือ
สถำนท่ที ่องเท่ยี วภำคเหนือ 37
41

ประวตั คิ วามเป็ นมาภาคเหนอื

แตเ่ ดมิ คนไทยแยกกนั อยเู่ ป็ นกลมุ่ ๆ กระจัดกระจายอยู่
ในแหลมอนิ โดจนี ชาวไทยทอ่ี ยทู่ างภาคเหนอื จะตงั้ บา้ น
เรอื น อยพู่ นื้ ทร่ี าบระหวา่ งเขา เป็ นพน้ื ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ ตาม
หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ คนไทยทอี่ ยทู่ างเหนอื มกี าร
สรา้ งบา้ นแปลงเมอื ง มกี ษัตรยิ ป์ กครองสบื มา ทป่ี รากฏ
ชดั เจนคอื อาณาจกั รน่านเจา้ อยบู่ รเิ วณแควน้ ยนู นานของ
จนี อาณาจกั รนถ้ี กู จนี ตแี ตกเมอ่ื พ.ศ. 1796

หลงั จากนัน้ อาณาจักรเชยี งแสน ซง่ึ เรมิ่ ตงั้ เมอื งมาตงั้ แต่

พทุ ธศตวรรษท่ี 16 กเ็ รมิ่ ขยายเป็ นอาณาจกั รขนึ้ แทน ครนั้

ถงึ พทุ ธศตวรรษที่ 18 คนไทยกลมุ่ ใหญท่ ส่ี ดุ ก็รวมตวั กนั
ตงั้ บา้ นเมอื งแยกเป็ น 3 อาณาจักรชดั เจน คอื อาณาจกั ร
เชยี งแสนอยทู่ างภาคเหนอื อาณาจกั รสโุ ขทยั อยภู่ าค
กลางและภาคใต ้ อาณาจกั รลา้ นชา้ งคอื ดนิ แดนฝั่ง

ตะวนั ออกแมน่ ้าโขง ปัจจบุ นั คอื ประเทศลาวและภาคอสี าน

ของไทย

วฒั นธรรมทางภาษาถนิ่

ชาวไทยทางภาคเหนอื มภี าษาลา้ นนาทนี่ ุ่มนวล
ไพเราะ ซง่ึ มภี าษาพดู และภาษาเขยี นทเี่ รยี กวา่ "คา
เมอื ง" ของภาคเหนอื เอง โดยการพดู จะมสี าเนยี งที่
แตกตา่ งกนั ไปตามพน้ื ที่ ปัจจบุ นั ยงั คงใชพ้ ดู
ตดิ ตอ่ สอ่ื สารกนั

วัฒนธรรมการแตง่ กาย

การแตง่ กายพน้ื เมอื งของภาคเหนอื มลี กั ษณะ
แตกตา่ งกนั ไปตามเชอ้ื ชาตขิ องกลมุ่ ชนคนเมอื ง
เนอื่ งจากผคู ้ นหลากหลายชาตพิ ันธอุ์ าศยั อยใู่ นพนื้ ที่
ซงึ่ บง่ บอกเอกลกั ษณข์ องแตล่ ะพนื้ ถน่ิ

- หญงิ ชาวเหนอื จะนุ่งผา้ ซนิ่ หรอื ผา้ ถงุ มี
ความยาวเกอื บถงึ ตาตมุ่ ซงึ่ นยิ มนุ่งทงั้ สาวและคน
แก่ ผา้ ถงุ จะมคี วามประณตี งดงาม ตนี ซน่ิ จะมี
ลวดลายงดงาม สว่ นเสอ้ื จะเป็ นเสอ้ื คอกลม มี
สสี นั ลวดลายสวยงาม อาจหม่ สไบทบั และเกลา้

ผม

- ผชู ้ ายนยิ มนุ่งนุ่งกางเกงขายาวลกั ษณะแบบ
กางเกงขายาวแบบ 3 สว่ น เรยี กตดิ ปากวา่ "เตย่ี ว"
"เตย่ี วสะดอ" หรอื "เตยี่ วก"ี ทาจากผา้ ฝ้าย ยอ้ มสี
น้าเงนิ หรอื สดี า และสวมเสอ้ื ผา้ ฝ้ายคอกลมแขนสนั้
แบบผา่ อก กระดมุ 5 เม็ด สนี ้าเงนิ หรอื สดี า ท่ี
เรยี กวา่ เสอื้ มอ่ ฮอ่ ม ชดุ นใ้ี สเ่ วลาทางาน หรอื คอจนี

แขนยาว อาจมผี า้ คาดเอว ผา้ พาดบา่ และมผี า้ โพก
ศรี ษะ

- ชาวบา้ นบางแหง่ สวมเสอ้ื มอ่ ฮอ่ ม นุ่ง
กางเกง สามสว่ น และมผี า้ คาดเอว เครอ่ื งประดบั

มกั จะเป็ นเครอื่ งเงนิ และเครอื่ งทอง

วัฒนธรรมการกนิ

ชาวเหนอื มวี ัฒนธรรมการกนิ คลา้ ยกบั คน
อสี าน คอื กนิ ขา้ วเหนยี วและปลารา้ ซงึ่ ภาษา
เหนอื เรยี กวา่ "ขา้ วนงิ่ " และ "ฮา้ " สว่ นกรรมวธิ ี
การปรงุ อาหารของภาคเหนอื จะนยิ มการตม้ ปิ้ง
แกง หมก ไมน่ ยิ มใชน้ ้ามนั สว่ นอาหารขน้ึ ชอื่
เรยี กวา่ ถา้ ไดไ้ ปเทย่ี วตอ้ งไปลมิ้ ลอง ไดแ้ ก่
น้าพรกิ หนุ่ม, น้าพรกิ ออ่ ง น้าพรกิ น้าปู ไสอ้ วั่ แกง
ฮงั เล, แคบหม,ู ผกั กาดจอ ลาบหม,ู ลาบเนอื้

