การใช้เคร่อื งหมายวรรคตอน
เคร่อื งหมายวรรคตอน ๒
•เครอ่ื งหมายต่าง ๆ ท่ใี ช้ประกอบในการเขียนข้อความ เชน่
มหัพภาค (.) อัฒภาค (;) ไมย้ มก (ๆ).
ปรัศนี (question mark) ? ๓
•๑. ใชเ้ มื่อสน้ิ สดุ ความหรอื ประโยคท่ีเปน็ คาถาม หรือใช้แทนคาถาม
ใคร ? เขาถามขึน้
ทาไมคุณจึงเลกิ แต่งหนังสอื ?
•๒. ใชห้ ลงั ข้อความเพ่ือแสดงความสงสัยหรอื ไม่แนใ่ จ มักเขยี นอยูใ่ นวงเล็บ
ในหนงั สือราชาธิราชวา่ พระเจา้ ฟา้ รัว่ ทิวงคตเมอื่ ปีฉลู จุลศกั ราช ๖๗๕ พ.ศ.
๑๘๕๖ มกะตาเปน็ อนชุ าได้ราชสมบัติ ใหเ้ ข้ามาทูลขอให้สมเด็จพระร่วงต้งั พระนามอยา่ งคร้งั
พระเจ้าฟา้ รัว่ ได้รบั พระนามว่า พระเจ้ารามประเดดิ (ประดิษฐ?์ )
มหพั ภาค (full stop, period) . ๔
•ใช้เพือ่ แสดงวา่ จบประโยคหรอื จบความ
คอยท่นี ่ี.
ในกรณีทีป่ ระโยคนั้น ๆ มีเคร่อื งหมายอญั ประกาศหรอื เครอ่ื งหมายวงเล็บอยู่
ด้วย ให้ใสเ่ ครื่องหมายมหพั ภาคไวห้ ลงั สดุ
ดังทมี่ ีกล่าวไวใ้ นพระสตู รว่า “ขณะเมอื่ อสรู ถือเอาซ่งึ รปู รา่ งเป็นตวั ตนยืนอยบู่ นสัน
เพชรในกลางมหาสมุทร ความลกึ แหง่ ทะเล ซอ่ นร่างกายไวค้ รงึ่ หนึง่ สว่ นท่สี งู ด่ังยอดเขาพระ
สเุ มรุ คอื เศยี รของอสรู เห็นตระหง่าน”.
ยตั ิภังค์ (hyphen) - ๕
• – (อาจเขียนให้ยาวได้หลายขนาดตามความเหมาะสม แตไ่ ม่ควรเกิน ๒ ช่วงตวั อกั ษร)
• ๑. ใช้เขยี นไวส้ ุดบรรทดั เพอ่ื ตอ่ พยางคห์ รอื คาสมาส ซง่ึ จาเป็นตอ้ งเขียนแยกบรรทัดกัน เน่อื งจาก
เน้ือทีจ่ ากัด
คณะกรรมการกาหนดหลกั เกณฑ์เก่ียวกับการใช้ภาษาไทย ประชมุ ณ ห้องนันทนาการราชบัณฑติ ย-
สถาน ราชบัณฑติ ยสถาน.
• ๒. ใช้เขยี นแยกพยางค์เพื่อบอกคาเตม็ ที่จาเป็นต้องแยกตามฉันทลักษณ์
• ลูกเคยมุ่งภักดิณปะระมะธรร– มาธิราชนั – ยะสามี
ยัตภิ ังค์ (hyphen) - ๖
• ๓. ใช้แยกพยางค์เพื่อบอกคาอา่ น โดยเขียนไว้ระหวา่ งพยางค์แตล่ ะพยางค์
ประกาศนยี บัตร อ่านว่า ปรฺ ะ–กา–สะ–น–ี ยะ–บัด, ปรฺ ะ–กาด–สะ–น–ี ยะ–บดั .
• ๔. ใช้แสดงคาท่ีละสว่ นหนา้ หรือส่วนทา้ ยหรือทง้ั สว่ นหนา้ และส่วนทา้ ยของคาไว้
(๑) –กระเฉง ใช้เขา้ คกู่ ับคา กระฉับ เปน็ กระฉับกระเฉง.
