ประโยค
ความหมาย
พระยาอปุ กติ ศิลปสาร
“ประโยค คือ ถอ้ ยคำที่มเี นอ้ื ควำมครบบริบรู ณ์”
กาชัย ทองหล่อ
“ประโยค คือ กลุ่มคำท่มี ีควำมเกยี่ วข้องกันเปน็ ระเบยี บและมี
เนอ้ื ควำมครบบริบูรณ์ โดยปรกติประโยคจะตอ้ งมีบทประธำนและบท
กรยิ ำเป็นหลักสำคญั ”
ภาคประธาน ภาคแสดง
1. ประธาน อาจมีสว่ นขยายประธานด้วย 1. กรยิ า อาจมีส่วนขยายกริยาด้วย
2. กรรม อาจมีส่วนขยายกรรมด้วย
ประโยคท่สี มบรู ณ์จะตอ้ งมสี ว่ นประกอบอย่างนอ้ ย 2 ส่วน คือ
1. สว่ นประธาน 2. สว่ นกริยา
บางประโยคจะตอ้ งมีสว่ นประกอบ 3 สว่ นจงึ จะสมบรู ณ์ คอื
1. ส่วนประธาน 2. ส่วนกรยิ า 3. สว่ นกรรม
แผนภมู ิแสดงการวิเคราะห์ประโยค
ภาคประธาน ภาคแสดง
ประธาน ขยายประธาน
พ่อ คาช่วย กริยา กรรม ขยายกรรม ขยายกรยิ า
พ่อ ของผม อา่ น ทุกเช้า
คน กรุงเทพ อา่ น หนังสอื
เด็ก ตืน่ ทุกเชา้
เดก็ หนังสอื ธรรมะ
ชาย ร่างผอม มกั หวั เราะ เชา้ มาก
นกั เรียน หลักสตู รพนั จ่าเอก กาลงั หวั เราะ
ผหู้ ญงิ ใจดี เคย สบู บหุ รี่ เล่มหนา เสียงดงั
คง อ่าน หนังสอื จัด
หอ้ ง อยา่ งตงั้ ใจ
เขา้ สาย
รปู แบบประโยค
รปู แบบประโยคในภาษาไทยมีประโยคไวยากรณแ์ ละประโยคใจความ
ประโยคไวยากรณ์ 5 รูปแบบ ดังน้ี
1. ประโยคกรรตุ (ประโยคประธาน) : ประธาน คอื คานามหรอื สรรพนามเป็นผแู้ สดงอาการ
เช่น ฉนั เปน็ นักศกึ ษา หมาเห่า
2. ประโยคกรยิ า มีคากรยิ า “เกดิ มี ปรากฏ” ขน้ึ ตน้ ประโยคแล้วตามด้วยประธาน เช่น
เกิดเรือลม่ ที่จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
มคี นสวยจานวนมากในห้องน้ี
ปรากฏหมอกกุมเกตุปกคลมุ กรุงเทพมหานคร
3. ประโยคกรรม นำเอำกรรมกำรก (ผู้ถูกกระทำ) ขึ้นมำเป็นประธำนใน
ประโยค มกั จะใชก้ ริยำ “ถูก” เช่น เขำถูกรถชน หนถู ูกแมวกนิ
ในภำษำไทย “ถูก” มีควำมหมำยในทำงไม่ดี แต่อิทธิพลประโยคไวยำกรณ์
อังกฤษ หรือประโยคกรรมกำรก (Passive Voice) จึงนำ “ถูก” มำใช้อย่ำง
แพรห่ ลำย เชน่ เขำถูกลอตเตอรร์ ี่ เขำถกู เชิญให้เปน็ ประธำน ควรแกเ้ ป็น
เขำ ..................รำงวลั สลำกกนิ แบ่งรฐั บำล