จน้ิ สม้ ขา้ วซอย และขนมจนี น้าเงย้ี ว เป็ นตน้

นอกจากนชี้ าวเหนอื ชอบกนิ หมากและอม
เมยี่ ง โดยนาใบเมยี งทเ่ี ป็ นสว่ นใบออ่ นมาหมกั ให ้
มรี สเปรยี้ วอมฝาด เมอ่ื หมกั ไดร้ ะยะเวลาท่ี
ตอ้ งการ จะนาใบเมย่ี งมาผสมเกลอื เม็ด หรอื
น้าตาล แลว้ แตค่ วามชอบ ซงึ่ นอกจากการอม
เมยี่ งแลว้ คนลา้ นนาโบราณมคี วามนยิ มสบู บหุ รท่ี ่ี
มวนดว้ ยใบตองกลว้ ยมวนหนงึ่ ขนาดเทา่ นว้ิ มอื
และยาวเกอื บคบื ชาวบา้ นเรยี กจะเรยี กบหุ รชี่ นดิ น้ี
วา่ ขโ้ี ย หรอื บหุ รข่ี โี้ ย ทนี่ ยิ มสบู กนั มากอาจ
เนอื่ งมาจากอากาศหนาวเยน็ เพอ่ื ทาใหร้ า่ งกาย
อบอนุ่ ขนึ้

วัฒนธรรมเกยี่ วกบั ศาสนา-ความเชอ่ื

ชาวลา้ นนามคี วามผกู พนั อยกู่ บั การนับถอื ผซี งึ่
เชอ่ื วา่ มสี ง่ิ เรา้ ลบั ใหค้ วามคมุ ้ ครองรกั ษาอยู่ ซงึ่
สามารถพบเห็นไดจ้ ากการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั
เชน่ เมอื่ เวลาทตี่ อ้ งเขา้ ป่ าหรอื ตอ้ งคา้ งพักแรมอยู่
ในป่ า จะนยิ มบอกกลา่ วและขออนุญาตเจา้ ท-่ี เจา้
ทางอยเู่ สมอ และเมอ่ื เวลาทกี่ นิ ขา้ วในป่ าจะแบง่
อาหารบางสว่ นใหเ้ จา้ ทอี่ กี ดว้ ย เชน่ กนั ซง่ึ เหลา่ นี้
แสดงใหเ้ หน็ วา่ วถิ ชี วี ติ ทยี่ งั คงผกู ผนั อยกู่ บั การนับ
ถอื ผสี าง แบง่ ประเภท ดงั น้ี

- ผบี รรพบรุ ษุ มหี นา้ ทคี่ มุ ้ ครองเครอื ญาตแิ ละ
ครอบครวั
- ผอี ารกั ษ์ หรอื ผเี จา้ ทเ่ี จา้ ทาง มหี นา้ ทคี่ มุ ้ ครอง
บา้ นเมอื งและชมุ ชน
- ผขี นุ น้า มหี นา้ ทใ่ี หน้ ้าแกไ่ รน่ า
- ผฝี าย มหี นา้ ทค่ี มุ ้ ครองเมอื งฝาย
- ผสี บน้า หรอื ผปี ากน้า มหี นา้ ทค่ี มุ ้ ครองบรเิ วณท่ี
แมน่ ้าสองสายมาบรรจบกนั
- ผวี ญิ ญาณประจาขา้ ว เรยี กวา่ เจา้ แมโ่ พสพ
- ผวี ญิ ญาณประจาแผน่ ดนิ เรยี กวา่ เจา้ แมธ่ รณี

ทัง้ นช้ี าวลา้ นนาจะมกี ารเลย้ี งผบี รรพบรุ ษุ
ในชว่ งระหวา่ งเดอื น 4 เหนอื เป็ ง (มกราคม)
จนถงึ 8 เหนอื (พฤษภาคม) เชน่ ทอ่ี าเภอเชยี ง
คา จงั หวดั พะเยา จะมกี ารเลยี้ งผเี สอื้ บา้ นเสอื้
เมอื ง ซง่ึ เป็ นผบี รรพ บรุ ษุ ของชาวไทลอื้ พอ

หลงั จากนอ้ี กี ไมน่ านกจ็ ะมกี ารเลย้ี งผลี วั ะ หรอื
ประเพณบี ชู าเสาอนิ ทขลิ ซง่ึ เป็ นประเพณีเกา่ แก่

ของคนเมอื ง ไมน่ ับรวมถงึ การ เลย้ี งผมี ด ผเี ม็ง
และการเลยี้ งผปี ่ แู สะยา่ แสะของ ชาวล๊วั ะ ซง่ึ จะ

ทยอยทากนั ตอ่ จากนี้

สว่ นชว่ งกลางฤดรู อ้ นจะมกี ารลงเจา้ เขา้ ทรง
ตามหมบู่ า้ นตา่ ง ๆ อาจเป็ นเพราะความเชอ่ื ทว่ี า่
การลงเจา้ เป็ นการพบปะพดู คยุ กบั ผบี รรพบรุ ษุ ซงึ่

ในปีหนงึ่ จะมกี ารลงเจา้ หนงึ่ ครงั้ และจะถอื โอกาส

ทาพธิ รี ดน้าดาหวั ผบี รรพบรุ ษุ ไปดว้ ย ยังมพี ธิ ี

เลยี้ ง "ผมี ดผเี มง็ " ทจ่ี ดั ขน้ึ ครงั้ เดยี วในหนง่ึ ปี

โดยจะตอ้ งหาฤกษ์ยามทเ่ี หมาะสม กอ่ นวนั
เขา้ พรรษา จะทาพธิ อี ญั เชญิ ผเี มง็ มาลง เพอื่ ขอ
ใชช้ ว่ ยปกปักษ์รกั ษา คมุ ้ ครองชาวบา้ นทเ่ี จบ็ ป่ วย

