กรอบแนวคิดในการรบั รองหลักสตู รและการจัดการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาบคุ ลากรภาครัฐดา นดิจิทัล
7.6 ผลลัพธของการวิเคราะหความตองการ ควรจะตองเปนที่ตกลงกันระหวางผูใหบริการและผูสนใจ
กอ นการออกแบบ และสงมอบบริการการอบรม
7.7 ผูสอนตองทราบถึงผลลัพธข องการวเิ คราะหค วามตองการของผูเรยี นอยางชัดเจน
7.8 ขอมูลของผูเรียนที่ถูกนำมาใชในการวิเคราะหความตองการตองถูกใชเพื่อการออกแบบและจัดการ
เรียนการสอนในหลักสูตรที่ระบุเทานั้น ซึ่งขอมูลทั้งหมดจะตองไดรับความยินยอมจากผูเรียนกอน
เปน สำคัญ
8. การออกแบบบรกิ ารหลักสตู รอบรม
8.1 หลังจากไดทำการวิเคราะหความตองการแลว การออกแบบบริการอบรม ประกอบดวย การพัฒนา
หลักสูตร การจัดทำเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอน (ถามี) รวมถึง วิธีการการวัดผลและ
ประเมนิ ผล
8.2 การออกแบบและการสรางหลักสูตรจะตองใชผูเชี่ยวชาญที่มีทักษะและประสบการณดานการ
ออกแบบหลกั สตู รในสาขาทจี่ ดั การอบรม
8.3 ในการออกแบบหลกั สูตรอบรม ควรตองมีรายละเอยี ดดังน้ี
8.3.1 ผลของการวิเคราะหความตอ งการ
8.3.2 เปาหมายท่ตี กลงไวห รือประกาศไว
8.3.3 จำนวนผูเรียนและระยะเวลาของหลักสูตรและวิธีการในการอบรม (Mode of learning:
face-to-face, blended learning, MOOC or online learning)
8.3.4 ผลลัพธการเรยี นรทู ี่คาดหวัง
8.3.5 วิธกี ารการประเมินทคี่ าดหวงั
8.3.6 อัตราสว นระหวา ง ผูสอนและผเู รยี น
8.3.7 กระบวนการ ทรพั ยากร ความรบั ผดิ ชอบ เพื่อการเรียนการสอนท่ีกระชบั และมคี ณุ ภาพ (ถา ม)ี
8.3.8 ชนิดและรายละเอียดของประกาศนยี บตั รทีจ่ ะไดร บั เมื่อผา นการอบรม
8.3.9 ประเด็นอื่น ๆ ที่ ระบุไวใ นสญั ญา
8.3.10 แนวทางของการตดิ ตามและประเมนิ ผล
8.4 เอกสารประกอบการเรียน ควร
8.4.1 สอดคลองกับหลักสูตรที่ออกแบบไว รวมถึงกระบวนการเรียนการสอนที่เลือก (MOOC หรือ
บรรยายสด)
8.4.2 เอกสารตองเชื่อถือได ทันสมัย สอดคลองกับการนำไปใชจริงในหัวขอที่อบรม รวมถึงใน
สถานการณจ ริงนอกหองเรียน
8.4.3 เอกสารตอ งสอดคลอ งกบั สงั คม วัฒนธรรมและพ้ืนฐานความรูของผูเรียน
8.5 รายละเอียดตาง ๆ ของหลักสูตร เอกสารประกอบการเรียน วิธีการวัดผล และ ประเมินผล ควร
จะตองเขาถึงไดแ ละเตรียมไวใ หส ำหรบั ผูเ รียน ผสู อนและผูท ่ีเกีย่ วของ
ภาคผนวก ก - 3
กรอบแนวคิดในการรบั รองหลกั สตู รและการจดั การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาบคุ ลากรภาครฐั ดา นดิจทิ ลั
8.6 บทบาทและความรับผิดชอบของสถาบันอบรม ผูเรียน ผูที่เกี่ยวของอืน่ ในแตละสวน เชน บริการการ
อบรม การตดิ ตาม และการประเมินผลการเรยี นรู ควรถกู ระบไุ วอยา งชัดเจน
8.7 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผล รวมถึงเอกสารประกอบการสอน ควรถูกทบทวนอยาง
นอยปล ะหนง่ึ ครง้ั
8.8 การออกแบบหลักสูตรควรพิจารณาถึงผลการประเมินของหลักสูตรที่สถาบันอบรมนั้นเคยเปด