(๒) ทตุ ยิ – [ทตุ ิยะ–] (แบบ) ว. ท่ี ๒, มกั ใชน้ าหน้าศัพท์อน่ื เช่น ทุตยิ ดถิ ี = วนั ๒ คา่ ,
ทุติยมาส = เดอื นที่ ๒, ทตุ ยิ วาร = ครั้งท่ี ๒, ทตุ ยิ สรุ ทิน = วันท่ี ๒. (ป.).
ยัติภังค์ (hyphen) - ๗
• ๕. ใช้ในความหมายว่า “ถงึ ” เพอ่ื แสดงช่วงเวลา จานวน สถานท่ี ฯลฯ
(๑) เวลา ๑๐.๓๐–๑๒.๐๐ น. [เว–ลา–สิบ–นา–ล–ิ กา–สาม–สิบ–นา–ที–ถึง–สิบ–สอง–นา–ล–ิ กา]
(๒) ตัง้ แต่วนั จนั ทร์–วันเสาร์ [ตัง้ –แต่–วัน–จนั –ถงึ –วนั –เสา]
๖. ใช้เขียนแยกกลุ่มตัวเลขตามรหสั ทีก่ าหนดไว้
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐ ๒๕๓๑ ๓๒๓๔ [หมฺ าย–เลข–โท–ระ–สบั สนู –สอง–ห้า–สาม–หฺนึง่ สาม–สอง–
สาม–ส่ี]
๗. ใช้กระจายอกั ษรเพอ่ื ให้เหน็ ว่าคานัน้ ประกอบด้วยพยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์อะไรบ้าง
• (๑) ก–ร–ร–ม
(๒) แ–ป–ล–ก
วงเล็บ หรือ นขลขิ ติ (parenthesis) ๘
•( )
• ๑. ใชก้ นั ข้อความทีข่ ยายหรอื อธิบาย จากข้อความอนื่ และข้อความใน
ระหวา่ งวงเลบ็ นั้น จะอา่ นหรอื เวน้ เสียกไ็ ด้โดยไมท่ าให้เน้อื ความเสียไป
อริยสจั ๔ ได้แก่ ๑. ทกุ ข์ ๒. ทุกขสมทุ ัย (เหตใุ ห้เกดิ ทุกข)์ ๓. ทกุ ขนิโรธ
(การดับทุกข์) และ ๔. ทุกขนิโรธคามนิ ี ปฏปิ ทา (ทางดาเนนิ ไปสูค่ วามดับทกุ ข์).
• ๒. ใช้ขยายความใหช้ ดั เจนยง่ิ ขึ้น
• ((๒๑)) เเสจ้าฐพยี รรโะกยเาศพศร(ะพครละังย(าหอนน)ุมานราชธน)
วงเล็บ หรอื นขลขิ ิต (parenthesis) ๙
• ๓. ใช้กนั ตวั อกั ษรหรือตัวเลขท่เี ปน็ หวั ข้อย่อย อาจใช้เพียงวงเลบ็ ปดิ ข้างเดียวกไ็ ด้
(๑) (๑) หรอื ๑)
(๒) (ก) หรือ ก)
๔. ใช้กันตวั อกั ษรหรอื ตัวเลขบอกเชิงอรรถ
• ๑. วนั รงุ่ แรมสามคา่ (๑)เป็นสาคญั อภวิ นั ทล์ าบาทพระชินวร
…………………………………… ………………………………..
…………………………………… ………………………………..
…………………………………… ………………………………..
_____________________
• (๑) แรม ๓ ค่า เดอื น ๓ ตรงกับวันอาทติ ยท์ ่ี ๑๔ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๕๐.
อฒั ภาค (semicolon) ๑๐
•;
๑. ใช้แยกประโยคเปรยี บเทียบออกจากกัน
• (๑) ลกั ษณะเขยี นหนังสอื เราเขียนถ้อยคาติดกันไปหมดไมเ่ ว้นระยะคาทกุ ๆ คาอยา่ งเชน่ ลักษณะ
เขยี นหนังสือของชาวยุโรป, จงึ่ ทาให้เปน็ ที่ฉงนแก่ผ้ไู ม่สู้ชานชิ านาญในเชิงการอา่ นหนงั สือไทย; ไม่ใช่แต่
ชาวต่างประเทศ, ถึงแม้คนไทย ๆ เราเองกร็ ู้สึกลาบากอยู่ไมน่ ้อยเหมือนกัน.