และจัดหาดนตรเี พอ่ื เพม่ิ

อยา่ งไรกต็ ามคนลา้ นนามคี วามเชอื่ ในการเลยี้ งผี
เป็ นพธิ กี รรมทสี่ าคญั แมว้ า่ การดาเนนิ ชวี ติ ของจะ

ราบรนื่ ไมป่ ระสบปัญหาใด แตก่ ย็ ังไมล่ มื บรรพ
บรุ ษุ ทเ่ี คยชว่ ยเหลอื ใหม้ ชี วี ติ ทป่ี กตสิ ขุ มาตงั้ แต่

รนุ่ ป่ ยู า่ ยงั คงพบเรอื น เล็กๆ หลงั เกา่ ตงั้ อยกู่ ลาง

หมบู่ า้ นเสมอ หรอื เรยี กวา่ "หอเจา้ ทป่ี ระจา

หมบู่ า้ น" เมอ่ื เวลาเดนิ ทางไปยงั หมบู่ า้ นตา่ ง ๆ ใน
ชนบท ความเชอื่ ดงั กลา่ วจงึ สง่ ผลให ้

ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และพธิ กี รรมตา่ ง ๆ
ของชาวเหนอื เชน่ ผเู ้ ฒา่ ผแู ้ กช่ าวเหนอื (พอ่ อยุ๊ -

แมอ่ ยุ๊ ) เมอื่ ไปวัดฟัง ธรรมกจ็ ะประกอบพธิ เี ลยี้ งผี
คอื จดั หาอาหารคาว-หวานเซน่ สงั เวยผปี ่ ยู า่ ดว้ ย

แมป้ ัจจบุ นั ในเขตตวั เมอื งของภาคเหนอื จะมกี าร

นับถอื ผที อ่ี าจเปลย่ี นแปลงและเหลอื นอ้ ยลง แต่

อยา่ งไรกต็ ามชาวบา้ นในชนบทยงั คงมกี ารปฏบิ ตั ิ

กนั อยู่

ประเพณขี องภาคเหนอื

ประเพณขี องภาคเหนอื เกดิ จากการผสมผสาน
การดาเนนิ ชวี ติ และศาสนาพทุ ธความเชอ่ื เรอื่ ง
การนับถอื ผี สง่ ผลทาใหม้ ปี ระเพณีทเ่ี ป็ น
เอกลกั ษณ์ของประเพณที จ่ี ะแตกตา่ งกนั ไปตาม
ฤดกู าล ทงั้ น้ี ภาคเหนอื จะมงี านประเพณใี นรอบปี
แทบทกุ เดอื น จงึ ขอยกตวั อยา่ งประเพณี
ภาคเหนอื บางสว่ นมานาเสนอ ดงั น้ี

- สงกรานตง์ านประเพณี
ถอื เป็ นชว่ งแรกของการเรมิ่ ตน้ ปีใหมเ่ มอื ง หรอื
สงกรานตง์ านประเพณี โดยแบง่ ออกเป็ น
วนั ท่ี 13 เมษายน หรอื วนั สงั ขารลอ่ ง ถอื เป็ นวนั
สนิ้ สดุ ของปี โดยจะมกี ารยงิ ปืน ยงิ สโพก และจดุ
ประทัดตงั้ แตก่ อ่ นสวา่ งเพอื่ ขบั ไลส่ งิ่ ไมด่ ี วนั นต้ี อ้ ง
เก็บกวาดบา้ นเรอื น และ ทาความสะอาดวดั

วันท่ี 14 เมษายน หรอื วนั เนา ตอนเชา้ จะมกี าร
จัดเตรยี มอาหารและเครอ่ื งไทยทาน สาหรบั งานบญุ
ในวนั รงุ่ ขน้ึ ตอนบา่ ยจะไปขนทรายจากแมน่ ้าเพอ่ื
นาไปกอ่ เจดยี ท์ รายในวัด เป็ นการทดแทนทรายที่
เหยยี บตดิ เทา้ ออกจากวดั ตลอดทัง้ ปี

วันท่ี 15 เมษายน หรอื วนั พญาวัน เป็ นวันเรมิ่
ศกั ราชใหม่ มกี ารทาบญุ ถวายขนั ขา้ ว ถวายตงุ
ไมค้ ้าโพธท์ิ ว่ี ดั สรงน้าพระพทุ ธรปู พระธาตแุ ละรด
น้าดาหวั ขอพรจากผใู ้ หญท่ เ่ี คารพนับถอื

วนั ท่ี 16-17 เมษายน หรอื วนั ปากปีและวนั ปาก
เดอื น เป็ นวนั ทาพธิ ที างไสยศาสตร์ สะเดาะ
เคราะห์ และบชู าสงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธติ์ า่ ง ๆ ทัง้ น้ี ชาว
ลา้ นนามคี วามเชอ่ื วา่ การทาพธิ สี บื ชะตาจะชว่ ย
ตอ่ อายใุ หต้ น เอง ญาตพิ นี่ อ้ ง และบา้ นเมอื งให ้
ยนื ยาว ทาใหเ้ กดิ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งและความเป็ น
สริ มิ งคล โดยแบง่ การสบื ชะตาแบง่ ออกเป็ น 3
ประเภท คอื การสบื ชะตาคน, การสบื ชะตาบา้ น
และการสบื ชะตาเมอื ง

- แหน่ างแมว

ระหวา่ งเดอื นพฤษภาคมถงึ สงิ หาคม เป็ นชว่ งของ
การเพาะปลกู หากปีใดฝนแลง้ ไมม่ นี ้า จะทาให ้
นาขา้ วเสยี หาย ชาวบา้ นจงึ พง่ึ พาสงิ่ เหนอื
ธรรมชาติ เชน่ ทาพธิ ขี อฝนโดยการแหน่ างแมว
โดยมคี วามเชอื่ กนั วา่ หากกระทาเชน่ นัน้ แลว้ จะ
ชว่ ยใหฝ้ นตก