ใหบริการมากอ น
8.9 ทีม่ าของเอกสารการอบรม ควรมกี ารอา งอิงอยา งชดั เจน
9. รายละเอยี ดเกี่ยวกบั การอบรมสำหรับผูเรยี นและหนวยงานผูสนับสนุน : กอนเริ่มการอบรม ผูเรียนและ
หนวยงานผูสนับสนุน ควรจะตองไดรับเอกสารรายละเอียดและขอตกลงในการจัดหลักสูตรอบรมที่
ครบถวน ตามท่รี ะบใุ นหัวขอท่ี 4 และอาจเพิม่ ขอมูลตอไปนี้ดวย
9.1 ความรับผิดชอบของแตละฝา ย ไดแก ผูเรยี น สถาบนั อบรม ผูส อน เปน ตน
9.2 กระบวนการ ขน้ั ตอนตา ง ๆ และตารางการประเมินผลการเรียน
9.3 ผปู ระสานงานทไ่ี ดรบั มอบหมายจากสถาบนั อบรม
9.4 กระบวนการ การรองเรียน การใหค ำเสนอแนะ และการระงบั ขอพิพาท
9.5 การเขาถึงทรัพยากรเพื่อการสนับสนุนการอบรม เชน การใชงานหองสมุด การใชเครื่องคอมพิวเตอร
เพ่ือศกึ ษาดว ยตนเอง ระบบใหความชว ยเหลือตาง ๆ (help desk) การใหค ำปรกึ ษา และเอกสารอา งอิง
ตา ง ๆ
10. การสงมอบบรกิ ารการอบรม
10.1 เจา หนา ทีผ่ ใู หบริการในกระบวนการการสงมอบบรกิ ารอบรม
10.1.1 บริการอบรมตองถูกสงมอบโดยผูสอนที่มีคุณภาพและถูกฝกใหมีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่
สอน รวมถึงเขาใจในกระบวนการสอนและเอกสารการสอนดว ย
10.1.2 บุคลากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการสงมอบบริการอบรม ควรมีสมรรถนะและไดรับ
ประกาศนียบัตร หรือไดร บั การรบั รองความสามารถในงานดา นทป่ี ฏบิ ัติ
10.1.3 ถามีความจำเปนตองมีการทำงานแทน ควรใหแนใจวามีผูสอนที่สามารถสอนแทนไดและ
ผูสอนแทนดังกลาวไดร บั การแนะนำเกยี่ วกบั แนวทางการสอนในหลกั สตู รดงั กลาวดวย
10.2 เอกสารประกอบการสอน
10.2.1 เอกสารประกอบการสอน ควรจะมีใหกับผูเรียนอยางเพียงพอ ทั้งผูเรียนและหนวยงาน
ผูส นับสนนุ ควรจะถูกแนะนำในการจดั ซือ้ เอกสารตาง ๆ ทจี่ ำเปน
10.2.2 ผูเรยี นและผูสอน ควรจะไดรับการยืนยันเก่ียวกับมาตรการการคัดลอกเอกสารและไฟลดิจิทัล
ตา ง ๆ
ภาคผนวก ก - 4
กรอบแนวคิดในการรับรองหลักสตู รและการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาบคุ ลากรภาครัฐดา นดิจิทลั
หมายเหตุ ควรมัดระวังในเรื่องกฎหมาย ลิขสิทธิ์ และสิทธิทางปญญาของเอกสารและ
โปรแกรมตา ง ๆ ทใี่ ชใ นการเรยี นการสอนดว ย
10.3 สภาพแวดลอ มการสอนและการอบรม
10.3.1 ในกรณีที่สถาบันอบรมไดมีการจัดเตรียมหรือเลือกสภาพแวดลอมการเรียน ควรทำใหมั่นใจ
ไดวาสถาพแวดลอมดังกลาวเอื้อตอการเรียนและถาสถาบันอบรมไมสามารถควบคุม
สภาพแวดลอมไดอยางสมบูรณ อยางนอยควรมีการกำหนดเกณฑขั้นต่ำของสภาพแวดลอม
การอบรมท่จี ำเปน
10.3.2 สภาพแวดลอมการอบรมควรเหมาะกับการเรียนการสอนและไดรับการดูแลรักษาเปนอยางดี
และควรจะ
ก) กวางขวางเพียงพอ สำหรบั จำนวนผเู รียนตามท่ีรับสมคั รในหลักสตู ร รวมถงึ ผสู อนดว ย
ข) ถูกจัดวางในรูปแบบที่ผูสอนสามารถมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนไดเปนอยางดี และควรเปนการ