(๒) คนบางคนมคี วามสามารถเลน่ เคร่อื งดนตรไี ดแ้ ทบทกุ ชนิด; บางคนเลน่ ไมเ่ ปน็ สักอยา่ ง.
๒. ใช้คั่นระหว่างประโยคท่ีมรี ปู ประโยคและใจความสมบูรณอ์ ย่แู ล้ว เพือ่ แสดงความตอ่ เนอ่ื งอย่าง
ใกล้ชิดของประโยคนัน้
• ตัวอย่าง
• วาทยกรประสบอุบตั ิเหตไุ ดร้ ับบาดเจ็บสาหัส; การแสดงดนตรจี ึงต้องงด.
อฒั ภาค (semicolon) ๑๑
• ๓. ใช้แบ่งประโยค กลมุ่ คา หรอื กลุม่ ตวั เลขท่ีมีเครือ่ งหมายจุลภาคอยูแ่ ลว้ ออกเปน็
ส่วนเปน็ ตอนให้เห็นชัดเจนย่งิ ขึน้ เพอื่ กนั ความสับสน
• นางสาวมณฑาทพิ ย์ กาลังแตง่ ตัว, หวีผม, แตง่ หนา้ , จะไปทางาน; บงั เอญิ มี
แขกมาหา, ต้องออกมารบั แขก; เมอ่ื แขกไปแลว้ , จงึ ออกจากบา้ น; ทาใหไ้ ปถึงท่ที างาน
สาย.
อฒั ภาค (semicolon) ๑๒
• ๔. ใชค้ นั่ คาในรายการทม่ี จี านวนมาก ๆ เพ่อื จาแนกรายการออกเปน็ พวก ๆ
• การสมั มนาครง้ั น้ีมีผู้แทนจากหนว่ ยราชการตา่ ง ๆ เข้ารว่ มดว้ ย เชน่ กรมวิชาการ, กรมอาชีวศกึ ษา, ในสงั กดั
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร; กรมป่าไม,้ กรมวชิ าการเกษตร, ในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กรมอนามยั , กรมการแพทย์,
ในสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ .
• ๕. ใชใ้ นหนังสือประเภทพจนานุกรม
• ๕.๑ เพ่อื คนั่ บทนยิ ามของคาทมี่ คี วามหมายหลายอย่าง แตค่ วามหมายน้นั มนี ยั เนือ่ งกับความหมายเดมิ
• กง่ิ น. สว่ นทแี่ ยกออกจากตน้ , แขนง; ใช้เรียกส่วนยอ่ ยทแ่ี ยกออกไปจากส่วนใหญ่ แต่ยังขึน้ อย่กู ับส่วนใหญ่ เชน่ กงิ่
อาเภอ กง่ิ สถานตี ารวจ; ลักษณนามเรยี กงาช้าง วา่ กง่ิ ; เรือชนดิ หนึง่ ในกระบวนพยุหยาตรา.
• ๕.๒ เพ่ือค่ันอกั ษรยอ่ บอกทม่ี าของคา
• กศุ ล [–สน] น. ส่งิ ทด่ี ีที่ชอบ, บุญ. ว. ฉลาด (ส.; ป. กสุ ล).
อศั เจรยี ์ (exclamation mark) ๑๓
•!
๑. ใชเ้ ขยี นหลงั คา วลี หรือประโยคทเ่ี ปน็ คาอทุ าน
• (๑) อุ๊ย !
(๒) กรรมจริง !
• ๒. ใช้เขยี นหลงั คาเลยี นเสียงธรรมชาติ เพ่อื ใหผ้ อู้ ่านทาเสยี งไดเ้ หมาะสมกับเหตกุ ารณ์ในเรอ่ื งน้นั ๆ เม่อื ไม่
สามารถจะเขยี นให้ถกู ต้องเป็นตวั หนังสอื ได้
• (๑) โครม !
(๒) ปงั !
• ๓. ใชเ้ ขียนหลงั ข้อความส้นั ๆ ทตี่ อ้ งการเน้นเป็นคาสัง่ หรอื คาเตอื น เป็นตน้
(๑) หยุด !