- ประเพณปี อยนอ้ ย/บวชลกู แกว้ /แหลส่ า่ งลอง
เป็ นประเพณีบวช หรอื การบรรพชาของชาวเหนอื

นยิ มจัดภายในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ มนี าคม หรอื
เมษายน ตอนชว่ งเชา้ ซง่ึ เก็บเกยี่ วพชื ผลเสร็จ
แลว้ ในพธิ บี วชจะมกี ารจดั งานเฉลมิ ฉลองอยา่ ง
ยงิ่ ใหญ่ มกี ารแหง่ ลกู แกว้ หรอื ผบู ้ วชทจ่ี ะแตง่
ตวั อยา่ งสวยงามเลยี นแบบเจา้ ชายสทิ ธตั ถะ
เพราะถอื คตนิ ยิ มวา่ เจา้ ชายสทิ ธตั ถะไดเ้ สดจ็ ออก
บวชจนตรสั รู ้ และนยิ มใหล้ กู แกว้ ขม่ี า้ ขชี่ า้ ง หรอื
ขคี่ อคน เปรยี บเหมอื นมา้ กณั ฐกะมา้ ทรงของ
เจา้ ชายสทิ ธตั ถะ ปัจจบุ นั ประเพณบี วชลกู แกว้ ทม่ี ี
ชอื่ เสยี ง คอื ประเพณบี วชลกู แกว้ ทจี่ งั หวดั
แมฮ่ อ่ งสอน

- ประเพณปี อยหลวง หรอื งานบญุ ปอยหลวง

เป็ นเอกลกั ษณข์ องชาวลา้ นนาซงึ่ เป็ นผลดตี อ่
สภาพทางสงั คม ถอื วา่ เป็ นการใหช้ าวบา้ นไดม้ า
ทาบญุ รว่ มกนั รว่ มกนั จัดงานทาใหเ้ กดิ ความ
สามคั คใี นการทางาน งานทาบญุ ปอยหลวงยัง
เป็ นการรวมญาตพิ นี่ อ้ งทอี่ ยตู่ า่ งถน่ิ ไดม้ โี อกาส
ทาบญุ รว่ มกนั และมกี ารสบื ทอดประเพณที เ่ี คย
ปฏบิ ตั กิ นั มาครงั้ แตบ่ รรพชนไมใ่ หส้ ญู หายไปจาก
สงั คม

- ประเพณยี เ่ี ป็ ง (วนั เพ็ญเดอื นย)ี่ หรอื งานลอย
กระทง
โดยจะมงี าน "ตามผางผะตป้ิ " (จดุ ประทปี ) ซงึ่
ชาวภาคเหนอื ตอนลา่ งจะเรยี กประเพณีนว้ี า่ "พธิ ี
จองเปรยี ง" หรอื "ลอยโขมด" เป็ นงานทขี่ นึ้ ชอ่ื ท่ี
จังหวัดสโุ ขทัย

- ประเพณีลอยกระทงสายหรอื ประทปี พนั ดวง
ทจ่ี ังหวดั ตาก ในเทศกาลเดยี วกนั ดว้ ยในเดอื น 3
หรอื ประมาณเดอื นธนั วาคม มปี ระเพณตี งั้ ธรรมหลวง
(เทศนม์ หาชาต)ิ และทอดผา้ ป่ า ในธนั วาคมจะมกี าร
เกยี่ ว "ขา้ วดอ" (คอื ขา้ วสกุ กอ่ นขา้ วปี) พอถงึ
ขา้ งแรมจงึ จะมกี ารเกยี่ ว "ขา้ วปี"

- ประเพณลี อยโคม

ชาวลา้ นนาจงั หวัดเชยี งใหม่ ทม่ี คี วามเชอื่ ในการ
ปลอ่ ย โคมลอยซง่ึ ทาดว้ ยกระดาษสาตดิ บนโครงไม ้
ไผแ่ ลว้ จดุ ตะเกยี งไฟตรงกลางเพอ่ื ใหไ้ อความรอ้ น
พาโคมลอยขนึ้ ไปในอากาศเป็ นการปลอ่ ยเคราะห์
ปลอ่ ยโศกและเรอื่ งรา้ ย ๆ ตา่ ง ๆ ใหไ้ ปพน้ จากตวั

- ประเพณตี านตงุ

ในภาษาถน่ิ ลา้ นนา ตงุ หมายถงึ "ธง" จดุ ประสงค์
ของการทาตงุ ในลา้ นนากค็ อื การทาถวายเป็ นพทุ ธ
บชู า ชาวลา้ นนาถอื วา่ เป็ นการทาบญุ อทุ ศิ ใหแ้ กผ่ ทู ้ ่ี
ลว่ งลบั ไปแลว้ หรอื ถวายเพอ่ื เป็ นปัจจยั สง่ กศุ ล
ใหแ้ กต่ นไปในชาตหิ นา้ ดว้ ยความเชอ่ื ทว่ี า่ เมอ่ื ตาย
ไปแลว้ ก็จะไดเ้ กาะยดึ ชายตงุ ขนึ้ สวรรคพ์ น้ จากขมุ
นรก วนั ทถี่ วายตงุ นัน้ นยิ มกระทาในวนั พญาวนั ซงึ่
เป็ นวันสดุ ทา้ ยของเทศกาลสงกรานต์

- ประเพณกี รวยสลาก หรอื ตานกว๋ ยสลาก

เป็ นประเพณขี องชาวพทุ ธทม่ี กี ารทาบญุ ใหท้ านรับ
พรจากพระ จะทาใหเ้ กดิ สริ มิ งคลแกต่ นและอทุ ศิ
สว่ นกศุ ลใหแ้ กผ่ ลู ้ ว่ งลบั ไปแลว้ เป็ นการระลกึ ถงึ
บญุ คณุ ของผมู ้ พี ระคณุ และเป็ นการแสดงออกถงึ
ความสามคั คขี องคนในชมุ ชน