ปฏสิ มั พนั ธส องทาง คือ ผูเ รียนกค็ วรจะโตตอบกบั ผสู อนไดอ ยา งดดี ว ยเชนกัน
ค) มแี สงสวา งพอเพียงและสะอาด
ง) มอี ุณหภมู ทิ ี่เหมาะสมและมกี ารระบายอากาศทด่ี ี
จ) ควรมกี ารปอ งกันการรบกวนจากภายนอก ไมว า จะเปน เสยี งรบกวนหรอื คนภายนอกหอ งเรียน
ฉ) ควรมีอุปกรณการสอน เพื่อชวยใหสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน เครื่องขยายเสียง เครื่อง
ฉายภาพ (Projector), Visualizer, Flip Chart, กระดานสำหรบั เขียน
10.3.3 เครื่องมือและอุปกรณที่จำเปนดานความปลอดภัยควรถูกติดตั้งในสถานที่ และควรไดรับการ
ดูแลรักษาเปนอยางดี และควรลดโอกาสที่จะเกิดกรณีที่เกิดเหตุการณสาธารณภัยขึ้นใน
สถานที่อบรมใหนอยที่สุด นอกจากนี้ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณสาธารณภัยขึ้น
ควรถูกประกาศใหทราบโดยท่วั กนั ทงั้ ผูเรยี นและผสู อน รวมถงึ บุคลากรอนื่ ๆ ที่ปฏบิ ัติงานใน
สถานทฝี่ กอบรม
11. ผูสอน
11.1 ผสู อนควรจะมีคณุ สมบัตดิ ังตอ ไปนี้
11.1.1 มีประสบการณผานการอบรมหรือไดรับประกาศนียบัตรที่ไดรับการรับรองในประเทศท่ีสถาบนั
อบรมต้ังอยู
11.1.2 ไดร ับการชี้แนะจากผสู อนท่ีมีประสบการณท่ีผานการอบรมและมีประกาศนียบัตรรบั รองเชนกัน
หมายเหตุ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ทไ่ี ดรบั การยอมรบั จากภาครฐั และภาคเอกชน มหาวิทยาลัย/
วิทยาลัย ที่ไดร บั การรบั รอง
11.2 ผูสอนทุกคนควรจะมีสมรรถนะหรือทักษะที่จำเปน เกี่ยวของกับหัวขอที่สอนในวิธีการสอนที่ไดรับ
การมอบหมาย
11.3 ผูสอนควรเขารว มในการพฒั นาวิชาชีพ (ดา นการเรียนการสอน - ครู)
ภาคผนวก ก - 5
กรอบแนวคดิ ในการรบั รองหลกั สตู รและการจดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาบคุ ลากรภาครัฐดานดิจทิ ลั
11.3.1 ศึกษา พื้นฐานการเรียนการสอน การพูด หรืองานวิจัยดานกระบวนการการเรียนการสอนท่ี
สมั พนั ธก บั หลักสตู ร
11.3.2 มีความสามารถในการสอนที่สอดคลองกับเนื้อหา รวมถึงเทคโนโลยีและสารสนเทศตาง ๆ ที่
เกี่ยวของ
11.3.3 มีความสามารถในการใชง านเครอื่ งมือตาง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ งกบั การสอน
11.3.4 มปี ระสบการณจ ริงในเรือ่ งทสี่ อน
11.3.5 มคี วามสามารถในการจดั การกับชนั้ เรยี นได
11.3.6 ทราบถึงกระบวนการในการประเมินผลในหัวขอทสี่ อน
11.4 ควรมีการวางแผนการพัฒนาดานวิชาชีพการสอนของผูสอน เชน การมอบหมายงานหรือหนาที่
รับผิดชอบ ผลการประเมนิ การสอนและแนวคิดของผูสอนวาควรพัฒนาตนเองในดา นใด
12. การประเมินผลการเรยี น
12.1 ในการออกแบบและเลือกวิธีการประเมินผลควรพิจารณาประเดน็ ดังตอไปน้ี
12.1.1 จดุ ประสงคของการประเมนิ
12.1.2 ความรู ทกั ษะ และความสามารถที่ตอ งการวดั
12.1.3 มาตรฐานที่ใชเทียบกับทักษะดานดิจิทัลของขาราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อการ
ปรับเปลีย่ นเปน รัฐบาลดิจทิ ัลของ สำนกั งาน ก.พ.