เขำ .................. เชิญใหเ้ ปน็ ประธำน
มปี ระโยคทนี่ ากรรมมาเป็นประธาน เพือ่ เนน้ ควำมสำคัญของกรรม เช่น
อำหำรวันนีฉ้ นั ซ้ือมำเอง
4. ประโยคการติ คือ ประโยคประธานหรือประโยคกรรมทม่ี ผี ู้รบั ใช้แทรกเข้ามา
(ใครใช้ใหท้ าอะไร) เชน่
เธอให้ฉันสวมเส้อื แบบนีห้ รือ (ประโยคประธาน)
เขาถูกคนร้ายขม่ ขู่ใหถ้ อนเงินจากธนาคาร (ประโยคกรรม)
5. ประโยคกรยิ าสภาวมาลา คอื ประโยคที่มคี ากริยาสภาวมาลาเป็นประธาน
(กรยิ าสภาวมาลา เป็นคากริยาทน่ี ามาใชเ้ ปน็ คานามปรากฏในตาแหน่งประธานของ
ประโยค) เช่น
วิ่งออกกาลงั เวลาเชา้ ทาใหร้ า่ งกายแข็งแรง
นอนเปน็ การพักผ่อนที่ดที สี่ ดุ
ประโยคใจความ
มี 3 ลกั ษณะ ดังนี้
ประโยคความเดียว หรือเอกรรถประโยค (simple
sentences) คอื ประโยคสามญั ทมี่ โี ครงสร้าง ดังน้ี
ประธาน + กริยา
ประธาน + กรยิ า + กรรม
ประธาน + ส่วนขยาย + กรยิ า + ส่วนขยาย
ประธาน + ส่วนขยาย + กรยิ า + กรรม + ส่วนขยาย
เอกรรถ + ประโยค
เอกรรถ = เอก + อรรถ
อรรถ = 1) ความหมาย
วิชาอรรถศาสตร์ (semantics) = วิชาว่าดว้ ยความหมาย
2) ประโยชนท์ ตี่ อ้ งการ อรรถประโยชน์
เอกรรถ + ประโยค = ประโยคท่ีมอี รรถะเดยี ว
ประธานเดยี ว-กรยิ าเดยี ว
นอ้ งเล่นตกุ๊ ตา
นอ้ งเล่นตุ๊กตนุ่ กบั ตุ๊กตา
ประโยคความรวม
อเนกรรถ + ประโยค
อเนก + อรรถ
อนฺ + เอก = อเนก เอนก
อ ‘ไม,่ ไม่ใช่’
อนฺ
อ + พยญั ชนะ อ-ธรรม, อ-กศุ ล
อนฺ + สระ อนฺ + อารฺย = อนารยะ
อนฺ + อนตฺ = อนนั ต์
อเนกรรถ + ประโยค = ประโยคที่มีหลายอรรถะ
ประโยคความรวม หรืออเนกรรถประโยค (Compound sentences) คอื การนา
ประโยคความเดยี วมากกวา่ 1 ประโยคมารวมกัน แล้วเชือ่ มประโยคดว้ ยคาสนั ธาน มี 4 แบบ
1. เน้อื ความคล้อยตามกนั หรืออนั วยาเนกรรถประโยค ดงั นี้
- เนื้อความตามกนั ตามเวลา มกี ริยานเุ คราะห์ “แลว้ ” หรือวเิ ศษณ์ ครน้ั พอ เม่อื เมื่อ
... ก็ ครั้น ...ก็ พอ...ก็ แลว้ ...จึง แสดงเวลาตอ่ เน่ืองกัน
เขารบั ประทานอาหารแล้วเขาก็ดูโทรทัศน์
เขาอ่านหนงั สอื แลว้ เขาจึงพกั ผ่อน
ครั้นเวลาหมดลง เขากก็ ลับบ้านทนั ที