- ประเพณขี นึ้ ขนั ดอกอนิ ทขลิ
บชู าเสาหลกั เมอื งเชยี งใหม่

- ประเพณงี านประเพณีนบพระเลน่ เพลง
ในแผน่ ดนิ พระเจา้ ลไิ ท วดั พระแกว้ อทุ ยาน
ประวตั ศิ าสตรก์ าแพงเพชร

- ประเพณงี านประเพณแี หเ่ จา้ พอ่ -เจา้ แมป่ ากน้าโพ
เพอ่ื เป็ นการเคารพสกั การะเจา้ พอ่ -เจา้ แมป่ ากน้าโพ

- ประเพณลี อยกระทงสาย
เพอื่ บชู าแมค่ งคา ขอขมาทไ่ี ดท้ งิ้ สง่ิ ปฏกิ ลู ลงในน้า
และอธษิ ฐานบชู ารอยพระพทุ ธบาท

- ประเพณีแลอ้ ปุ๊ ๊ ะดะกา่
เป็ นการเตรยี มอาหารเพอ่ื นาไปถวาย (ทาบญุ ) ขา้ ว
พระพทุ ธในวนั พระของชาวไทยใหญ่

- ประเพณที อดผา้ ป่ าแถว
เป็ นวันทพ่ี ทุ ธศาสนกิ ชนจะไดถ้ วายเครอื่ งนุ่งหม่ และ
ไทยธรรม เป็ นเครอื่ งบชู าแดพ่ ระสงฆก์ อ่ นจะทาพธิ ี
ลอยกระทงบชู าพระพทุ ธบาทตามคตคิ วามเชอ่ื แต่
โบราณ กระทาในวนั ขนึ้ 15 คา่ เดอื น 12
(วันลอยกระทง)

- ประเพณขี นึ้ ธาตเุ ดอื นเกา้
ประมาณเดอื นมถิ นุ ายน (หรอื ปลายเดอื น
พฤษภาคม) เพอื่ บชู าพระบรมสารรี กิ ธาตแุ หง่ องค์
สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้

- ประเพณีแขง่ เรอื ยาว
จงั หวัดน่าน

- ประเพณเี วยี นเทยี นกลางน้า
วัดตโิ ลกอาราม จงั หวดั พะเยา

- ประเพณที านหลวั ผงิ ไฟ
คอื ประเพณกี ารถวายฟืนแกพ่ ระสงฆเ์ พอ่ื ใชจ้ ดุ ไฟ
ในชว่ งฤดหู นาว จะกระทาในเดอื น 4 เหนอื หรอื ตรง
กบั เดอื นมกราคม

- ประเพณอี สู ้ าว
คาวา่ "อ"ู ้ เป็ นภาษาไทยภาคเหนอื แปลวา่ "พดุ กนั
คยุ กนั สนทนากนั สนทนากนั " ดงั นัน้ "อสู ้ าว" ก็คอื
พดู กบั สาว คยุ กบั สาว หรอื แอว่ สาวการอสู ้ าวเป็ นการ
พดคยุ กนั เป็ นทานองหรอื เป็ นกวโี วหาร

นอกจากงานเทศกาลประจาทอ้ งถนิ่ แลว้ ยงั มี
ประเพณคี วามเชอ่ื ดงั้ เดมิ ของชนชาตไิ ทยเผา่ ตา่ ง ๆ
ในพน้ื ที่ เชน่ ไทยยวน ไทยลอื้ ไทยใหญ่ ไทยพวน
ลวั ะ และพวกแมง ไดแ้ ก่ ประเพณกี นิ วอของชาว
ไทยภเู ขาเผา่ ลซี อ ประเพณีบญุ กาฟ้าของชาวไทย
พวนหรอื ไทยโขง่

นทิ านพนื้ บา้ น

นทิ านของภาคของแตล่ ะภาคมกั เต็มไปดว้ ย
สาระ คตสิ อนใจ พรอ้ มความสนุกสนาน
เพลดิ เพลนิ อาจมคี วามแตกตา่ งกนั ไปตามแต่
ลกั ษณะสาคญั ของภมู ภิ าค สว่ นนทิ านพนื้ บา้ น
จากภาคเหนอื มกั เป็ นตานานของสถานทต่ี า่ ง ๆ
หรอื ความเป็ นมาและสาเหตขุ องสถานทเี่ หลา่ นัน้
เลา่ สบื ตอ่ กนั มาชา้ นาน เพอื่ ใหเ้ กดิ ความ
สนุกสนานเพลดิ เพลนิ และไดส้ าระทเี่ ป็ นคติ
สอนใจ อาทิ ความดี ความกตญั ญู ความซอื่ สตั ย์
รวมถงึ ยงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ สภาพชวี ติ ความ
เป็ นอยขู่ องคนในทอ้ งถน่ิ ภาคเหนอื อกี ดว้ ย

ยกตวั อยา่ งนทิ านพน้ื บา้ นภาคเหนอื ไดแ้ ก่
- เรอ่ื ง ลานนางคอย จงั หวดั แพร่
- เรอ่ื ง เมอื งลบั แล จังหวัดอตุ รดติ ถ์

- เรอ่ื ง เซยี่ งเมย่ี งคา่ พญา
- เรอ่ื ง ป๋ เู ซด็ คา่ ลวั ะ

- เรอ่ื ง ดนตรธี รรมชาติ
- เรอ่ื ง เชยี งดาว

- เรอื่ ง อา้ ยกอ้ งขจ้ี ุ๊
- เรอ่ื ง ผาวง่ิ ชู ้

- เรอื่ ง ควายลงุ คา
- เรอ่ื ง ยา่ ผนั คอเหนยี ง

เครอื่ งดนตรพี นื้ บา้ น

สะลอ้ หรอื ทะลอ้ เป็ นเครอ่ื งสายบรรเลง ดว้ ยการสี
ใชค้ นั ชกั อสิ ระ ตวั สะลอ้ ทเี่ ป็ น แหลง่ กาเนดิ เสยี งทา
ดว้ ยกะลามะพรา้ ว