12.1.4 วิธกี ารในการประเมนิ ผล
12.1.5 การใหคะแนนและรายงาน
12.1.6 ผูมีสว นเกี่ยวของในการอบรมไดม สี วนรวมในการประเมนิ หรือไดร บั ผลกระทบในการประเมิน
อยางไร
12.2 กอนที่จะเริ่มการอบรมควรมีการประเมินระดบั ความรูค วามสามารถของผูเรียนกอ นในเรื่องที่กำลงั
จะเขาอบรม (Pretest)
12.3 ควรมีวิธีการประเมินความกาวหนาของผูเรียน ตลอดระยะเวลาของการเรียน เพื่อใหทราบถึง
พฒั นาการ
12.4 ผูเรยี นหรือผสู นบั สนุนควรจะไดร บั เอกสารประกาศนียบตั รการจบการอบรม ซึ่งควรประกอบดว ย
12.4.1 หวั ขอการอบรม จดุ ประสงคการอบรม
12.4.2 จำนวนชั่วโมงที่เขารับอบรม
12.4.3 ระดับความสามารถ ความรูท ่ีได
12.5 ผลของการประเมินการเรียนของผูเขาอบรมควรจะเขาถึงไดในวงจำกัดของผูเรียน หรือผูสนับสนุน
หรอื ผทู ่ไี ดร บั อนุญาตอยา งเปนทางการเทานั้น
ภาคผนวก ก - 6
กรอบแนวคดิ ในการรับรองหลกั สูตรและการจัดการศึกษาเพ่อื พฒั นาบุคลากรภาครฐั ดานดิจทิ ัล
13. การติดตามและการประเมนิ ผลการอบรม
13.1 กระบวนการติดตามโดยปกติ คือ การติดตามดูวาผลการเรียนการสอนจะเปนไปตามที่ระบุไวใน
จดุ ประสงคข องการอบรมหรือไม
13.2 ในการออกแบบกระบวนการตดิ ตามและการประเมนิ ผล ควรพจิ ารณาประเดน็ ตอ ไปน้ี
13.2.1 ขอบเขตของหลกั สูตร
13.2.2 เปา หมายของหลักสตู ร
13.2.3 วธิ ีการ ตดิ ตามและการประเมิน รวมถงึ สาเหตุ เกณฑก ารประเมนิ เครื่องมือ และตารางการอบรม
13.2.4 ผูมีสวนเกี่ยวของในการอบรมไดม ีสวนรวมในการประเมินหรือไดรับผลกระทบในการประเมิน
อยา งไร
13.3 การประเมินการสอน ควรพิจารณาประเดน็ ดังตอไปน้ี
13.3.1 ครอบคลมุ เนอ้ื หาทตี่ อ งการ
13.3.2 กระบวนการ การเรยี นการสอน
13.3.3 มีเอกสารและทรพั ยากรสนบั สนุนการเรียนอยางเพียงพอ
13.3.4 การจัดการสถานทแี่ ละการเดนิ ทางทมี่ ี
13.4 ขัน้ ตอนในการติดตามและการประเมินควรพจิ ารณาส่งิ ตอไปน้ี
13.4.1 การเขา รวมฟง การเรียนการสอนเปน ระยะ ๆ เพ่อื จดุ ประสงคใ นการประกันคณุ ภาพ
13.4.2 การตรวจสอบ (review) ผลการประเมินวาสอดคลองกับเปาหมายของการอบรมที่กำหนดไว
ตามท่รี ะบุขางตน ในการวเิ คราะหค วามตองการหรอื ไม ดังน้ันผลการประเมนิ ควรท่จี ะตองถกู
นำมาวิเคราะห ตีความ เปรยี บเทียบกับผลลพั ธก ารเรยี นที่ระบุไวดวย
13.4.3 การวิเคราะหระดับความพึงพอใจของผูเรียนและผูสนับสนุนในการอบรม รวมถึงการให
คำแนะนำ การใหค วามคิดเห็น เพ่ือการพัฒนาและปรบั ปรุงการเรียนการสอนใหดีขึ้น
13.5 การตดิ ตามและการประเมนิ ควรดำเนนิ การโดยผทู ม่ี ีความเชยี่ วชาญหรือไดรับการรับรอง
13.6 ขอมูลและรายงานผล การติดตามและประเมิน ตองมีความชัดเจนและเปดเผย รายงานจะตอง
อธิบายอยา งชดั เจนถึงท่มี าและสาเหตขุ องการประเมนิ ทส่ี อดคลองกับจุดประสงคการอบรม
13.7 การตีความและการเรียกรอ งจะตอ งทำภายในระยะเวลาทกี่ ำหนด เพอื่ ใหท ำการแกไขและอธบิ ายได
13.8 ผลของการติดตามและประเมินจะตองถูกนำไปใชในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร ไมวาจะเปน
เนื้อหาหรือวธิ กี าร รวมถึงองคประกอบอื่นของการอบรม