(๒) ระวงั ! อนั ตรายจากไฟฟ้าแรงสงู
จุลภาค (comma) หรือ จุดลูกน้า ๑๔
•,
๑. ใช้แยกวลหี รอื อนปุ ระโยคเพอ่ื กนั ความเขา้ ใจสบั สน
• นายแดงท่เี ดนิ มากบั นายดา, เปน็ กานัน.
๒. ใชค้ ่นั คาในรายการ ทีเ่ ขยี นตอ่ ๆ กัน ตัง้ แต่ ๓ รายการข้นึ ไป
• สนิ ค้าราคาคุม ได้แก่ ข้าวสาร, น้าตาลทราย, นา้ มันพืช และผงซกั ฟอก.
ในกรณที ี่ต้องการแยกกลมุ่ ใหเ้ ห็นชัด อาจใสเ่ ครือ่ งหมายจุลภาคหนา้ คา “และ” หรอื
“หรือ” ก็ได้
• เช็คของบริษัทนจ้ี ะสมบูรณเ์ มอ่ื มีผูล้ งนาม ๓ คน คอื ก หรอื ข, ค หรอื ง, และ จ ลง
นาม.
จุลภาค (comma) หรือ จุดลกู น้า ๑๕
• ๓. ใชค้ น่ั จานวนเลขนบั จากหลักหนว่ ยไปทลี ะ ๓ หลกั
• (๑) ๑,๐๐๐ อา่ นวา่ หนึง่ พนั
• (๒) ๑,๐๐๐,๐๐๐ อา่ นวา่ หนึ่งล้าน
• (๓) ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ อ่านวา่ หน่งึ พันลา้ น
• (๔) ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ อ่านวา่ หนง่ึ ล้านลา้ น
จดุ (dot, point) ๑๖
•.
• ๑. ใชเ้ ขยี นไวห้ ลังตัวอกั ษรเพื่อแสดงว่าเป็นอกั ษรย่อ
• (๑) พ.ศ. ยอ่ มาจาก พุทธศกั ราช
• (๒) วศ.บ. ยอ่ มาจาก วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต
• ๒. ใชเ้ ขียนไวข้ า้ งหลังตวั อักษรหรือตัวเลขท่บี อกลาดบั ขอ้
• (๑) ก. [กอ]
• ข. [ขอ]
• ค. [คอ]
จุด (dot, point) ๑๗
• ๓. ใชบ้ อกว่าเปน็ ตวั อกั ษรนา อกั ษรควบ ในการบอกคาอา่ น
• (๑) หนงึ่ อ่านวา่ หฺน่งึ
• ๔. ใช้บอกวา่ เป็นตัวอักษรควบหรอื เปน็ ตวั สะกดในการเขยี นภาษาบาลสี นั สกฤตท่ี
เขียนดว้ ยอกั ษรไทย
• (๑) มติ ฺร [มดิ –ตฺระ]
• (๒) ราชนฺ [รา–ชัน]
• (๓) นโม ตสฺส [นะ–โม–ตัด–สะ]
ไปยาลใหญ่ หรอื เปยยาลใหญ่ ๑๘
ฯลฯ
๑. ใช้สาหรับละขอ้ ความข้างทา้ ยทอ่ี ยใู่ นประเภทเดยี วกนั ซึง่ ยงั มอี กี มาก แต่ไมไ่ ดน้ ามาแสดงไว้
(๑) สานวนไทยท่ีข้นึ ตน้ ด้วยคาวา่ “หนา้ ” มี หนา้ ตาย หน้าเป็น หน้าบาน ฯลฯ
(๒) ส่ิงของทีซ่ ื้อขายกันในตลาดมี เนอื้ สัตว์ ผัก ผลไม้ นา้ ตาล นา้ ปลา ฯลฯ
• การอา่ นเครอื่ งหมายไปยาลใหญ่ หรอื เปยยาลใหญ่ ทอี่ ยขู่ ้างทา้ ยขอ้ ความ ใหอ้ า่ นวา่ “ละ” หรอื “และอน่ื ๆ”
• ๒.โบราณใชล้ ะคาหรอื ขอ้ ความท่อี ย่ตู รงกลางกไ็ ด้ โดยบอกตอนตน้ และตอนจบไว้
(๑) พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก ฯลฯ ฮ
(๒) เขาเจริญพทุ ธคุณว่า อติ ปิ ิ โส ฯลฯ ภควาติ