ซงึ เป็ นเครอื่ งสายชนดิ หนงึ่ ใชบ้ รรเลงดว้ ยการดดี
ทา ดว้ ยไมส้ กั หรอื ไมเ้ นอื้ แขง็

ขลยุ่ มลี กั ษณะเชน่ เดยี วกบั ขลยุ่ ของภาคกลาง

ปี่ เป็ นปี่ลน้ิ เดยี ว ทต่ี วั ลนิ้ ทาดว้ ย โลหะเหมอื น
ลน้ิ แคน ตวั ป่ีทาดว้ ยไมซ้ าง

ปี่ แน มลี กั ษณะคลายปี่ไฉน หรอื ป่ีชวา แตม่ ี ขนาด
ใหญก่ วา่ เป็ นปี่ประเภท ลน้ิ คทู่ าดว้ ยไม ้ พณิ เป๊ ียะ
หรอื พณิ เพยี ะ หรอื บางทกี ็เรยี กวา่ เพยี ะ หรอื เป๊ ียะ
กะโหลกทาดว้ ยกะลามะพรา้ ว

กลองเตง่ ถงิ้ เป็ นกลองสองหนา้ ทาดว้ ยไม ้
เนอ้ื แขง็ เชน่ ไมแ้ ดง หรอื ไม ้ เนอ้ื ออ่ น

ตะหลดปด หรอื มะหลดปด เป็ นกลองสอง
หนา้ ขนาดยาวประมาณ 100 เซนตเิ มตร

กลองตงึ่ โนง เป็ นกลองทม่ี ขี นาดใหญท่ ส่ี ดุ
ตวั กลองจะยาว มากขนาด 3-4 เมตร

กลองสะบดั ชยั โบราณ เดมิ ใชต้ ยี ามออกศกึ
สงคราม เพอ่ื เป็ นสริ มิ งคล และเป็ นขวญั กาลงั ใจ
ใหแ้ กเ่ หลา่ ทหารหาญในการตอ่ สใู ้ หไ้ ดช้ ยั ชนะ ซง่ึ
ปัจจบุ นั พบเห็นในขบวนแหห่ รอื งานแสดงศลิ ปะ

พน้ื บา้ นในระยะหลงั โดยทว่ั ไป ลลี าในการตมี ี
ลกั ษณะโลดโผนเรา้ ใจมกี ารใชอ้ วยั วะหรอื สว่ นตา่ ง
ๆ ของรา่ งกาย เชน่ ศอก เขา่ ศรี ษะ ประกอบในการ
ตกี ลองดว้ ย ทาใหก้ ารแสดงการตกี ลองสะบดั ชยั

เป็ นทป่ี ระทบั ใจของผทู ้ ไี่ ดช้ ม

การแสดงพนื้ เมอื งภาคเหนอื

โอกาสทแี่ สดงนยิ ม โชวใ์ นงานพระราชพธิ ี
หรอื วันสาคญั ทางศาสนา ตอ้ นรบั แขกบา้ น
แขกเมอื ง งานมงคล และงานรนื่ เรงิ ทวั่ ไปใน
ทนี่ จ้ี ะแสดงตามความเหมาะสมตาม
สถานการณ์ ไดแ้ ก่

ฟ้อนภไู ท ฟ้อนเทยี น ฟ้อนเลบ็ หรอื ฟ้อนเมอื ง

ฟ้อนดาบ ฟ้อนเงย้ี ว
ฟ้อนลาวแพน ฟ้อนรกั

ฟ้อนดวงเดอื น ฟ้อนดวงดอกไม ้
ฟ้อนมาลยั ฟ้อนไต

ฟ้อนโยคถี วายไฟ ระบาชาวเขา
ราลาวกระทบไม ้ รากลองสะบดั ชยั

สถานทที่ อ่ งเทยี่ วภาคเหนอื

เมอ่ื พดู ถงึ สภานทท่ี อ่ งเทย่ี วก็จะมสี ถานที่
สวยงามแตล่ ะจงั หวดั

1. ไรส่ งิ หป์ ารค์ จงั หวดั เชยี งราย

ไรส่ งิ หป์ ารค์ เชยี งราย หรอื ทคี่ นุ ้ กนั ในชอื่ ไร่
บญุ รอด ทน่ี ถ่ี อื เป็ นสถานทที่ อ่ งเทยี่ วเชงิ
เกษตรทใี่ หญท่ ส่ี ดุ ในประเทศไทย กบั พน้ื ท่ี
กวา่ 8,000 ไร่ เพลดิ เพลนิ ไปกบั ทวั รฟ์ ารม์ สงิ ห์
ปารค์ ชมสวนสตั วส์ ายพันธแ์ อฟรกิ นั ปั่น

จักรยานชมธรรมชาตแิ บบใกลช้ ดิ กจิ กรรม
ผจญภยั และการแขง่ ขนั กฬี าตลอดทงั้ ปีอกี

มากมาย สว่ นจดุ ทน่ี ่าสนใจภายในไร่ ไดแ้ ก่
บรกิ ารรถฟารม์ ทวั ร์ รว่ มสมั ผสั บรรยากาศและ
ธรรมชาตทิ โี่ อบลอ้ มดว้ ยภเู ขา ตระการตากบั ไร่
ชาและสวนผลไมน้ านาชนดิ , ทงุ่ ดอกคอสมอส
และสระหงส์ หรอื จะไปสรา้ งความตน่ื เตน้ ณ
หอซปิ ไลน์ หนา้ ผาจาลอง และซปิ ไลนช์ มไร่
ชาทา่ มกลางววิ 360 องศา กอ่ นจะไป
รบั ประทานอาหารอรอ่ ย ๆ ทรี่ า้ นอาหารภภู ริ มย์