14. ใบแจงหน้ี (Invoice)
14.1 ใบแจงหนี้ของการอบรมตองมีความชัดเจน และควรมีรายละเอียดที่จำเปนครบถวน เพื่อใหผูเรียน
หรือผูสนบั สนนุ เขาใจถงึ รายละเอยี ดของรายการตา ง ๆ ทีต่ องชำระ
14.2 สถาบันอบรมตองเตรยี มเอกสาร ใบสำคญั รับเงินใหกบั ผูเรียน หรือผสู นับสนนุ ดว ยถา มีการรองขอ
หมายเหตุ เอกสารฉบับนใ้ี ชเ พอื่ การอบรมสัมมนา เพื่อหาแนวปฏิบตั ใิ นการรบั รองหลักสูตรฯ เทา นน้ั
ภาคผนวก ก - 7
กรอบแนวคดิ ในการรับรองหลักสูตรและการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาบคุ ลากรภาครฐั ดา้ นดจิ ทิ ัล
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๗๘ ง หน้า ๒๕ ๒๘ มนี าคม ๒๕๖๒
ราชกิจจานุเบกษา
ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม
ฉบับท่ี 5125 (พ.ศ. 2561)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั มิ าตรฐานผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรม
พ.ศ. 2511
เร่ือง ยกเลกิ มาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม
การตรวจสอบรับรอง : ข้อกาหนดทว่ั ไปสาหรับหน่วยรบั รองระบบงานในการรบั รองหน่วยตรวจสอบรบั รอง
และกาหนดมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม
การตรวจสอบรบั รอง - ข้อกาหนดสาหรับหนว่ ยรับรองระบบงานในการรับรองหนว่ ยตรวจสอบรบั รอง
โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การตรวจสอบ
รับรอง : ข้อกาหนดท่ัวไปสาหรับหน่วยรับรองระบบงานในการรับรองหน่วยตรวจสอบรับรอง มาตรฐานเลขท่ี
มอก. 17011 - 2548 และกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการตรวจสอบรับรอง - ข้อกาหนด
สาหรับหนว่ ยรับรองระบบงานในการรับรองหนว่ ยตรวจสอบรับรอง มาตรฐานเลขที่ มอก. 17011 - 2561
ขึน้ ใหม่
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับท่ี 7)
พ.ศ. 2558 รฐั มนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรมไว้ ดงั ต่อไปน้ี
1. ยกเลิกประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม ฉบับที่ 3440 (พ.ศ. 2548) ซ่ึงออกตามความใน
พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกาหนดมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการตรวจสอบรับรอง : ข้อกาหนดท่ัวไปสาหรบั หนว่ ยรับรองระบบงานในการรับรอง
หนว่ ยตรวจสอบรับรองลงวนั ท่ี 31 ตุลาคม พ.ศ. 2548
ทั้งน้ี ให้มีผลตัง้ แตว่ ันท่ี 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เปน็ ต้นไป
2. กาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การตรวจสอบรับรอง - ข้อกาหนดสาหรับหน่วย
รับรองระบบงานในการรับรองหน่วยตรวจสอบรบั รอง มาตรฐานเลขที่ มอก. 17011 - 2561 ข้ึนใหม่
ดังมีรายละเอียดตอ่ ท้ายประกาศนี้
ทั้งนี้ ให้มีผลตัง้ แต่วนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วนั ที่ 20 ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
อุตตม สาวนายน
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงอตุ สาหกรรม
ภาคผนวก ข - 1