เม่อื ฟา้ สางแลว้ เขาจงึ ออกเดินทาง
ประโยคความรวม
-เนอ้ื ความตามกันตามการกระทา จะมีคาว่า และ กบั ทง้ั ... และ เปน็
สนั ธาน
(ทั้ง) คุณแม่ และคณุ ยายรบั ประทานอาหาร
คณุ พอ่ กบั ฉันนง่ั ดโู ทรทศั น์
บางคร้งั ไมป่ รากฏคาเชื่อม เช่น
ฉันเดินบา้ งวิ่งบา้ ง (ฉนั เดนิ บา้ ง ฉนั ว่ิงบ้าง)
ท้ังสัตวท์ ้งั พืชย่อมมชี วี ติ (สตั วย์ อ่ มมีชวี ติ พืชย่อมมีชีวติ )
ประโยคความรวม
เนือ้ ความแบ่งรบั (ตามเง่อื นไข) มคี าวา่ ถา้ ถ้าวา่ แม้ แมว้ า่ ถ้า...ก็ ผิ
วา่ และอาจมีสันธาน “และ”
ถ้าฝนไม่ตกฉันจะไป
แมว้ า่ ฝนตก ฉันก็ไป
ถ้าฝนไม่ตกและฉนั สบายดกี ็จะไป
ฉันจะไปถ้าฝนไมต่ ก
ประโยคความรวม
เนอ้ื ความขดั แยง้ กัน หรอื พยตเิ รกาเนกรรถประโยค เปน็ ประโยคท่ี
เนื้อความประโยคหน้าแยง้ กับเน้อื ความในประโยคหลัง ดังน้ี
ขดั แย้งที่การกระทา ใช้สันธาน “แต่ แต่ทวา่ ”
เขานอนแต่ยงั ไมห่ ลับ
กายสบายแต่ทว่าใจไมส่ บาย
ขดั แยง้ ท่เี วลา ใช้สันธาน กวา่ ...ก็
กวา่ ถั่วจะสกุ งากไ็ หม้
➢ขดั แยง้ ทเ่ี งื่อนไข ใช้สันธาน ถึง ...ก็ แม้ ... ก็
ถงึ เขาจะมาสาย (แต่) เขากไ็ มเ่ คยสอบตก
3. เนอื้ ความเป็นเหตุเป็นผลกัน หรอื เหตวาเนกรรถประโยค ใช้สนั ธาน จงึ
ฝนตกน้าจึงทว่ ม
ครัง้ ถงึ จงึ เปลอื้ งเครื่องทรง
เธอท้งิ ฉนั เพราะฉะนั้น ฉันจงึ มแี ฟนใหม่
ประโยคทเ่ี หตุอย่ตู น้ ผลอย่ทู า้ ย จะเป็นประโยคความรวม
1. เธอนอนดกึ จงึ ตนื่ สาย (เหตุ ผล) (อเนกรรถประโยค)
2. เธอตนื่ สาย เพราะนอนดกึ (ผล เหต)ุ (สงั กรประโยค)
4. เนือ้ ความให้เลอื กอย่างใดอยา่ งหนึง่ หรือวิกัลปป์ าเนกรรถประโยค มคี า
“ไม่เช่นน้นั ไม่อย่างนัน้ มฉิ ะนั้น มิเชน่ นัน้ ” รวมกับคาว่า ก็ มาประกอบกนั ได้
คุณพ่อมาหรอื คุณแมม่ า
คุณพ่อหรือคุณแม่มา
คณุ พอ่ หรอื ไมก่ ็คณุ แมม่ า
คุณพ่อหรือไมเ่ ช่นน้ันก็คุณแมม่ า
เธอต้องสอบให้ผ่าน มิฉะนนั้ เธอต้องทารายงาน 100 หนา้
อเนกรรถประโยค
ก. ประธานเดียว-หลายกริยา [ไมม่ สี ันธาน]
เขา นัง่ อา่ น หนังสือ
ตามีนงั่ สบู บหุ ร่ี
ข. หลายประธาน-กรยิ าเดียว [ประธานท้ัง 2 เชอื่ มด้วย และ]
ตา-และ-ยายดลู ะคร
ค. กรยิ าเดยี ว-หลายกรรม [กรรมทัง้ 2 เช่อื มด้วย และ]
นอ้ งดลู ะครไทยและละครเกาหลี
ง. หลายกรยิ า หรือ หลายประโยคย่อย [มี สันธาน]
เขาเป็นเพอ่ื นและเป็นทปี่ รึกษาของฉัน
ประโยคความซอ้ น หรอื สังกรประโยค (complex sentences) คือประโยคที่มี
ประโยคย่อย (อนปุ ระโยค) และ ประโยคหลัก (มขุ ยประโยค)
สังกร + ประโยค
สงั กร = ผสม
สงั กรประโยค = ประโยคผสม คือ ผสมระหวา่ ง มขุ ยประโยค กับ อนุประโยค
(ประโยคย่อยกับประโยคยอ่ ย)
มักมีประพันธสรรพนาม ท่ี ซงึ่ อัน ผู้
ดอกไม้ทีฉ่ นั ชอบคอื มะลิ (ดอกไม้ คือดอกมะลิ) (ฉนั ชอบ)
อนปุ ระโยคทาหน้าท่ีขยายประธาน
เขาชอบผลไม้ทม่ี รี สเปร้ียว (เขาชอบผลไม้ ผลไมม้ รี สเปร้ยี ว)
อนุประโยคทาหนา้ ที่ขยายกรรม
อนปุ ระโยค คอื ประโยคที่ขึน้ ตน้ ด้วยคาเช่อื มอนปุ ระโยคท่ีทาหน้าท่ีประธาน กรรม
หนว่ ยเติมเตม็ ขยายสว่ นหลกั หรือทาหน้าท่ีคาวเิ ศษณ์วลีขยายกรยิ าในประโยค
แบ่งเป็น 3 ชนิด ดังน้ี
1. นามานุประโยค (ทาหน้าท่อี ยา่ ง นาม) คอื ประโยคทลี่ ดฐานะลงเปน็ อนปุ ระโยคที่ทาหนา้ ท่ี
เหมอื นนามวลี อาจเป็นประธาน กรรม ส่วนเติมเตม็ หรอื ขยายความ คาเชื่อม ที่ ทว่ี า่ ให้
นาหน้า เชน่
ฉนั เหน็ --เขานงั่ ตกปลา
(กรรม)
ฉันไม่ชอบ--ที่เขาโกงแล้วหนีไป
(กรรม)
ทเ่ี ขาโกงแล้วหนไี ป--ฉันไมช่ อบ
(กรรม)
ท่เี ขาบอกฉนั ------ ผดิ แน่นอน
(ประธานของกรยิ าวลี ผดิ แน่นอน)
อาจารย์ดใี จที่นกั ศกึ ษาสอบบรรจุได้ทั้งหมด
(ส่วนเติมเตม็ ของกรยิ าดีใจ)
2. คณุ านุประโยค (ทาหน้าท่ีอย่าง คาขยายนาม) คอื ประโยคทลี่ ดฐานะลงเป็นอนุ
ประโยค ทาหน้าท่ีขยายนามทน่ี ามาขา้ งหนา้ มีคาเช่ือมอนุประโยค ที่ ซง่ึ อัน และ
คาเชอื่ มคุณานปุ ระโยค เปน็ ประธานของอนุประโยค
น็อต ซึ่งเป็นดีเจชอื่ ดังถกู เรยี กคนื รางวลั คนไทยตัวอยา่ งประจาปี 2559
(ซ่งึ เป็นดีเจ) เป็นคณุ านุประโยค ขยายนาม น็อต
ของขวัญทีฉ่ นั ได้แพงมาก
(ท่ีฉันได้) เปน็ คณุ านุประโยค ขยายนาม ....
ความประพฤติอนั เหลวแหลกยอ่ มสรา้ งความพนิ าศแก่ชวี ติ
(อันเหลวแหลก) เป็นคุณานปุ ระโยค ขยายนาม ....
เสาวลกั ษณ์ซือ้ ดอกไมช้ ่อนนั้ จากร้านท่ีอยหู่ นา้ มหาวิทยาลัย
(ทอ่ี ยหู่ นา้ มหาวทิ ยาลยั ) เป็นคณุ านุประโยค ขยายนาม ....
3. วิเศษณานุประโยค คอื ประโยคที่ลดฐานะลงเปน็ อนปุ ระโยค ทาหนา้ ท่ขี ยาย
กรยิ าวลหี รอื วิเศษณว์ ลี มีคาเช่ือมทจี่ ัดเป็นกล่มุ ดงั นี้
คาเชื่อมวเิ ศษณานปุ ระโยคบอกเวลา เชน่ ขณะที่ เม่อื ก่อน หลัง หลงั จากที่
แต่ ตั้งแต่
พอ่ มาเมอ่ื ลูกหลับ
นักเรียนกลบั บา้ นหลังเลกิ เรยี นแล้ว
คาเชอื่ มวิเศษณานปุ ระโยคบอกเหตุ เชน่ เพราะ เนอ่ื งจาก
เขานอนตัวส่นั เพราะเป็นไข้
เขาอดทนเนอื่ งจากเฝา้ ไขแ้ มท่ ้งั คนื
คาเชื่อมวเิ ศษณานุประโยคบอกผล เชน่ จน กระท่ัง จนกระทง่ั
แมวอ้วนจนเดนิ ไม่ไหว
อาจารยพ์ ูดเร็วกระทงั่ ฉันฟงั ไมท่ นั
คาเชือ่ มวิเศษณานุประโยคบอกจดุ มงุ่ หมาย เชน่ เพื่อ เพื่อว่า เพ่อื ให้
เขาทางานหนกั เพอื่ ช่วยครอบครัวดขี นึ้
แมร่ ้องเพลงกล่อมเพอื่ ใหล้ ูกหลับ
ชนิดของประโยค
โดยทวั่ ไป ประโยคมีหน้าท่ีหลัก 3 ประการ ไดแ้ ก่
แจง้ ใหท้ ราบ ถามให้ตอบ บอกใหท้ า
แต่การสง่ สารของภาษาไทยมีเจตคติ อารมณร์ ว่ มอยู่ดว้ ย การแบง่ ชนดิ ของประโยคจงึ เป็น ๒ กลุ่มใหญ่
คือ แบง่ ตามมาลาและเจตนา ดังน้ี
1. ประโยคที่แบ่งตามมาลา 4 ชนดิ
1. ประโยคบอกเลา่ คือ ประโยคทม่ี ีเนื้อควำมบอกใหท้ รำบหรือแจ้งเร่ืองรำว เชน่ ยำย
บรจิ ำคส่งิ ของชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยนำ้ ท่วม นักเรยี นเลือกประธำนนกั เรยี น
2. ประโยคปฏเิ สธ คือ ประโยคท่บี อกควำมปฏิเสธหรือไมต่ อบรับ จะมีวิเศษณ์บอกควำม
ปฏิเสธ เช่น ไม่ ไม่ได้ ไมใ่ ช่ มิใช่ หำ...ไม่ หำมไิ ด้ อย่หู นำ้ หรือหลงั กรยิ ำ เชน่
กำรเลือกตง้ั ไม่ไดเ้ ปน็ ไปดว้ ยบริสทุ ธิย์ ตุ ธิ รรม
ฉนั ไมช่ อบอำ่ นหนังสือ
ข้อสังเกต ถ้าข้อความบ่งบอกว่าประธานทากริยานั้น แต่ทาไม่ได้ ทาไม่สาเร็จ
หรือประสงค์จะทาแต่มีเหตุขัดข้องไม่ได้ทา ไม่จัดเป็นประโยคปฏิเสธแต่จัดเป็น
ประโยคบอกเลา่ เชน่
เขาไปไมไ่ ด้ (ประสงคจ์ ะไปแตม่ เี หตุขดั ขอ้ ง)