2. พระธาตดุ อยตงุ จังหวดั เชยี งราย

ตงั้ อยบู่ รเิ วณกโิ ลเมตรที่ 17.5 บนทางหลวง
หมายเลข 1149 เป็ นทบ่ี รรจพุ ระรากขวญั เบอื้ ง
ซา้ ย (กระดกู ไหปลารา้ ) ของพระพทุ ธเจา้
นามาจากมธั ยประเทศ นับเป็ นครงั้ แรกท่ี
พระพทุ ธศาสนาลทั ธลิ งั กาวงศไ์ ดม้ า
ประดษิ ฐานทลี่ า้ นนาไทย เมอื่ กอ่ สรา้ งพระสถปู
บรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตนุ ี้ ไดท้ าธงตะขาบ
(ภาษาพน้ื เมอื งเรยี กวา่ ตงุ ) ใหญย่ าวถงึ พันวา
ปักไวบ้ นยอดดอย ถา้ หากปลายธงปลวิ ไปไกล
ถงึ เมอื งไหน ก็จะกาหนดเป็ นฐานพระสถปู เหตุ
นดี้ อยซง่ึ เป็ นทปี่ ระดษิ ฐานปฐมเจดยี แ์ หง่
ลา้ นนาไทย จงึ ปรากฏนามวา่ "ดอยตงุ " ทัง้ น้ี
พระธาตดุ อยตงุ ยงั เป็ นพระธาตปุ ระจาปีเกดิ "ปี
กนุ " อกี ดว้ ย

3. วดั รอ่ งขนุ่ จงั หวดั เชยี งราย

วัดทม่ี ชี อ่ื เสยี งโดง่ ดงั อกี แหง่ หนง่ึ ของจงั หวดั
เชยี งราย อยใู่ นทอ้ งทตี่ าบลป่ าออ้ ดอนชยั
อาเภอเมอื ง ออกแบบและกอ่ สรา้ งโดย
อาจารยเ์ ฉลมิ ชยั โฆษิตพพิ ัฒน์ เมอื่ พ.ศ.
2540 บนพน้ื ทเ่ี ดมิ ของวัด 3 ไร่ และขยาย
ออกเป็ น 12 ไร่ พระอโุ บสถสขี าวตกแตง่ ดว้ ย
ลวดลายกระจกสเี งนิ แวววาว เป็ นเชงิ ชนั้
ลดหลน่ั กนั ไป หนา้ บนั ประดบั ดว้ ยพญานาค
ภาพจติ รกรรมฝาผนังภายในพระอโุ บสถและ
หอ้ งแสดงภาพวาดน่าสนใจมาก

4. ภชู ฟี้ ้า จังหวดั เชยี งราย

เป็ นทร่ี า่ ลอื กนั วา่ "ภชู ฟ้ี ้า" เหมาะสาหรบั เป็ น
จดุ ชมและถา่ ยรปู พระอาทติ ยข์ นึ้ และตกดนิ ที่
สวยทส่ี ดุ แหง่ หนง่ึ ของประเทศ โดยเฉพาะ
อยา่ งยงิ่ ในชว่ งฤดหู นาว ทน่ี จ่ี ะสวยมากเป็ น
พเิ ศษ นอกเหนอื จากววิ ทศั นส์ วย ๆ แลว้ ไมแ่ น่
วา่ ระหวา่ งทางทเี่ ดนิ ขนึ้ ไป นักทอ่ งเทย่ี วอาจจะ
ไดเ้ จอเขา้ กบั ดอกนางพญาเสอื โครง่ และตน้
เสย้ี วดอกขาว ซงึ่ จะออกดอกบานสะพรง่ั
ในชว่ งเดอื นมกราคม-กมุ ภาพนั ธ์ ความโดดเดน่
ของภชู ฟ้ี ้าเหน็ จะเป็ นหนา้ ผาหนิ คลา้ ยนว้ิ ช้ี ปก
คลมุ ดว้ ยหญา้ ไมพ้ มุ่ และโขดหนิ ซง่ึ เป็ นจดุ ท่ี
นักทอ่ งเทยี่ วนยิ มถา่ ยรปู เป็ นอยา่ งมาก เพราะ
จะเหน็ สายหมอกทลี่ อยละลอ่ งกลางหบุ เขา
งดงามเกนิ บรรยาย

5. ดอยผาตงั้ จงั หวดั เชยี งราย

ตงั้ อยใู่ นเขตตาบลปอ อาเภอเวยี งแกน่ และ
เป็ นสถานทที่ อ่ งเทย่ี วทข่ี น้ึ ชอ่ื สาหรบั ชมพระ
อาทติ ยข์ น้ึ และทะเลหมอกในตอนเชา้ และชม
พระอาทติ ยต์ กในเวลาเย็น จากยอดดอย
สามารถมองเหน็ แมน่ ้าโขงฝ่ังลาวและสามาร
มองเหน็ ยอดภชู ฟ้ี ้าทอี่ ยหู่ า่ งออกไปกวา่ 25
กโิ ลเมตรไดช้ ดั เจน โดยเฉพาะชว่ งหนา้ หนาว
ทนี่ จี่ ะมองเหน็ ทะเลหมอกสวย ๆ ตรงบรเิ วณ
"ชอ่ งผาขาด" และ "เนนิ 102-เนนิ 103"
ทา่ มกลางบรรยากาศทเี่ งยี บสงบ หมมู่ วล
ดอกไมห้ นา้ หนาว ทงั้ ดอกนางพญาเสอื โครง่
และดอกเสย้ี ว ทกี่ าลงั ออกดอกบานสะพร่ัง

6. สระน้ามรกตขนุ น้านางนอน จงั หวดั เชยี งราย

ตงั้ อยภู่ ายในวนอทุ ยานถ้าหลวง-ขนุ น้านาง
นอน เป็ นสระน้าธรรมชาตทิ อี่ ยใู่ กลก้ บั ถ้าทราย
ทอง หา่ งจากถ้าหลวงราว ๆ 3 กโิ ลเมตร เป็ น
จดุ ทต่ี อ้ งสบู น้าออกมาจากถ้าหลวงเมอื่ ชว่ ง
เหตกุ ารณ์ชว่ ยเหลอื ทมี นักฟตุ บอลเยาวชนหมู
ป่ า ซง่ึ หลงั จากเหตกุ ารณ์ดงั กลา่ ว สระน้า
บรเิ วณนก้ี ็ไดก้ ลายเป็ นสเี ขยี วมรกตใส ตงั้ อยู่
ทา่ มกลางป่ าไมเ้ ขยี วขจี บรรยากาศรม่ รน่ื สบาย
ตา อากาศเย็นสดชนื่ สวยงามน่าทอ่ งเทยี่ ว

7. สวนแมฟ่ ้าหลวง จงั หวัดเชยี งราย

"สวนแมฟ่ ้าหลวง" หรอื "สวนดอยตงุ " สวนไม ้
ดอกไมห้ ลากสสี นั กวา้ งไกลสดุ ลกู หลู กู ตา บน
พน้ื ท่ี 25 ไร่ ภายในสวนถกู ตกแตง่ ดว้ ยพนั ธไุ์ ม ้
ดอกไมป้ ระดบั สวยงาม ดแู ลอยา่ งดี
ผลดั เปลย่ี นหมนุ เวยี นออกดอกตลอดปี อาทิ
ดอกซลั เวยี พทิ เู นยี บโี กเนยี กหุ ลาบ ดอก
ลาโพง ไมม้ งคลตา่ ง ๆ ไมย้ นื ตน้ และซมุ ้ ไมเ้ ลอี้
ยมากกวา่ 70 ชนดิ นอกจากแปลงไมป้ ระทบั
กลางแจง้ แลว้ ยงั มโี รงเรอื นไมใ้ นรม่ จดุ เดน่ คอื
กลว้ ยไมจ้ าพวกรองเทา้ นารชี นดิ ตา่ ง ๆ ทมี่ ี
ดอกสวยงามมาก บรเิ วณกลางสวนมี
ประตมิ ากรรมเด็กยนื ตอ่ ตวั ของ มเี ซยี ม ยบิ อนิ
ซอย โดยสมเด็จยา่ พระราชทานชอื่ วา่ ความ
ตอ่ เนอ่ื งทส่ี อ่ื ถงึ การทางานจะสาเร็จไดต้ อ้ งทา
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มาถงึ จดุ นแี้ วะเตมิ พลงั กนั สกั นดิ
กบั "ดอยตงุ คาเฟ่ "

8. วดั พระธาตดุ อยสเุ ทพราชวรวหิ าร จังหวดั
เชยี งใหม่

วัดทม่ี คี วามสาคญั ในแงป่ ระวตั ศิ าสตร์ เป็ นวัด
คบู่ า้ นคเู่ มอื งทห่ี า้ มพลาดเมอื่ มาถงึ จังหวดั
เชยี งใหม่ ภายในเป็ นทปี่ ระดษิ ฐานขององค์
เจดยี ท์ รงมอญ ทใี่ ตฐ้ านพระเจดยี ม์ พี ระบรม
สารรี กิ ธาตขุ องสมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
บรรจอุ ยู่ ซง่ึ จดั ไดว้ า่ เป็ นปชู นยี สถานที่
แสดงออกถงึ ศลิ ปกรรมลา้ นนาไทยทสี่ าคญั คู่
เมอื งเชยี งใหมม่ าชา้ นาน อกี ทงั้ ยงั เป็ นพระธาตุ
ประจา "ปีมะแม" ดว้ ย นอกจากนี้ยงั สามารถ
ขนึ้ มาชมความงดงามขององคเ์ จดยี ์ พรอ้ มกบั
ชมทวิ ทศั นโ์ ดยรอบของตวั เมอื งเชยี งใหมไ่ ด ้
โดยสามารถเดนิ ขนึ้ บนั ไดนาค 300 ขนั้ เพอ่ื ไป
ยังวดั หรอื จะเลอื กใชบ้ รกิ ารรถกระเชา้ ขนึ้ -ลง
ดอยสเุ ทพ กไ็ ดต้ ามสะดวก

9. วัดพระสงิ หว์ รมหาวหิ าร จังหวัดเชยี งใหม่

พระอารามหลวงชนั้ เอก ชนดิ วรมหาวหิ าร
เป็ นวดั หนง่ึ ทสี่ าคญั ของเมอื งเชยี งใหม่ ตงั้ อยู่
ในบรเิ วณคเู มอื งเชยี งใหม่ ถนนสามลา้ น โดย
"พญาผาย"ู กษัตรยิ อ์ งคท์ ่ี 5 ในราชวงศม์ งั ราย
ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งวดั น้ี พรอ้ มทงั้ พระ
เจดยี ส์ งู 24 ศอก เพอื่ ใชเ้ ป็ นทบี่ รรจอุ ฐั ขิ อง
"พญาคาฟ"ู พระราชบดิ า ภายในวัดมี
พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั ขดั สมาธเิ พชร
ชาวบา้ นเรยี กกนั วา่ "พระพทุ ธสหิ งิ ค"์ (ศลิ ปะ
เชยี งแสน) เป็ นพระพทุ ธรปู ทศ่ี กั ดส์ิ ทิ ธแ์ิ ละชาว
เชยี งใหมใ่ หค้ วามเคารพนับถอื อยา่ งมาก
นอกจากนยี้ งั เป็ นพระธาตปุ ระจาปีเกดิ ของผทู ้ ่ี
เกดิ "ปีมะโรง" อกี ดว้ ย


Click to View FlipBook Version