กรอบแนวคิดในการรบั รองหลักสูตรและการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาบุคลากรภาครัฐดา้ นดิจทิ ัล
มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม
การตรวจสอบรับรอง – ข้อกาหนด
สาหรับหน่วยรับรองระบบงานในการรับรอง
หน่วยตรวจสอบรบั รอง
บทนา
มาตรฐานผลิตภัณ ฑ์อุตสาหกรรมนี้ กาหนดข้ึนโดยรับ ISO/IEC 17011:2017 Conformity assessment-
requirements for accreditation bodies accrediting conformity assessment bodies มาใช้โดยวิธีพิมพ์ซ้า
(reprinting) ในระดบั เหมือนกนั ทกุ ประการ (identical) โดยใช้ ISO/IEC ฉบับภาษาอังกฤษเป็นหลัก
ขอบข่าย
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ ระบุข้อกาหนดเกี่ยวกับความสามารถ การดาเนินการอย่างสม่าเสมอ และความ
เปน็ กลางของหนว่ ยรับรองระบบงานในการตรวจประเมินและรับรองหน่วยตรวจสอบรับรอง
หมายเหตุ ในบริบทของมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ี กิจกรรมการรับรองระบบงานครอบคลุมถึง การทดสอบ การสอบ
เทียบ การตรวจ การรับรองระบบการจัดการ การรับรองบุคคล การรับรองผลิตภัณฑ์ กระบวนการและบริการ
การให้บริการการทดสอบความชานาญ การผลิตวัสดุอ้างอิง การตรวจสอบความใช้ได้และการทวนสอบ แต่ไม่จากัด
เฉพาะกิจกรรมเหลา่ น้ี
เอกสารอา้ งองิ
รายละเอียดใหเ้ ปน็ ไปตาม ISO/IEC 17011 : 2017 ขอ้ 2
คาศัพท์และบทนยิ าม
รายละเอยี ดให้เป็นไปตาม ISO/IEC 17011 : 2017 ข้อ 3
ขอ้ กาหนดท่ัวไป
รายละเอียดให้เป็นไปตาม ISO/IEC 17011 : 2017 ขอ้ 4
ขอ้ กาหนดโครงสรา้ ง
รายละเอยี ดให้เปน็ ไปตาม ISO/IEC 17011 : 2017 ข้อ 5
ภาคผนวก ข - 2
กรอบแนวคดิ ในการรับรองหลกั สูตรและการจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาบคุ ลากรภาครัฐดา้ นดจิ ิทลั
ข้อกาหนดทรพั ยากร
รายละเอยี ดใหเ้ ป็นไปตาม ISO/IEC 17011 : 2017 ขอ้ 6
ข้อกาหนดกระบวนการ
รายละเอียดให้เป็นไปตาม ISO/IEC 17011 : 2017 ขอ้ 7
ขอ้ กาหนดสารสนเทศ
รายละเอยี ดให้เป็นไปตาม ISO/IEC 17011 : 2017 ขอ้ 8
ข้อกาหนดระบบการจดั การ
รายละเอยี ดใหเ้ ป็นไปตาม ISO/IEC 17011 : 2017 ข้อ 9
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. (ให้ไว้เป็นข้อมูล) ความรแู้ ละทักษะสาหรับการดาเนนิ กิจกรรมการรบั รองระบบงาน
รายละเอียดให้เป็นไปตาม ISO/IEC 17011 : 2017 Annex A
ภาคผนวก ข - 3
กรอบแนวคิดในการรบั รองหลักสูตรและการจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาบุคลากรภาครัฐด้านดจิ ิทัล
กก F ก F
ก
1. F
กก กก F ก ก F ก Fก
ก ก กก Fก ก ก
ก กก ก กF ก
ก F ก ก ก กก ก F ก ก ก
กF ก Fก F ก F กก
2. ก F
2.1 ก F . .2551
2.2 ก. 17011 (ISO/IEC 17011) ก : Fก F
กF F
F
2.3 ก ก F ก
F ก กก
(1) ก ก F กF F F
(2) ก F
(3) ก ก ก F ก ก
(4) ก F กF
(5) ก ก ก Fก F FF
(6) ก F ก ก
2.4 ก ก ก F
2.5 ก ก ก F F กก
2.6 ก ก Fก ก
2.7 ก ก FFก
3.
F ก Fˈ ก กF ..
2551 F ก
3.1 ก ก F F Fก กF
F
กก กก F ก กก
กF
(ก .) ( F กF ก ก ) F F Fก
F กก
1/12 ภาคผนวก ค - 1