เขาสอบไลไ่ ม่ได้ (สอบแลว้ แตไ่ ม่ได)้
กรณที ่ใี นประโยคมวี ิเศษณบ์ อกความปฏิเสธ แต่ไมไ่ ด้ขยายกรยิ าโดยตรง ก็
ถือเปน็ ประโยคบอกเลา่ เชน่ ฉนั ชอบอาหารรสไม่จัด คาว่า ไม่ ขยาย จัด ซึ่ง
เป็นวเิ ศษณ์
3.ประโยคคาถาม คือ ประโยคที่ใช้ถามเพื่อตอ้ งการคาตอบ มี 2 ชนิด คอื
- ประโยคคาถามท่ีตอ้ งการคาตอบอย่างใดอยา่ งหนง่ึ เชน่
เขาจะยา้ ยบา้ นไปอยทู่ ีไ่ หน
พอ่ รูไ้ ด้อย่างไรวา่ เขามาเยี่ยมยายในวนั น้ี
- ประโยคที่ตอ้ งการคาตอบเพยี งการบอกรบั หรอื ปฏิเสธ เช่น คุณชอบอาชีพครูไหม
4. ประโยคคาสัง่ ขอรอ้ ง หรือวิงวอน คือ ประโยคที่ใช้สั่งหรอื ขอรอ้ งให้ทาตามท่ีต้องการ ส่วนใหญ่
จะละประธาน แล้วใชก้ รยิ าข้นึ ต้นประโยค และอาจมีกริยาช่วยเนน้ เจตนาของผู้สง่ สาร แบ่งได้ดงั น้ี
เริ่มตน้ ดว้ ยคาแสดงคาส่งั หรือขอร้อง เช่น
อย่า ให้ จง โปรด ชว่ ย เชน่ ห้ามใสร่ องเท้าแตะ
เรมิ่ ตน้ ด้วยคากริยา เชน่
เขา้ มาซิ กลบั ไปได้แลว้
ขนึ้ ต้นดว้ ยคาเรียกขาน เช่น
นักเรยี นตรง หนูแดงมาหาแม่หน่อย
2. ประโยคทแ่ี บง่ ตามเจตนา 9 ลักษณะ ดงั น้ี
1. ประโยคบอกให้ทราบ อย่ใู นรปู บอกเลำ่ หรอื ปฏเิ สธก็ได้
2.ประโยคเสนอแนะ เสนอขอ้ คดิ เห็น มีคำกริยำหรือคำกรยิ ำรว่ มอยู่ เช่น ลอง
ชมิ ดูนะ ครูควรเมตตำตอ่ ศษิ ยท์ ุกคน พดู เพรำะ ๆ หนอ่ ยซี้ น่ังน่ีซิ
3. ประโยคส่ัง ต้องกำรใหป้ ฏิบัติตำม “จง ต้อง ซิ นะ”
4. ประโยคห้าม ไม่ต้องกำรใหก้ ระทำ “อยำ่ ห้ำม” นะ (คำลงท้ำย)
5. ประโยคขอรอ้ ง มีเจตนำใหช้ ่วยทำสิง่ ใดสงิ่ หน่ึง “ชว่ ย วำน กรณุ ำ โปรด”
(กริยำ) “ด้วย ที หน่อย” (วเิ ศษณ์) “เถอะ นะ นะ่ ” (คำลงทำ้ ย)
6. ประโยคคาดคะเน แสดงความคาดหมายว่าสิ่งใดจะเกิดหรือเกิดขนึ้ แลว้
“คง อาจ ทา่ จะ เห็นจะ นา่ กลวั ” (คากริยา) “กระมงั ละ ซิ” (คาลงท้าย)
7. ประโยคขู่ บอกผลของการไม่ทาตาม “ถ้า หาก”
8. ประโยคชักชวน ต้องการใหท้ าตามความคิดของตน
“เถอะ เถอะนะ” ปรากฏรว่ มอยู่
9.ประโยคถาม มีเจตนาถามให้ผ้อู ืน่ ตอบ มีคาที่แสดงการถามปรากฏอยู่