• การอ่านเครือ่ งหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ทอ่ี ยตู่ รงกลางข้อความ อ่านว่า “ละถึง”
ไปยาลนอ้ ย หรอื เปยยาลน้อย ๑๙
•ฯ
๑. ใช้ละคาที่รู้กันดีแลว้ โดยละส่วนทา้ ยไว้เหลอื แต่สว่ นหนา้ ของคาพอเปน็ ทเี่ ขา้ ใจ
(๑) กรุงเทพมหานคร เขยี นเป็น กรุงเทพฯ
(๒) โปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม เขยี นเป็น โปรดเกลา้ ฯ
• ๒. ใช้ละสว่ นทา้ ยของวิสามานยนาม ซึ่งไดก้ ล่าวมาก่อนแลว้
(๑) มหามกฏุ ราชวิทยาลยั เขียนเปน็ มหามกฏุ ฯ
(๒) วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร เขยี นเป็น วัดพระเชตุพนฯ
• หมายเหตุ
• ก. คาแบบแผน โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ทเี่ ขยี นละส่วนทา้ ยเปน็ โปรดเกลา้ ฯ ในเวลาอา่ น
จะต้องอ่านเต็ม
ข. ถา้ ไม่ใชค่ าแบบแผน จะอ่านเตม็ หรือไมก่ ไ็ ด้
๒๐
• ๓. คา “ฯพณฯ” อา่ นวา่ “พะนะท่าน” ใช้เป็นคานาหน้าชอ่ื หรอื ตาแหน่งขา้ ราชการผู้ใหญ่
ต้ังแตร่ ะดบั รัฐมนตรีขน้ึ ไป และเอกอคั รราชทตู เป็นตน้
• (๑) ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสลู านนท์ นายกรฐั มนตรี
(๒) ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี
ไมย้ มก หรือ ยมก ๒๑
•ๆ
• ใช้เขียนหลังคา วลี หรือประโยค เพ่อื ให้อ่านซา้ คา วลีหรอื ประโยคอีกครั้งหน่ึง
• (๑) เด็กเล็ก ๆ [เดก็ -เลก็ -เลก็ ]
(๒) ในวนั หนึง่ ๆ [ใน-วัน-หน่งึ -วนั -หนงึ่ ]
(๓) แตล่ ะวัน ๆ [แต-่ ละ-วัน-แต-่ ละ-วัน]
(๔) มเี สยี งตะโกนว่า “ไฟไหม้ ๆ” [ม-ี เสยี ง-ตะ-โกน-วา่ -ไฟ-ไหฺม-้ ไฟ-ไหฺม]้
• หมายเหตุ
• ๑. คาทเ่ี ปน็ คาซา้ ตอ้ งใชไ้ มย้ มก หรอื ยมก เสมอ เชน่ สีดา ๆ [สี-ดา-ดา] เดก็ ตัวเลก็ ๆ [เดก็ -ตัว-เลก็ -เล็ก]
ไมย้ มก หรอื ยมก ๒๒
•๒. ไม่ควรใช้ไมย้ มก หรือ ยมก ในกรณเี ป็นคาคนละบทคนละความ
ฉันจะไปปทมุ วัน ๆ น้ี ✓ฉันจะไปปทมุ วันวันนี้
เขาเคยมาทุกวนั ๆ นีไ้ มม่ า ✓เขาเคยมาทกุ วัน วันนไ้ี ม่มา
เขาซื้อสี ๕ กระป๋อง ๆ ละ ๕๐ บาท ✓เขาซือ้ สี ๕ กระป๋อง กระป๋องละ ๕๐ บาท
นายดา ๆ นา ✓นายดาดานา
รายการอ้างอิง ๒๓
ราชบณั ฑติ นสถาน. (๒๕๕๑). หลักเกณฑ์การใชเ้ ครอื่ งหมายวรรคตอนและเคร่อื งหมาย
อนื่ ๆ หลักเกณฑ์การเวน้ วรรค หลกั เกณฑ์การเขยี นคาย่อ ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน.
กรงุ เทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน.