The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน&บทความวิชาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 6211120013, 2022-07-12 10:51:37

รายงาน&บทความวิชาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

รายงาน&บทความวิชาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

1

2

รายงานผลการสัมมนาทางวิชาการ
เรือ่ ง การจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ

นางสาวรุ่งทวิ า เบญจาธกิ ลุ
รหัสประจาตวั นักศึกษา 6211120013

รายงานฉบบั นเ้ี ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษารายวิชา
สัมมนาการพฒั นาองค์ความรแู้ ละนวัตกรรมทางด้านนาฏศลิ ป์ 2053904

สาขานาฏศิลป์ คณะครศุ าสตร์
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

ภาคเรยี นท่ี 1/2564



คานา

รายงานการจัดสัมมนาทางวิชาการนาฏศิลป์เรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เป็นส่วนหนึ่งของ
การศึกษารายวิชาสัมมนาการพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมทางด้านนาฏศิลป์ 2053904มีวัตถุประสงค์เพื่อ
จัดกิจกรรมการสัมมนาการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับนักศึกษาและเพื่อรายงานผลการจัดสัมมนาการ
จัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการของนักศึกษาสาขาวชิ านาฏศลิ ป์ สาระสาํ คัญของเอกสารประกอบดว้ ย บทท่ี1 บท
นํา ประกอบไปดว้ ย หลักการและเหตผุ ล วัตถปุ ระสงค์ ขอบเขตการศึกษา คําสําคัญ และประโยชน์ที่คาดวา่ จะ
ได้รับ บทท่ี2 วรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง ประกอบด้วย ความรู้เรื่องการบูรณาการและถอดเทปองค์ความรู้การ
สัมมนาวิชาการเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ บทที่ 3 วิธีดําเนินการ ประกอบด้วย ขั้นการเตรียมการ
ขั้นการดําเนินงาน และขั้นสรุป บทท่ี4 รายงานผล ประกอบด้วยผลความพึงพอใจ และบทท่ี5 สรุปและ
ข้อเสนอแนะ

ขอขอบคุณผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธีรวัฒน์ ช่างสาน อาจารยป์ ระจําสมั มนาการพฒั นาองค์ความรู้และ
นวัตกรรมทางด้านนาฏศิลป์ ที่ชี้แนะการพัฒนาเอกสารจนสมบูรณ์เป็นส่ือท่ีดีมีประโยชน์ ขอบคุณอาจารย์ญา
ดา จลุ เสวก ที่เสียสละเวลามาเป็นวทิ ยากรในโครงการสัมมนา เพื่ออธิบายในเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณา
การให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ขอบคุณเพ่ือน ๆ น้อง ๆ สาขาวิชานาฏศิลป์ทุกคนที่เป็น
กําลังใจในการพฒั นาสร้างผลสัมฤทธิ์ทดี่ ีของงานเอกสารครง้ั น้ี จึงขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้

รุ่งทิวา เบญจาธิกุล
20 / ต.ค. / 64



สารบญั หนา้

คํานาํ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ก
สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………………………................................. ข
สารบญั ภาพ…………………………………………………………………………………………………………………..……………………….. ค
บทท่ี 1 บทนาํ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1
1
หลกั การและเหตุผล……………………………………………………………………………………………..………………………… 1
วตั ถปุ ระสงค…์ ………………………………………………………………………………………………………………………………… 2
ขอบเขตการศึกษา………………………………………………………………………………………………………………………….. 2
คําสําคญั ……………………………………………………………………………………………………………………………………….… 3
ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ…………………………………………………………………………………….……………..………. 4
บทที่ 2 วรรณกรรมทเี่ ก่ียวขอ้ ง……………………………………………………………………………………………………..………..… 4
ความรเู้ ร่อื งการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการ………………………………………………………………………………… 12
ถอดเทปองคค์ วามรูก้ ารสมั มนาวชิ าการเรอ่ื งการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ 27
บทท่ี 3 วิธดี ําเนินการ…………………………………………………………………………………………………………………….……..….. 27
ข้นั การเตรียมการ……………………………………………………………………………………………………………….……..…... 27
ขน้ั การดําเนนิ งาน…………………………………………………………………………………………………………………….….… 30
ขั้นสรุป………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. 34
บทท่ี 4 รายงานผลการดําเนินการสมั มนาทางวิชาการเรอื่ งการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ……………….. 34
สรปุ ผลความพงึ พอใจ…………………………………………………………………………………………………………..…….…. 37
บทที5่ สรปุ และขอ้ เสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………..……….… 40
บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………………………………………………………. 42
ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………………………...……….…



สารบัญภาพ

ภาพท่ี 1 : การจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการ………………………………………………………………….. หนา้
ภาพที่ 2 : ความหมายของการจัดการเรยี นร้แู บบบูรณาการ……………………………………………………... 13
ภาพที่ 3 : เปา้ หมายของการเรยี นร้แู บบบรู ณาการ…………………………………………………………………... 14
ภาพที่ 4 : ลกั ษณะของการจดั การเรียนร้แู บบบรู ณาการ…………………………………………………………... 14
ภาพท่ี 5 : รปู แบบของการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการ…………………………………………………………... 15
ภาพท่ี 6 : การบรู ณาการภายในกลมุ่ วชิ าหรอื สาขาวิชาเดยี วกนั ………………………………………………... 16
ภาพที่ 7 : การบรู ณาการระหว่างวชิ า……………………………………………………………………………………... 17
ภาพท่ี 8 : ขั้นตอนการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ…………………………………………………………………. 17
ภาพท่ี 9 : ลกั ษณะทีส่ าํ คญั โดยรวมของการบูรณาการทีด่ ี…………………………………………………………. 20
ภาพที่ 10 : Case Study การจัดการเรียนสอนแบบบูรณาการ กิจกรรมละครสรา้ งสรรค์…………….. 20
ภาพที่ 11 : กระบวนการการจดั การเรียนสอนแบบบรู ณาการ กิจกรรมละครสรา้ งสรรค์………………. 21
ภาพที่ 12 : ผลท่ีเกดิ ขึน้ จากการจดั การเรยี นสอนแบบบรู ณาการ กจิ กรรมละครสรา้ งสรรค์………….. 21
ภาพที่ 13 : การใหค้ ะแนนจากการจัดการเรยี นสอนแบบบูรณาการ กิจกรรมละครสรา้ งสรรค์………. 22
ภาพท่ี 14 : ผเู้ ขา้ รว่ มสมั มนาแลกเปล่ียนประสบการณก์ ับทา่ นวทิ ยากร…………………………………….… 23
25

1

บทท่ี 1
บทนา

หลักการและเหตผุ ล

โลกแห่งการเรียนรู้ในปจั จุบันมีส่ิงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันน้ันจะเปน็ สิ่งท่ีเก่ียวเน่ืองสัมพันธก์ ัน
กับศาสตร์ในสาขาต่างๆ ผสมผสานกันทําให้ผู้เรียนท่ีเรียนรู้ศาสตร์เด่ียวๆ มาไม่สามารถนําความรู้มาใชใ้ นการ
แกป้ ญั หาได้ ดงั น้ันการจดั การเรียนร้แู บบบูรณาการจะชว่ ยให้สามารถนาํ ความรู้ ทักษะจากหลายๆ ศาสตร์มา
แก้ปัญหาได้กับชีวิตจริง การจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการจึงทําให้เกิดความสัมพันธ์เช่ือมโยงความคิดรวบยอด
ของศาสตร์ตา่ งๆ เข้าด้วยกัน ทําให้เกิดการถ่ายโอนการเรียนรู้ (Transfer of learning) ของศาสตร์ตา่ งๆ เข้า
ดว้ ยกัน ทาํ ใหผ้ เู้ รยี นมองเห็นประโยชน์ของสงิ่ ทเี่ รยี นและนาํ ไปใชไ้ ด้จริง

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือตอบ
ปัญหาที่สงสัยด้วยการผสมผสานสาระกระบวนการวิธีสอน เทคนิคที่เน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติด้วยการสอดแทรก
สาระความรู้อ่ืนๆและคุณธรรมจริยธรรมอย่างเหมาะสม เกิดความสมบูรณ์อย่างสมดุลเสมือนเป็นชีวิตของ
ผู้เรียนสําหรับการจักการเรียนรู้แบบบูรณาการ คือการเชื่อมโยงรวมท้ังสอดแทรกเน้ือหาทักษะกระบวนการ
ทักษะปฏิบัติของสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ กับหัวเร่ืองท่ีต้องการสอนอย่างเหมาะสม หรืออย่างสมดุล หรืออย่าง
สมบูรณ์ การเช่ือมโยงดังกล่าวทําให้ผู้เรียนได้พัฒนาปัญญาด้านต่าง ๆ หรือกล่าวว่าเป็นพัฒนาของปัญญา
(Multiple Intelligences)พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2551: 12-15)

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ มีความสําคัญอย่างยิ่งสําหรับผู้เรียน เพราะการเรียนรูแบบบูรณา
การเปนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เปนการเรียนรูที่เช่ือมโยงเน้ือหาสาระหลายศาสตร์
เขาด้วยกันอยางมีความหมาย และสามารถนําไปประยกตุใชในชีวิตจริงเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการ
เชื่อมโยงความรู้กับประสบการณ์ในการท่ีจะไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตจริง ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบลง
มือทํา

ด้วยเหตนุ ี้ผู้จัดการสัมมนาในคร้ังนี้เห็นว่าการจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการ (Integrated Instruction)
มีความสําคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นการสอนท่ีเชื่อมโยงความรู ความคิดรวบยอด หรือทักษะเขาดว้ ยกัน เพ่ือให้
เกิดการเรียนรู้แบบองครวม ท้ังดานพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย ซ่ึงสอดคลองตามแนวการจัดการศึกษา
ตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหงชาตพิ .ศ.2542 มาตรา23 ท่ีเนนความสําคญั ท้ังความรูคุณธรรม กระบวนการ
เรียนรแู ละบูรณาการตามความเหมาะสม ซ่ึงเปนไปตามสภาพจริงของสงั คม

วัตถุประสงค์

การสัมมนา ในครง้ั น้ีมวี ัตถุประสงคท์ ี่สําคญั คือ
1. เพอื่ ศกึ ษาการพฒั นาแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกบั นักศกึ ษา
2. เพ่ือตรวจสอบความพึงพอใจของการสัมมนาเรอื่ งการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการสําหรับนําใชเ้ ป็น
แนวทางพฒั นา ปรับปรุงการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการจัดสมั มนาทางวชิ าการในลําดับต่อไป

2

ขอบเขตของการศกึ ษา

การสัมมนาในคร้ังนี้ มขี อบเขตที่น่าสนใจคอื
1. ขอบเขตด้านเนอ้ื หา

มงุ่ ศึกษาความรู้ ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับนักศึกษา สร้างทักษะกระบวนการ
ทาํ งานการจัดสัมมนาและวัดความพงึ พอใจในการเข้าร่วมการสัมมนาการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยการ
จัดการสัมมนาเร่ืองการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ได้รับเกียรติจากท่านวิทยากรอาจารย์ญาดา จุลเสวก
ประธานหลักสูตรนาฏศิลป์มาให้ความรใู้ นครั้งนี้

2. ขอบเขตด้านสถานท่ี
มุ่งการจัดโครงการสัมมนา เร่ืองการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดสัมมนาในรายวิชาสัมมนา
การพัฒนาและการจักการเรียนรู้ ในห้องClassroomผู้จัดสัมมนานางสาวรุ่งทิวา เบญจาธิกุล นักศึกษาสาขา
นาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช .
2.1 วิทยากร
อาจารย์ญาดาจุลเสวก ประธานหลักสูตรนาฏศิลป์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช
2.2 นักศึกษา
นักศึกษาสาขานาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช จํานวน32 คน
3. ขอบเขตดา้ นระยะเวลา
การจัดโครงการสัมมนา เรือ่ งการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ ในครงั้ น้ี จะใช้เวลาในการปฏิบตั ิงาน
วันที่ 9 - 16 กนั ยายน ในภาคเรยี นที่ 1/2564

คาสาคญั ของการศกึ ษา

สัมมนา หมายถึง การประชุมเพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้ และความคิดเห็นเพื่อหาข้อสรุปในเรื่องใดเรื่อง
หน่ึง ผลของการสัมมนาถือว่า เป็นเพียงข้อเสนอแนะผู้ที่เกี่ยวข้องจะนําไปปฏิบัติตามหรือไม่ก็ได้ โดยมี
จดุ มุ่งหมายเพ่อื อบรม ฝึกฝน ชแ้ี จง แนะนาํ ส่ังสอน ปลูกฝังทัศนะคติและให้คําปรึกษา ในเร่ืองที่เกี่ยวข้องหรือ
แสวงหาข้อตกลงด้วยวธิ กี ารอภิปราย แลกเปล่ียนความคิดเห็นอย่างเสรี ซักถาม ถกเถียง ปรึกษาหารือ ภายใน
หัวข้อที่กําหนด ซึ่งผลจากการสัมมนา จะช่วยให้ระบบและวธิ ีการทํางานมีประสิทธภิ าพสูงขึ้น (ไพโรจน์ เนียม
นาค, 2554)

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการ หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือตอบ
ปัญหาท่ีสงสัยด้วยการผสมผสานสาระกระบวนการวิธีสอน เทคนิคที่เน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติ ด้วยการสอดแทรก
สาระความรู้อ่ืนๆ และคุณธรรมจริยธรรมอย่างเหมาะสม เกิดความสมบูรณ์อย่างสมดุลเสมือนเป็นชีวิตของ
ผู้เรียนสําหรับการจักการเรียนรู้แบบบูรณาการ คือการเช่ือมโยงรวมท้ังสอดแทรกเน้ือหาทักษะ กระบวนการ
ทักษะปฏิบัติของสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ กับหัวเร่ืองท่ีต้องการสอนอย่างเหมาะสม หรืออย่างสมดุล หรืออย่าง

3

สมบูรณ์ การเชื่อมโยงดังกล่าวทําให้ผู้เรียนได้พัฒนาปัญญาด้านต่าง ๆ หรือกล่าวว่าเป็นพัฒนาของปัญญา
(Multiple Intelligences) พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยินดสี ุข (2551: 12-15)

ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รบั

ภายหลังจากการสมั มนาคาดการณ์ว่าจะได้รบั ประโยชนค์ ือ
1. ได้ความรแู้ ละเขา้ ใจเกี่ยวกับการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการมากขึน้
2. ได้ผลจากการตรวจสอบความพงึ พอใจของการสมั มนาเรื่องการจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการสําหรับ
นาํ ใชเ้ ป็นแนวทางพฒั นา ปรับปรุงการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการจดั สัมมนาทางวชิ าการในลาํ ดบั ตอ่ ไป

4

บทที่ 2
ทบทวนวรรณกรรม

วรรณกรรมทเี่ กีย่ วขอ้ งในครั้งนี้ ผศู้ กึ ษาจะให้รายละเอยี ดที่เก่ียวข้องกับวรรณกรรมและทฤษฎีที่ใช้มา
ประกอบ ดงั นี้

1. ความรู้เร่ืองการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ
1.1 ความหมายของการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการ
1.2 ลักษณะและรปู แบบของการจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ
1.3 จดุ มุ่งหมายของการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ
1.4 ข้ันตอนของการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ
1.5 คุณค่าและประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการ
1.6 การประเมินผลจากการจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการ

2. ถอดเทปองคค์ วามรกู้ ารสัมมนาวิชาการเร่อื งการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

1. ความรู้เรอ่ื งการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการ

ความรเู้ ร่ืองการจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการจะให้รายละเอียด ความหมายของการจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ ลักษณะและรูปแบบของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ ข้ันตอนของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ คุณค่าและประโยชน์ท่ีได้จากการจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการดงั น้ี

1.1 ความหมายของการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ
ในเรอื่ งความหมายของการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการหรอื วธิ ีการสอนแบบบรู ณาการ มผี ู้ทรงคุณวฒุ ิ
และนักวิชาการศึกษาได้ให้ความหมายไวม้ ากมาย ดังตอ่ ไปนี้
พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยนิ ดีสขุ (2551: 12-15) ได้ให้ความหมาย การบรู ณาการการเรียนการ
สอน หมายถึง การจัดกิจกรรมเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือตอบปัญหาท่ีสงสัยด้วยการผสมผสานสาระ
กระบวนการวธิ ีสอน เทคนิคท่ีเน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติดว้ ยการสอดแทรกสาระความรู้อื่นๆและคุณธรรมจริยธรรม
อย่างเหมาะสม เกิดความสมบูรณ์อย่างสมดุลเสมือนเป็นชีวิตของผู้เรียนสําหรับการจักการเรียนรู้แบบบูรณา
การ คือการเชื่อมโยงรวมท้ังสอดแทรกเนื้อหาทักษะกระบวนการ ทักษะปฏิบัติของสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ กับ
หัวเร่ืองทต่ี ้องการสอนอยา่ งเหมาะสม หรืออย่างสมดลุ หรืออย่างสมบรู ณ์ การเช่ือมโยงดังกล่าวทําให้ผู้เรียนได้
พฒั นาปัญญาด้านต่าง ๆ หรอื กล่าวว่าเป็นพฒั นาของปัญญา (Multiple Intelligences)
สงัพ ยุทรานนท์ (2532:221) ได้ให้ความหมายของ หลักสูตรบูรณาการว่าเป็นหลักสูตรท่ีมีการ
ผสมผสานกันระหวา่ งเนอ้ื หาวิชามากท่สี ดุ ไม่ปรากฏเด่นชดั ว่าวิชาใดวิชาหนึ่งเปน็ หลักสําคัญของหลักสูตร การ
จัดหลักสูตรแบบบูรณาการ เป็นการหนีจากการเน้นเน้ือหาวิชาเป็นอย่างมาก การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ
อาจทําได้โดยลักษณะหน่งึ หรอื หลายลกั ษณะรวมกนั

5

สุมานิน รุ่งเร่ืองธรรม (2552:32) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ หมายถึง การจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียน เพื่อการเรียนรู้ท่ีมีความหมาย ให้เข้าใจความเป็นไป ที่สําคัญของสังคม
เพอ่ื ดัดแปลงพฤตกิ รรมของผู้เรยี นใหเ้ ข้ากบั สภาพชีวติ จนไดย้ ิ่งกวา่ เพ่มิ

ดังน้ันการเรียนการสอนแบบบูรณาการหรือการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ หมายถึงการจัดการ
เรียนการสอนที่เชื่อมโยงผสมผสานศาสตร์ต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเกิดแนวคิดแบบองค์รวม ซ่ึงเป็นประสบการณ์ตรง
ให้แก่ผู้เรียน เน้นความสนใจ ความสามารถ และความต้องการของผู้เรียน โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนท่ี
สอดคล้องกับจุดประสงค์และชีวิตประจําวัน ทําให้เกิดความ สมบูรณ์ท้ังด้านความรู้ ทักษะ และคุณธรรม
จรยิ ธรรม

1.2 ลกั ษณะและรปู แบบของการจดั การเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการ
นักวิชาการศึกษาหลายท่านได้กล่าวถึงลักษณะสําคัญและรูปแบบของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณา
การไว้ดังตอ่ ไปน้ี
สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์ (2546: 25-31) กล่าวว่าการบรู ณาการมีหลายลักษณะ หลายแนวคิด ข้ึนอยู่กับ
ครแู ต่ละคนและความเหมาะสม ซ่งึ แบ่งลกั ษณะออกไดด้ งั น้ี
1. การบูรณาการเชิงเน้ือหาสาระ เป็นการผสมเชือ่ มโยงเน้ือหาสาระในลักษณะการหลอมรวมกันโดย
ต้ังเป็นหนว่ ยหรอื หวั เรือ่ งเนื้อหาที่นาํ มารวมก็ต้องมคี วามสัมพนั ธก์ ันและคลา้ ยคลงึ กัน
2. การบรู ณาการเชิงวิธกี าร เป็นการผสมวธิ ีการสอนแบบตา่ งๆ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ที่ใช้วิธีสอนหลายๆวธิ ี ใชส้ ื่อการสอนแบบประสม ใช้เทคนิคท่ีหลากหลายเพื่อให้นักเรียนมีโอกาสได้เรียนรู้และ
ฝึกปฏิบัติอย่างสัมพันธ์กันมากท่ีสุด โดยอาจใช้เทคนิคการสนทนา การอภิปราย การใช้คําถาม การบรรยาย
การคน้ ควา้ ทางานกลุ่ม การไปศกึ ษานอกห้องเรียน การนําเสนอข้อมูล เปน็ ต้น
3. การบูรณาการความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนพัฒนาวิธีการแสวงหาความรู้ด้วย
ตนเอง โดยมีกระบวนการเรียนรู้ท่ีมีขั้นตอนอยู่ในใจแต่สามารถยืดหยุ่นได้ซ่ึงอาจใช้กระบวนการ เช่น
กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด เปน็ ต้น
4. การบูรณาการความรู้ ความคิดกับคุณธรรม ใช้การสอดแทรกคุณธรรมเข้าไปโดยไม่รู้ตัว จนกระท่ัง
เกิดการซึมซับเป็นธรรมชาติ เช่นการสอนเร่ืองสิทธิหน้าท่ีและเสรีภาพ เพ่ือให้นักเรียนจะได้เป็นผู้ท่ีมีความรู้คู่
คณุ ธรรม
5. การบูรณาการความรู้กับการปฏิบัติเป็นการเชื่อมโยงความรู้ไปกับการปฏิบัติซึ่งจะทําให้ความรู้น้ัน
ตดิ ตัวไปยาวนานไมล่ มื ง่าย
6. การบูรณาการความรู้ในโรงเรียนกับชีวิตจริงของนักเรียน ความรู้ที่ครูจัดให้นักเรียน ไม่ควรแปลก
แยกกบั ชีวิตจริง เพราะจะทําให้นักเรียนไม่เห็นคุณค่า ไม่มีความหมาย และไม่เกิดประโยชน์ ดังน้ันส่ิงท่ีครูสอน
ควรเช่ือมโยงกับชวี ิตของนกั เรยี น เพอ่ื นาํ ไปปรบั ปรงุ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ
วัฒนาพร ระงบั ทุกข์ (2542: 46-47) และกรมวิชาการ (2544: 4) ตา่ งกล่าวถึงลักษณะสําคัญของ
การบรู ณาการการสอดคลอ้ งกัน ดังน้ี
1. เปน็ การบูรณาการระหวา่ งความรแู้ ละกระบวนการเรียนรู้

6

2. เป็นการบูรณาการระหวา่ งพฒั นาการทางดา้ นความรู้และทางดา้ นจติ ใจ
3. เปน็ การบรู ณาการระหวา่ งความรู้และการปฏิบตั ิ
4. เปน็ การบรู ณาการระหวา่ งสิ่งทอี่ ยใู่ นห้องเรียนและส่งิ ที่อยู่ในชวี ิตจรงิ
5. เป็นการบูรณาการระหว่างวิชาตา่ ง ๆ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2540: 7) ได้แบ่งลักษณะการสอนแบบ บรู ณาการมี 2
แบบคือ การบูรณาการภายในวชิ าและการบรู ณาการระหวา่ งวิชา การบรู ณาการภายในวิชา มีจุดเนน้ อยู่ภายใน
วิชาเดยี วกนั ส่วนการบูรณาการระหว่างวชิ า เปน็ การเชอื่ มโยงหรอื รวมสาสตรต์ ่าง ๆตง้ั แต่สองวชิ าขึ้นไปภายใต้
หัวเร่ือง (Therme) เดียวกัน เป็นการเรียนรู้โดย ใช้ความรู้ความเข้าใจและทักษะในศาสตร์หรือความรู้ในวิชา
ต่างๆมากกว่า 1 วิชาข้ึนไปเพอ่ื การ แก้ปญั หาหรือแสวงหาความรู้ความเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การเช่ือมโยง
ความรู้หรือระหว่าง วิชาต่าง ๆ มากกว่า 1 วิชาขึ้นไป เพือ่ การแก้ปัญหาหรือแสวงหาความรู้ ความเข้าใจ ใน
เรื่องใด เรื่องหน่ึง การเช่ือมโยงความรู้และทักษะระหว่างวิชาต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ท่ีลึกซ้ึง
ไม่ใช่เพียงผิวเผินและมีลักษณะใกล้เคียงกับชีวิตจริงมากขึ้น การสอนแบบบูรณาการทั้งสองแบบมีหลักการ
เช่นเดยี วกันกล่าวคือ มีการกําหนดหัวเรื่องเช่อื มโยงความคิดรวบยอดต่างๆ มีการวางแผนการจัดกิจกรรมและ
โครงการต่าง ๆ ทผ่ี ้เู รยี นจะต้องศึกษา ลงมือปฏบิ ัติ และได้นาํ ไปจดั การสอนแบบบรู ณาการ 4 รูปแบบคือ
1. การสอนแบบบูรณาการการสอดแทรก (Infusion Instruction) การสอนรูปแบบนี้ครูผู้สอนวิชา
หนึ่งสอดแทรกเน้ือหาวิชาอนื่ ๆ เข้าไปในการสอนของตนเป็นการวางแผนการสอน และเปน็ การสอนโดยครูคน
เดียว
2. การสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) การสอนตามรูปแบบน้ี ครูตัง้ แต่ 2 คนข้ึน
ไปสอนต่างวิชากัน ต่างคนต่างสอนแต่ต้องวางแผนการสอนร่วมกัน โดยมุ่งสอนหัวเร่ือง/ความคิดรวบยอด/
ปัญหาเดียวกัน (Theme/ConceptProblem) ระบุส่ิงที่ร่วมกันและตัดสินใจร่วมกันว่าจะสอนหัวเรื่อง
ความคิดรวบยอด/ปัญหานั้น ๆ อย่างไรในวิชาของแต่ละคน งานหรือการบ้านที่มอบหมายให้นักเรียนทําจะ
แตกตา่ งกนั ไปแตล่ ะวชิ า แต่ท้งั หมดจะตอ้ งมีหวั เรื่อง/ความคดิ รวบยอด/ปญั หารว่ มกนั
3. การสอนบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Multidisciplinary Instruction) การสอนตามรูปแบบนี้
คล้ายๆกับการสอนบูรณาการแบบขนาน กล่าวคือครูตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปสอนต่างวิชากัน มุ่งสอนหัวเรื่อง
ความคิดรวบยอด/ปัญหาเดียวกันต่างคนต่างแยกกันสอนส่วนใหญ่ แต่มีการมอบหมายงานหรือโครงงาน
(Project) ร่วมกัน ซึ่งจะช่วยเชื่อมโยงสาขาวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ครูทุกคนจะต้องวางแผนร่วมกันเพ่ือที่จะ
ระบุว่าจะสอนหัวเรื่อง ความคิดรวบยอด/ปัญหานั้น ๆ อย่างไรและวางแผนร่วมกัน (หรือกําหนดงานที่จะ
มอบหมายให้นักเรียนร่วมกันท่า) และกําหนด ว่าจะแบ่งโครงงานนั้นออกเป็นโครงงานย่อย ๆ ให้นักเรียน
ปฏบิ ัติแตล่ ะรายวชิ าอย่างไร
4. การสอนบูรณาการข้ามวิชาหรือเป็นคณะ (Transdisciplinary Instruction) การสอนตามรูปแบบ
นี้ครูท่ีสอนวิชาต่างๆ จะร่วมกันสอนเป็นคณะหรือเป็นทีมร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือและกําหนดหัวเร่ือง
ความคดิ รวบยอด/ปญั หาร่วมกัน แลว้ รว่ มกนั ดําเนนิ การสอนนกั เรยี นกลุ่มเดยี วกัน

7

1.3 จุดมุ่งหมายของการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการ
มนี กั วชิ าการศกึ ษาหลายทา่ นได้กล่าวถงึ จดุ ม่งุ หมายของการจดั การเรียนร้แู บบบรู ณา การดังน้ี
สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์ (2546: 16-17) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการบูรณาการ หลักสูตรและการ
สอนแบบบรู ณาการดังนี้
1. เพอื่ ให้นกั เรยี นเกดิ ความตระหนกั วา่ การเรียนรู้ทุกส่ิงมีความสัมพนั ธซ์ ่ึงกันและกัน ในชวี ิตคนเราทุก
สิ่งทุกอย่างจะเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ หลักสูตรบูรณาการจะมีความสัมพันธ์กับชีวิตของนักเรียนมากกว่าและ
นกั เรยี นจะเกดิ แรงจงู ใจในการเรยี นมากกวา่ หลักสตู รแบบเดมิ
2. เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้ท่ีสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ซ่ึงในการแก้ปัญหานักเรียน จะต้องอาศัย
ความร้จู ากหลายสาขาวชิ าในเวลาเดยี วกัน
3. เพ่อื ให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้โดยตรงอย่างมีจุดหมายและมีความหมาย นักเรียนมีส่วน
ร่วมในการตัดสินใจ การแสดงความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนและช่วย สร้างความเข้าใจให้นักเรียน
อย่างลกึ ซง้ึ
4. เพื่อสนองความสนใจของนักเรียนแต่ละคน โดยการเรียนรู้โดยตามเอกัตภาพออกแบบกิจกรรมให้
นักเรียนได้เรียนรู้ตามท่ีตอ้ งการจะรู้ บรรยากาศในช้ันเรียนจะไม่เครียด สามารถกระตุ้นให้นักเรียนเรียนอย่าง
สนุกสนานและบรรลุผลในการเรยี นใหม้ ากขึ้น
5. มีการถ่ายโอนและค้นคว้าความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหา ความคิด ทักษะและเจตคติ ช่วยให้ผู้เรียน
เข้าใจความคิดรวบยอดท่ีเรียนได้อย่างลึกซ้ึงเป็นระบบ และถ่ายโอนความเข้าใจจากเร่ืองหน่ึงไปสู่อกี เรื่องหนึ่ง
ไดด้ ี
6. ส่งเสริมการเรียนรู้ที่จะทํางานร่วมกัน ให้นักเรียนรู้สึกปลอดภัย มีความพึงพอใจ มีความรู้สึกเป็น
สว่ นหนึง่ ของหมู่คณะและยอมรับผู้อนื่ เต็มใจท่ีจะทํางานรว่ มกับกลมุ่ และเป็นสมาชิกท่ีดีของกล่มุ
7. ชว่ ยพฒั นาค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม มาตรฐานการทํางาน วินัยในตนเอง ส่งเสริมความสามารถ
ในการทาํ งาน และการควบคมุ อารมณข์ องผเู้ รยี น
8. ช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และพัฒนาการแสดงออกทางศิลปะดนตรีไปพร้อม ๆกับทางด้าน
ความรู้เนื้อหาสาระ อีกทั้งให้ผเู้ รยี นมโี อกาสไดร้ ่วมกจิ กรรมในสังคม
ธาํ รง บัวศรี (2536: 180-182 ) กล่าวถึงการกําหนดจุดมุ่งหมายของการสอนแบบบูรณาการนั้น ควร
คํานึงถึงลกั ษณะสาํ คัญ ดังต่อไปนี้
1. เป็นการบูรณาการระหว่างความรแู้ ละกระบวนการเรียนรู้ เพราะในปัจจุบันมีปริมาณความรู้มากขึ้น
เป็นทวคี ูณ รวมทงั้ มคี วามสลบั ซบั ซ้อนขึ้นเปน็ ลาํ ดบั การเรียนการสอนด้วยวิธเี ดิมเชน่ การบอกเล่า การบรรยาย
การท่องจํา อาจจะไม่เพียงพอท่ีจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพได้ ผู้เรียนควรเป็นผู้สํารวจความสนใจ
ของตนเองว่าความรู้ที่หลากหลายน้ันอะไร คือสิ่งที่ตนเองสนใจอย่างแท้จริง ตนเองจะแสวงหาความรู้เพื่อ
ตอบสนองความสนใจเหล่าน้ไี ด้ อยา่ งไร เพยี งใด และด้วยกระบวนการอะไร

8

2. เป็นการบูรณาการระหว่างพัฒนาการทางความรู้และการพัฒนาการทางจิตใจน่ันคือ การให้
ความสําคัญแก่จิตพิสัย เจตคติ ค่านิยม ความสนใจในและสุนทรียภาพแก่ผู้เรียนในการแสวงหาความรู้ด้วย
ไมใ่ ช่เนน้ แตเ่ พียงองคค์ วามรหู้ รือพทุ ธพิ สิ ัยแต่เพยี งอยา่ งเดยี ว

3. เป็นการบูรณาการระหว่างความรู้และการกระทําความสัมพันธ์ของการบูรณาการ ระหว่างความรู้
และการกระทาํ ในขอ้ น้ยี งั มนี ยั แหง่ ความสําคัญ และความสัมพันธด์ ังไดก้ ล่าวไว้ แล้วในข้อท่ีสองเพียงแต่เปล่ียน
จิตพสิ ยั เปน็ ทกั ษะพสิ ยั เทา่ นน้ั

4. การบูรณาการระหว่างสิ่งท่ีเรียนในโรงเรียนกับสิ่งท่ีเป็นอยู่ในชีวิตประจําวันของผู้เรียน คือ การ
ตระหนักถึงความสําคัญแห่งคุณภาพชีวิตของผู้เรียน เมื่อได้ผ่านกระบวนการการ เรียนการสอนตามหลักสูตร
แลว้ สิ่งท่ีเรียนท่ีสอนในหอ้ งเรยี นจะตอ้ งมีความหมายและมีคณุ คา่ ต่อชีวิตผเู้ รยี นอยา่ งแทจ้ รงิ

5. เป็นการเรียนรู้ระหว่างวิชาต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ เจตคติ และการกระทําท่ีเหมาะสมกับ
ความต้องการและความมั่นใจของผู้เรียนอย่างจริงจัง ตอบสนองต่อคุณค่าในการดํารงชีวิตของผู้เรียนแตล่ ะคน
การบูรณาการความรู้ของวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อตอบสนองความต้องการและเพ่ือตอบปัญหาท่ีผู้เรียน
สนใจ จงึ เป็นขั้นตอนสาํ คัญท่ีควรจะกระทาํ ในขน้ั ตอนของการบูรณาการหลกั สูตรการเรยี นการสอน

Lardizabal and others. (1970: 142) ไดก้ ล่าวถงึ จุดมุง่ หมายใน การสอนแบบบรู ณาการไวด้ งั นี้
1. เพอื่ พัฒนาและส่งเสริมให้เด็กรู้สึกปลอดภัย มีความพงึ พอใจ มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ
และยอมรบั ผ้อู ื่น
2. ส่งเสริมการเรยี นรทู้ จี่ ะทํางานรว่ มกันระหวา่ งครูกบั นกั เรยี น
3. ช่วยพัฒนาค่านิยมบรรยากาศในช้ันเรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาจริยธรรม มาตรฐานการ
ทํางาน มาตรฐานของกล่มุ ความซาบซงึ้ ในการทํางานและความซือ่ สัตย์
4. ช่วยพัฒนาวินัยในตนเอง โดยส่งเสริมความสามารถในการทํางานและการควบคุมอารมณ์ของ
นกั เรยี น
5. ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาความสามารถทางด้านการแสดงออกด้านศิลปะ ดนตรี การ
ละคร ฯลฯ เชน่ เดยี วกนั กับทางดา้ นสังคม วทิ ยาศาสตร์ และวรรณคดี
6. เพื่อนกั เรยี นมีโอกาสไดร้ ่วมกิจกรรมในสังคม เต็มใจท่ีจะทํางานร่วมกับกลุ่มและเป็นสมาชิกท่ีดีของ
กล่มุ
7. ช่วยวดั ผลการเรยี นรโู้ ดยการนาํ วธิ กี ารตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้แก่ผู้เรียนท้ังรายบุคคล
และกลุม่
จากท่ีนกั วิชาการศึกษาหลายท่านได้กล่าวถงึ จุดมุ่งหมายของการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ สามารถ
สรุปได้ว่า จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการ เพอ่ื พฒั นาและส่งเสริม ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะใน
การคิด การแก้ปัญหาต่าง ๆ จากการฝึกปฏิบัติประสบการณ์ตรงตามกระบวนการที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามท่ีตนเองต้องการ มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ได้ฝึกทักษะตามความสามารถ
รวมท้ังพัฒนาทักษะในหลายด้านด้วยกัน ท้ังด้านการยอมรับตนเอง การควบคุมอารมณ์ วินัยในตนเอง การ
ทํางานกลุ่ม ค่านิยม คุณธรรม จรยิ ธรรม

9

1.4 ขน้ั ตอนของการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการ
มนี กั วิชาการศกึ ษาหลายท่านไดก้ ลา่ วถงึ ข้ันตอนการจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ ดงั ตอ่ ไปนี้
อัจฉรา ชีวพันธ์ (2538: 27-31) ได้เสนอแนวทางในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการหรือข้ันตอนไว้
ดังน้ี
1. วิเคราะห์เนื้อหา ในการสอนแตล่ ะคร้ังผู้สอนจะต้องวิเคราะห์เนื้อหาให้ถ่องแท้ เพ่ือจัดหาแนวทาง
ในการจัดทําสื่อ กิจกรรมให้เหมาะสม ตลอดจนนึกดวู ่าเน้ือหาใดสามารถบูรณาการกับกลุ่มประสบการณ์ใดได้
บ้างและจะใช้วิธกี ารใด
2. เลอื กลลี าใหเ้ หมาะสม การเลือกหาวธิ กี ารในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนให้บรู ณาการไดอ้ ย่าง
เหมาะสมจะช่วยให้การดําเนินการเป็นไปอย่างราบร่ืน และประสมผสานกันระหว่างกลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ
ดงั น้ันผ้สู อนควรพิจารณาใหไ้ ดว้ า่ เน้ือหาควรใชก้ ิจกรรมใด
3. จัดให้กลมกลืน หลังจากผู้สอนสามารถเลือกหากิจกรรมและวธิ ีการจัดการเรียนการสอนท่ีมีความ
สมบูรณ์ได้แล้ว ผู้สอนควรคํานึงถึงความกลมกลืนของเน้ือหาและกิจกรรมว่าเหมาะสมสอดคล้องเพียงใด ใช้
เวลามากนอ้ ยแค่ไหน เหมาะกบั กาลเทศะหรือไม่
4. สร้างความนิยมช่ืนชมในกิจกรรมการเรียนการสอนซ่ึงจะบรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้ ข้ึนอยู่กับ
องคป์ ระกอบอยา่ งหน่งึ คือความประทับใจและเจตคติของผูเ้ รยี น ดังนั้นการท่ผี ู้สอนสามารถจัดกิจกรรมให้สร้าง
ความนิยมชื่นชอบให้ผู้เรียน จึงนับว่าสําคัญอย่างย่ิงเพราะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจอย่างท่อง
แท้ ตลอดจนเหน็ คณุ ค่าของสงิ่ ท่ีเรียน
5. จดจําได้อย่างดี การเรียนการสอนท่ีมีกฎเกณฑ์ที่ชว่ ยให้ผู้เรียนจดจําไดด้ ีขึ้น มีผลดี กับผู้เรียนอย่าง
ย่งิ ถ้าผสู้ อนไดม้ คี วามพยายามใหผ้ ูเ้ รียนไดม้ กี ารจดจําอย่างมีเหตุผล มีหลกั เกณฑ์ไม่จ้าแบบนกแกว้ นกขนุ ทอง
6. มีทักษะในการนําไปใช้เป้าหมายสุดท้ายเป็นการจัดการเรียนการสอน ผู้เรียนจะต้องเกิดทักษะท่ี
สามารถนําความรคู้ วามเขา้ ใจไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วันไดอ้ ย่างดดี ้วย ไม่อยู่ในลักษณะท่ี “ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่
รอด”
อรทยั มลู คาํ และคนอน่ื ๆ (2542) ไดก้ ําหนดขั้นตอนการสอนให้ผู้เรียนเกิดบูรณาการท่ีมีชือ่ วา่ สตอริ
ไลน์ เมททอด (Story Line Method) ไวด้ ังตอ่ ไปนี้
แนวทางการจดั การเรยี นรู้ โดยใช้ Story Line Method
1. สังเคราะห์และวิเคราะห์เน้ือหาของรายวิชา หรือกลุ่มประสบการณ์แล้วก้าหนดองค์รวมแห่งองค์
ความรทู้ ่ีพึงประสงค์ไวใ้ หช้ ัดเจนในรปู ของหวั เรื่อง
2. เขียนแผนการสอนโดยใช้เส้นทางการเดินเร่ือง (Topic Line) เป็นกรอบในการเขียน โดยมีหัวเร่ือง
เปน็ ตวั กาํ หนดเน้อื หา
3. จัดกิจกรรมตามหัวเร่ืองที่กําหนดและจัดเรียงเป็นตอน ๆ (Episode) ด้วยการใช้คําถามหลักเป็น
ตวั กําหนดกจิ กรรมการเรียนรู้
4. เส้นทางเดินเรื่องท่ีใช้เป็นกรอบดาํ เนินการโดยวิธี Story Line Method ประกอบด้วย ขั้นตอน
สําคัญ 4 องค์ ก็คือ ฉาก ตวั ละคร วถิ ีชีวิตและเหตุการณ์ ซึ่งเหตกุ ารณ์แต่ละองค์จะประกอบดว้ ยประเดน็ หลัก

10

บางประเด็นที่ยกข้ึนมาพิจารณาเป็นพเิ ศษ โดยการต้ังคําถามแล้วให้นักเรียนไปค้นควา้ หาคําตอบ คําถามน้ีจะ
โยงไปยังคําตอบทสี่ ัมพนั ธก์ ับเน้อื หาวชิ าตา่ งๆ

จากข้ันตอนในการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการบูรณาการ ท้ังหมดที่กล่าวมาพอสรุปเป็นข้ันตอนได้ 4
ข้ันตอน ดังนี้

1. ข้ันนํา ครูเป็นผู้สร้างประเด็นหรือนํานักเรียนเข้าสู่ปัญหา โดยนํานักเรียนเข้าสู่สถานการณ์จริงที่
เก่ยี วข้องกับชวี ิตประจําวันของตัวนักเรียนเอง

2. ขั้นปฏิบัติ นักเรียนนําผลจากการได้รับประสบการณ์จริงที่ได้จากข้ันนํามาวิเคราะห์เพ่ือหาแนว
ทางแกไ้ ขปญั หา หรือพัฒนางานโดยกระบวนการกลมุ่ แล้วบรู ณาการเนอ้ื หาวิชาอ่ืน ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกนั ไว้ดว้ ยกนั

3. ขน้ั สรุป นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ นาํ ผลการวเิ คราะห์มาแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนานั้นไปสู่การปฏิบตั ิจริง
ตามขั้นตอนการแก้ไข หรือพัฒนาจนเป็นที่ยอมรับของกลมุ่ โดยมผี สู้ อนเปน็ ผู้แนะแนวทาง

4. ขนั้ ประเมินผล ทุกกลุ่มนําเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาช้ินงานท่ีไดร้ ับการแก้ไขหรือ
ปรับปรุงแล้วต่อทุกกลุ่มร่วมกัน ผู้สอนเป็นผู้ช้ีแนะแนวทางที่ถูกต้องและเช่ือมโยง การแก้ไขปัญหาหรือพัฒนา
งานแตล่ ะกล่มุ ใหเ้ กิดการบรู ณาการระหว่างกัน

1.5 คณุ ค่าและประโยชนท์ ี่ไดจ้ ากการจัดการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการ
วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542 : 51-52) ไดก้ ล่าวถงึ ประโยชนข์ องการบูรณาการดงั ตอ่ ไปนี้

1.เป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ผู้เรียนสามารถจดจําความรู้ท่ีเรียนไปไดน้ าน (Retention) ซึ่งจะ
เร่ิมตน้ ดว้ ยการทบทวนความร้เู ต็มและประสบการณ์เดมิ ของผูเ้ รยี น

2.ผู้เรียนมสี ่วนรว่ มในการเรียน (Participate) ทงั้ ทางด้านรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา และสงั คมเป็นการ
พฒั นาในทุกดา้ น

3.ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการทํากิจกรรมตามประสบการณ์ชีวิตของตนและเป็นประสบการณ์ในชีวิตจริง
ของผเู้ รยี น

4.ผู้เรยี นได้ฝกึ ทกั ษะต่าง ๆ ซ้ํากันหลายครั้งโดยไม่รู้สึกเบ่ือหน่าย

5.ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดระดับสูง คิดไตร่ตรอง คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา
คิดริเร่มิ สร้างสรรค์

6.ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการทํางานกลุ่มต้ังแต่สองคนขึ้นไป จนถึงเพ่ือนทั้งชั้นเรียนตามที่กําหนดใน
กจิ กรรมเพ่ือพัฒนาทักษะมนษุ ย์สมั พนั ธ์

7.ผู้เรียนสร้างเร่ืองตามจินตนาการท่ีกําหนดเป็นการเรียนรู้ด้านธรรมชาติ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม
การเมือง วถิ ีชีวิตผสมผสานกนั ไป

11

8.ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรจู้ ากสิ่งใกล้ตัวไปยงั สิ่งไกลตวั เรยี นเกยี่ วกับตวั เรา บ้าน ชุมชน ประเทศไทย ประเทศ
เพ่อื นบ้านและโลกตามระดบั ความซบั ซ้อนของเนื้อหาและสตปิ ญั ญาของผู้เรียน

9. ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน เห็นคุณค่าของงานที่ทําและงานที่จะนําไปเสนอต่อ
เพ่อื น ชุมชน ทาํ ใหเ้ กดิ ความตระหนักเหน็ ความสําคัญของการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง

สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์ (2546: 22-23) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการบูรณาการหลักสูตรและการเรียน
การสอนดังน้ี

1.ทาํ ให้ผ้เู รยี นเข้าใจเนอื้ หาในลกั ษณะองคร์ วม มองเห็นความสําคัญระหวา่ งเนื้อหาวิชา ทําให้นักเรียน
ระลึกถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว กระตุ้นให้นักเรียนมีความรู้ทั้งลึกและกว้าง ทําให้เป็นผู้ท่ีมีทัศนะกว้างไกล ลด
ความซบั ซอ้ นของเนื้อหาแต่ละวิชา และทําให้มเี วลาเรียนมากข้ึน

2.ทําใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรยี นรจู้ ากประสบการณ์จรงิ โดยผสมผสานความรู้ คุณธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์และมีเจตคติที่ดี เป็นการเพ่ิมศักยภาพของผู้เรียนได้อย่างเต็มที่ ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการการเรียนรู้
ตลอดชวี ติ และสามารถนาํ ความร้ทู ่ีได้ไปใช้ในชีวติ จรงิ อย่างเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ

3.ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมการเรียนรู้หลายรูปแบบท่ีเน้นนักเรียนเป็นสําคัญ ส่งเสริมกระบวนการคิด
การจัดการ การเผชิญหน้าสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาและการ
ประยกุ ต์ใชท้ ักษะตา่ ง ๆ

4.ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย รู้จักเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืน โดยคํานึงถึงความ
คิดเหน็ และผลประโยชน์ของสว่ นรวมเป็นหลกั

5.ช่วยแกป้ ญั หาด้านขาดครูสอนในแตล่ ะรายวชิ า

6.ช่วยทําให้ผู้เรียนเข้าใจสภาพและปัญหาสังคมได้ดีกว่า สามารถพิจารณาปัญหาและที่มาของปัญหา
อยา่ งกว้าง ๆ ใชค้ วามรอู้ ยา่ งหลากหลายสมั พนั ธก์ นั ส่งเสริมใหเ้ กิดทกั ษะและความสามารถในการแก้ปญั หาทั้ง
ผู้เรยี นและผสู้ อน รวมทงั้ ส่งเสรมิ การค้นคว้าวิจยั

7.ชว่ ยทําให้การสอนและการศึกษามีคุณค่ามากข้ึน สามารถช่วยเน้นการพัฒนาทักษะท่ีจําเป็นให้เกิด
การคดิ ทีร่ วบยอดทกี่ ระจา่ งขน้ึ ถูกต้องและสามารถปลกู ฝังค่านยิ มที่พงึ ประสงค์ ได้อีกดว้ ย

8.ส่งเสริมให้นักเรียนมีความพงึ พอใจ การยอมรับผู้อน่ื การรูส้ กึ เป็นส่วนหน่ึงของหมู่ คณะและเกิดการ
เรยี นรู้จากการกระทาํ รว่ มกัน

9.ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน เห็นคุณค่าของงานที่ทํา และงานที่จะไปน่าเสนอต่อ
เพอื่ น ชมุ ชน ทําใหเ้ กิดความตระหนักเห็นความสาํ คญั ของการเรียนรดู้ ้วยตนเอง

12

ธีรชัย ปรุ ณโชติ (2540: 82) ไดใ้ ห้เหตผุ ลท่ีสนับสนุนคุณค่าและประโยชน์ของการสอนแบบบูรณาการ
ว่า

1.จะช่วยให้ผู้เรยี นนั้นได้เขา้ ใจถงึ ความสัมพันธ์ระหวา่ งวิชาต่าง ๆความสมั พันธร์ ะหวา่ งวิชากบั ชีวติ จริง
2.จะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์เช่ือมโยงความคิดรวบยอดในศาสตร์ต่าง ๆทําให้เกิดการเรียนรู้ท่ีมี
ความหมาย
3.ช่วยให้เกิดการถ่ายโอนการเรียนรู้ให้เชื่อมโยงสิ่งท่ีเรียนกับชีวิตจริงและชีวิตนอกห้องเรียนกับสิ่งที่
เรยี น
จากคุณค่าและประโยชน์จากการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการท้ังหมด สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการนั้น เป็นการจัดการเรียนการสอนท่ีสมดุลกับการใช้ชีวิตจริงของผู้เรียนเป็นอย่างย่ิง เป็นการ
เรียนการสอนท่ีเหมาะกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบันท่ีมากไปด้วย เทคโนโลยีต่าง ๆที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิต
ของมนุษย์ และเปน็ การทาํ ใหเ้ หน็ คณุ ค่าในการทจ่ี ะจดั การเรยี นการสอนเพือ่ ความสมดุลอย่างแท้จริง
1.6 การประเมนิ ผลจากการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ
วิเศษ ชิณวงศ์ (2544: 27-28) การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการน้ันสอดคล้องกับ การจัด
กระบวนการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ กล่าวคือนักเรียนไดเ้ รียนรู้จากการได้คิดและปฏิบัติ
จริงตามความสนใจและความถนัดของตนเองอย่างมีความสุข เรียนรู้จากกลุ่มและเพื่อน เรียนรู้อย่างเป็นองค์
รวม (บูรณาการเข้าด้วยกัน) และเรยี นร้ตู าม กระบวนการเรยี นรูข้ องตนเอง
การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอนดังกล่าวต้องสอดคล้องกับสภาพจริง คือการประเมิน
ความสามารถเริ่มต้ังแต่การประเมินการคิดวางแผน กระบวนการทํางาน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการ
ทาํ งาน ความต้งั ใจ จนมผี ลงานทสี่ าํ เรจ็ เป็นชิ้นงานตามเปา้ หมาย
นอกจากน้ี ควรมีการประเมินแบบอิงการปฏิบัติ (Performance - Based) และการประเมินแบบองิ
การสังเกต (Observation - Based) ซึ่งช่วยให้ครูและนักเรียนสามารถบูรณาการการเรียนการสอนกับการ
ประเมินผลเข้าด้วยกัน เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการจัดกิจกรรมให้ สมบูรณ์ยิ่งข้ึน และการสอนกับการประเมิน
จะไม่แยกจากกัน ท้ังครูและนักเรียนมีส่วนร่วมในการ สอนและการประเมินจึงทําให้การจัดการเรียนรู้แบบ
บรู ณาการสมั พันธก์ ับชวี ิตจรงิ มากทีส่ ดุ
ดังนั้นสรุปได้ว่า วิธีการประเมินจะต้องมีความหลากหลายต่อเน่ือง โดยอาจจะมีการประเมิน
ตลอดเวลาตามกิจกรรมการเรียนรู้ ใช้วิธีการสังเกต ตรวจสอบรายงาน บันทึกการปฏิบัติงาน การให้ความ
รว่ มมอื ภายในกลุ่ม การประเมนิ ช้ินงานหรอื บางคร้ังอาจมีมีการประเมนิ ความรู้ควบค่กู นั ไปดว้ ย

2. การถอดเทปการสัมมนาวิชาการ เรอื่ งการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการ

การถอดเทปการสมั มนาวิชาการเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เป็นสาระการสัมมนาที่จัดโดย
นางสาวนางสาวรุ่งทิวา เบญจาธิกุล และมีอาจารย์ญาดา จุลเสวก ประธานสาขาวิชานาฏศิลป์ มหาวิทยาลัย
ราชภฏั นครศรีธรรมราชเป็นวิทยากร มีผู้เขา้ รบั การอบรมจาํ นวน32คน ในวันที่ 16 เดอื นกันยายน 2564 ต้ังแต่

13

เวลา 16.30 น.- 18.30 ณ ห้อง Google Classroom สัมมนาการพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมทางด้าน
นาฏศลิ ป์ สาระสําคัญไดจ้ าการถอดเทปมีดังน้ี
หวั หน้าโครงการ : กล่าวเปิด สวสั ดีท่านวทิ ยากรและผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่านดิฉันนางสาวรุ่งทิวา เบญจาธิกุล
นักศึกษาช้ันปีที่ 3 สาขาวิชานาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หัวหน้าโครงการ
สัมมนาการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการซ่ึงวันน้ีนะคะเราได้รับเกียรติจากท่านอาจารย์ญาดา
จุลเสวกมาเป็นวิทยากรบรรยายในโครงการน้ีซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือ เป็นส่ือพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาการสัมมนานาฏศลิ ป์และเพมิ่ เติมองค์ความรู้ทไ่ี ดเ้ พ่ือเป็นการตอ่ ยอดพฒั นาการในการเตรียมตัวเป็นครู
นาฏศิลป์ในโอกาสต่อไปค่ะ วิทยากรในวันน้ีเป็นอาจารย์ผู้มากความสามารถท่านสําเร็จการศึกษาในระดับ
ปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิตสาขาศิลปศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒปจั จุบันท่านรับตําแหน่ง
ประธานหลักสูตรนาฏศิลป์และปฏิบัติงานท่ีภาควิชานาฏศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จากประสบการณ์และผลงานเป็นเครื่องการันตีคุณภาพของท่านจึงได้
เชิญท่านมาเป็นวิทยากรในวันน้ีค่ะ และในโอกาสต่อจากนี้นะคะดิฉันขอนําท่านผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่าน พบ
กับอาจารยญ์ าดา จลุ เสวก
วิทยากร : กราบสวัสดีอาจารย์ธีรวัฒน์ ช่างสาร นะคะแล้วก็ สวัสดีผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่านนะคะ วันน้ี ส่ิงท่ี
เราจะพดู ถงึ มนั เปน็ เรอื่ งของการบรู ณาการ การพฒั นาแผน สรา้ งแผนบูรณาการในรายวิชานาฏศลิ ป์ ด้วยความ
ทเ่ี ราเปน็ ครูนาฏศลิ ป์ ขออนญุ าตเร่มิ เลยนะคะกอ่ นทีเ่ ราจะเขา้ ไปถึงการเขยี นแผนเนี่ยเราก็ตอ้ งเข้าใจก่อนว่า
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการมีอะไรบ้าง ถ้าพูดถึงการบูรณาการนะคะ การบูรณาการในความคิด
ของนักศึกษาหรือผ้เู ขา้ อบรม นักศึกษาคดิ วา่ การบูรณาการคืออะไรคะ

ภาพที่ 1 : การจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการ
ทม่ี า : อาจารยญ์ าดา จลุ เสวก

นักศกึ ษา : การเอาศาสตรต์ า่ งๆ มารวมกนั
วทิ ยากร : จรงิ ๆแลว้ เนย่ี การบรู ณาการของแต่ละคนจะมีคาํ จํากดั ความของคําว่าบูรณาการที่แตกตา่ งกัน แตว่ ่า
อนั นข้ี ออนญุ าตสรุปมาให้ การจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการ หมายถึงการผสมผสานกระบวนความรู้หรือศาสตร์
องค์ความรู้ในส่วนของรายวิชาต้ังแต่ 2 แขนงข้ึนไป มาจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงหัวข้อหรือเนื้อหา
สาระสาขาวิชาต่างๆท่ีมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเข้าด้วยกันเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้แบบองค์

14

รวมมีความหลากหลายและสามารถนําไปประยุกตใ์ ช้ นักศึกษาพอเข้าใจความหมายของการเรียนรู้แบบบูรณา
การ ถา้ ตามความหมายตรงนีน้ กั ศกึ ษาเขา้ ใจว่าอยา่ งไร

ภาพท่ี 2 : ความหมายของการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการ
ที่มา : อาจารยญ์ าดา จลุ เสวก

นกั ศกึ ษา : ก็คอื การนาํ เอาวชิ าอืน่ มาเข้ากับวิชาท่ีเป็นนาฏศิลป์
วิทยากร : ก็คือการเอาวิชาอ่ืนมาบวกกัน อาจจะบวกกันด้วยเรื่องขององค์ความรู้ในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งก็ได้หรือ
ว่ามีแกนเรื่องหลักแล้วต่างคนต่างเอาองค์ความรู้ของแต่ละรายวิชามารวมกัน หรืออาจจะเป็นการผสมผสาน
องค์ความรู้ในวิชาเดียวกันแต่ตนละเร่ืองกันโดยเอาองค์ความรู้ท้ังสองอันมาเช่ือมโยงกันมาผนวกกัน ถ้าพูด
อย่างน้นี ักศกึ ษาพอเข้าใจไหมคะ
นกั ศกึ ษา : เขา้ ใจคะ่ /เข้าใจครับ
วิทยากร : สมมุติถ้าเป็นการเชื่อมโยงศาสตร์อาจจะเป็นศาสตร์ในทางด้านศิลปะ มาผนวกกับศาสตร์ทางด้าน
วิทยาศาสตร์ ถามวา่ จําเป็นต้องมีแค่ 2 แขนงน้ไี หมท่ีจะนาํ มาผนวกกนั
นักศึกษา : ไม่จาํ เป็นครบั

ภาพที่ 3 : เป้าหมายของการเรียนรู้แบบบรู ณาการ
ท่มี า : อาจารยญ์ าดา จลุ เสวก

15

วทิ ยากร : ไมจ่ ําเปน็ นะคะ เราสามารถบรู ณาการได้มากกว่า 2 ศาสตร์หรือมากกวา่ 2 องค์ความรู้ขึ้นไปก็ได้ใน
ส่วนของเป้าหมายของการเรียนรู้แบบบูรณาการ มีจุดมุ่งหมายหลักๆคือ เป้าหมายท่ี1ต้องการให้ผู้เรียน
สามารถเช่ือมโยงสิ่งท่ีเรียนกับส่ิงที่เกิดข้ึนในชีวิตจริงได้ สังเกตไหมคะจะมีนักเรียนหรือนักศึกษาบางคนที่เก่ง
มากมากเลยเก่งในเร่ืองของวิชาการมากๆอาจจะเก่งคณิต เก่งภาษาอังกฤษ แตอ่ าจจะไม่เก่งในศาสตร์ของชวี ิต
จริง อาจจะไม่เก่งในเร่ืองของการแก้ปัญหาในชีวิตจริงนะคะ ในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการจึงมี
จุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนเรียนรู้จากส่ิงที่เรียนในห้องเรียนและสามารถเอาไปประยุกต์ใช้ไปแก้ปัญหาไปดําเนินใน
ชีวติ จรงิ ได้ เป้าหมายท่ี 2 เพื่อชว่ ยขจัดความซ้ําซ้อนของเนื้อหาต่างๆเป็นการลดภาระของผู้เรียนและก็เป็นการ
ลดภาระของผู้สอน ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และสามารถสร้างสรรค์ผลงานด้วยตนเองโดยต้อง
คํานึงถึงความสามารถของผู้เรียนเป็นสําคัญ ซึ่งแน่นอนว่าการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในลักษณะน้ีมีค่า
มากกวา่ แคก่ ารทอ่ งจําแลว้ กค็ วามเขา้ ใจ เพราะสุดทา้ ยแลว้ เดก็ จะตอ้ งนาํ สิ่งทีเ่ รยี นรู้หรอื ประสบการณ์ต่างไปใช้
ในชีวิตจริงได้ การศึกษาในโรงเรียนประถมหรือมัธยมแต่ละกลุ่มสาระเนื้อหาค่อนข้างเยอะ ถ้าสมมุติว่าเรา
สามารถจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการได้ โดยการที่เราเอา 2 ศาสตร์วิชาหรือมากกว่าน้ันมาบูรณาการ
เข้าด้วยกัน จะทําให้เด็กมีภาระงานท่ีลดน้อยลง แต่เด็กจะเกิดกระบวนการเรียนรู้แล้วก็กระบวนการทํางาน
มากข้ึนอันนคี้ อื เป้าหมายหลกั ของการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการการเรยี นรู้

ภาพท่ี 4 : ลักษณะของการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ
ทมี่ า : อาจารยญ์ าดา จลุ เสวก

วิทยากร : ลักษณะของการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการมที งั้ หมด 4 ประเดน็ หลกั ๆ
1.การบรู ณาการภายในสาขาวิชา เราอาจจะบูรณาการในส่วนของนาฏศิลป์อย่างเดียว แต่ถ้าสมมุตวิ ่า

นักศึกษาลองไปดูหลักสูตรถ้าเรื่องไหนท่ีมันสามารถเอามาบูรณาการได้นักศึกษาสามารถจับ 2 เร่ืองหรือ 3
เรื่องเอามาบูรณาการกันได้ โดยทอี่ าจจะให้ชนิ้ งานกบั นกั เรยี นแค่ชน้ิ เดยี วแตว่ ่าตอบโจทย์ท้ังสาระทั้ง 3 สาระที่
นักศกึ ษาต้ังไวถ้ า้ แบบนี้เราเรยี กว่าบรู ณาการในสาขาวชิ า

2. การบรู ณาการระหว่างสหวิทยาการ เป็นการผสมผสานเนื้อหาองค์ความรู้ระหว่าง 2 สาขาวิชา แต่
จะยึดสาขาใดสาขาหนง่ึ เปน็ หลกั อะคะ่ เช่น การทมี่ ีครู 2 คนตา่ งคนต่างสอนวิชาของตน จัดกิจกรรมการเรียนรู้
ของตนเองเป็นสว่ นใหญ่ มาวางแผนการสอนร่วมกนั ในการใหง้ านหรอื โครงการที่มีหัวเร่ืองประเดน็ เดียวกัน อัน
นี้คอื ในส่วนของสหวทิ ยาการ

16

3. การบูรณาการแบบพหุวิทยาการ จะเป็นการผสมผสานต้ังแต่ 2 สาขาวิชาหรือ 2 องค์ความรู้ข้ึนไป
โดยที่ให้ยึดสาขาใดสาขาหน่ึงเป็นแกนหลัก คือ จะเป็นรูปแบบที่ครูผู้สอนต่างวิชามาร่วมวางแผนกําหนดหัว
เรอื่ งหรอื ปัญหารว่ มกนั มกี ารมอบหมายใหผ้ เู้ รียนทํางานร่วมกนั โดยยึกวชิ าใดวิชาหนึ่งเป็นหลกั อะค่ะ

4. การบูรณาการแบบข้ามสาขาวิชา การบูรณาการในลักษณะน้ีนะคะเราจะไม่ยึดสาขาใดสาขาหนึ่ง
เป็นแกนหลัก เพราะทุกสาขาจะมีความสําคัญเท่าๆ เช่น ครูผู้สอนทั้ง4 คน ซ่ึงแต่ละคนสอนคนละวิชามาร่วม
กนั วางแผนและมอบหมายงานใหน้ กั เรียน โดยงานชิน้ น้คี ะแนนเต็ม 100 คะแนน คะแนนในแตล่ ะวิชาก็จะต้อง
แบ่งเป็น 25 คะแนนเท่าๆกัน อันน้ีคือลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการแบบข้ามสาขาวิชา แต่ว่า
อาจารย์อยากให้นักศึกษาให้ความน่าสนใจในส่วนของอันที่ 4 นะคะ เพราะว่าการท่ีเราสามารถบรู ณาการข้าม
ศาสตร์สาขาวิชาได้ จะเป็นการลดภาระของผู้เรียนเป็นอย่างมากแล้วก็จะทําให้ผู้เรียนเห็นความสําคัญของ
project หรือว่าเห็นความสําคัญของโครงการท่ีเราให้ไปเน่ืองจากว่าเขาเห็นวา่ มันสามารถบรู ณาการไดห้ ลายๆ
สาขารายวิชาค่ะ เขาจะรู้สึกเหมือนว่าเขาทํางาน 1 ชิ้นแล้วเขาได้คะแนนเขาได้ผลตอบรับท่ีมันมากกว่า 1
รายวชิ า

ภาพที่ 5 : รูปแบบของการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ
ที่มา : อาจารย์ญาดา จุลเสวก

วิทยากร : ในหัวข้อต่อมานะคะเป็นรูปแบบของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ซ่ึงท่ีสําคัญๆนะคะเรา
สามารถแยกออกได้เปน็ 2 ประเด็นใหญ่ๆก็คือ 1.การบรู ณาการภายในกลุ่มวิชาหรือว่าสาขาวิชาเดียวกันกับ 2.
การบูรณาการระหวา่ งรายวิชา แต่ว่าเดี๋ยวนี้นอกจากการบูรณาการในเร่ืองของรายวชิ าแล้วเน่ีย มันจะมีการบูร
ณาการที่เป็นการบูรณาการในเร่ืองของแนวคิดหลักการทฤษฎเี ข้ามาอีก เช่นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
กับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง หรือว่าการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่บูรณาการกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 อันนีก้ ็จะเป็นสิ่งท่ีนอกเหนอื จากการบูรณาการในรายวิชาหรือว่าระหวา่ งรายวิชา

17

ภาพที่ 6 : การบรู ณาการภายในกล่มุ วิชาหรอื สาขาวิชาเดยี วกัน
ที่มา : อาจารย์ญาดา จุลเสวก

วทิ ยากร : คราวนี้เรามาดูกนั ค่ะวา่ การบูรณาการภายในกลมุ่ วชิ าหรือว่าสาขาวชิ าเดียวกันมันเป็นยังไง เขาบอก
วา่ การบูรณาการภายในกลมุ่ วชิ าหรอื สาขาวชิ าเดยี วกันเขาจะให้เรากําหนดหัวเรื่องขึ้นมาแล้วบูรณาการกับของ
วิชาต่างๆ คําว่ากลุ่มวิชาหรือสาขาวิชาเดียวกัน เช่น ดนตรี+นาฏศิลป์+ศิลปะ 3 วิชาน้ีคือกลุ่มสาขาวิชา
เดียวกนั หรือว่าถ้าอย่างเป็นกลุ่มสาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์เขาก็จะมีวิชาฟิสิกส์+วิชาเคมี+วิชาชวี ะ เพราะเขาก็ถือ
วา่ พวกน้ีเปน็ กลุ่มสาขาวชิ าเดียวกนั

ภาพท่ี 7 : การบูรณาการระหวา่ งวชิ า
ท่ีมา : อาจารย์ญาดา จลุ เสวก

วิทยากร : สมมุติว่าอันน้ีอาจารย์กําหนดตรีมให้เป็นตรีมดอกบัว นักศึกษาคิดว่า ถ้าให้บูรณาการกับศิลปะ
นักศกึ ษาจะบูรณาการไดด้ ้วยวิธีการไหนคะ
นักศึกษา : กค็ อื ให้นักเรยี นไปเหมอื นกับว่าใหน้ ักเรียนไปว่าวาดรปู ดอกบัวมาครบั
วทิ ยากร : วาดรูปดอกบวั ทาํ อะไรได้อีกคะถา้ เป็นในส่วนของศิลปะนักศกึ ษาลองชว่ ยกันคิดค่ะ
นักศึกษา : ทาํ เปน็ สง่ิ ประดิษฐค์ ่ะ
วทิ ยากร : นกั ศกึ ษาใหน้ ักเรยี นวาดรปู และทาํ เปน็ สงิ่ ประดิษฐ์ได้ 2 อย่างแลว้ นะ ในส่วนของศิลปะซึ่งจริงๆแล้ว
การวาดรูปเราอาจจะไม่จําเป็นว่าต้องเป็นรูปดอกบัวก็ได้ถูกไหมคะ เราอาจจะเป็นรูปเคร่ืองแต่งกายชุดระบํา
ดอกบัวหรือว่าให้เขาวาดเป็นรูปท่ารําก็ได้ถ้าเด็กมีความถนัด ใครมีความคิดเห็นนอกเหนือจากน้ีมีอะไรอีกไหม
คะ

18

นกั ศึกษา : การระบายสี
วิทยากร : การระบายสีในส่วนของงานอย่างน้ีค่ะ เราก็ต้องไปตรวจสอบดูอีกว่าระดับชั้นที่เราสอนเป็น
ระดับชั้นไหนถูกไหมคะ ถ้าสมมุติว่าเป็นเด็กป.1 ป.2 อย่างนี้เราอาจจะให้เขาผลิตดอกบัวง่ายๆได้อาจจะไม่ถึง
ข้ันไปวาดรูปภาพ วาดรูปท่ารํา เขาอาจจะยังเรียนศิลปะได้ไม่ถึงขั้นน้ัน แล้วถ้าเรามาพูดการบูรณาการในส่วน
ของวิชาดนตรีล่ะคะ นักศึกษาลองคิดสิคะเราสามารถเอาดอกบัวไปบูรณาการอะไรได้บ้างกับวิชาดนตรี
อาจารย์ถามก่อนว่าในฐานะที่เราเป็นครูนาฏศิลป์ ในขอบข่ายของวิชานี้ศิลปะดนตรีและนาฏศิลป์นักศึกษาจะ
เอาอะไรท่ีเปน็ แกนหลัก
นักศึกษา : นาฏศิลป์
วทิ ยากร : ในฐานะท่ีเราเปน็ ครนู าฏศิลป์ เรากต็ อ้ งเปน็ ผูบ้ กุ เบิกก่อนถูกไหมคะ เราก็เอานาฏศิลป์เป็นแกนหลัก
ก็คือเราจะสอนระบําดอกบัวถูกไหม สมมุติว่าเราจะสอนระบําดอกบัวแล้วในระบําดอกบัวมันมีแค่ท่ารําหรือ
เปลา่ หรอื มันมีอะไรอกี
นักศึกษา : มีเพลง มีจังหวะค่ะอาจารย์
วิทยากร : มันมีเพลงถูกไหมคะ มีดนตรี มีจังหวะถูกไหมคะ อาจารย์ถามวา่ ถ้าเราเอาไปบรู ณาการในส่วนของ
ดนตรีเราสามารถเอาไปบรู ณาการยงั ไงได้บ้าง
นักศกึ ษา : ใชใ้ นการบรรเลง
วิทยากร : ถ้าเป็นเด็กเล็กมากๆการที่เราสร้างดนตรีขึ้นมาใหม่มันอาจจะเป็นเรื่องยากเกินไป ถ้าสมมุตวิ ่าเรา
เอาโน้ตเพลงให้เขาลองเล่นดนตรีซ่ึงดนตรีง่ายๆที่เด็กสามารถเล่นได้ถ้าเป็นเด็กเล็ก เช่นอังกะลุงอังกะลุง ถ้า
เป็นเด็กโตขึ้นมาหน่อยซ่ึงเราสามารถให้เขาบูรณาการได้ก็คือเป่าขลุ่ยเป็นเพลงระบําดอกบัว ถามว่าการบูรณา
การในลักษณะนี้ในเด็ก 1 ห้อง เด็กจําเป็นว่าจะต้องได้ทั้งศิลปะดนตรีและก็นาฏศิลป์ไหม ไม่จําเป็นนะคะเรา
อาจจะแบ่ง Pass สมมุติว่าใครสนใจนาฏศิลป์แต่ว่าเปน็ โปรเจคร่วมกันเราอาจจะให้เขานําเสนอนิทรรศการซึ่ง
เป็นนิทรรศการเล็กๆที่อาจจะจัดในห้องเรียนก็ได้เป็นการนําเสนอนิทรรศการอาจจะมีการประกวดวาดภาพ
ดอกบวั หรือแม้กระทั่งการถ่ายภาพดอกบวั และก็ในงานนั้นก็จะมีการนําเสนอการแสดงการแสดงระบําดอกบัว
พร้อมกับดนตรีที่เด็กได้ฝึกซ้อมแต่ละคนเขาก็จะมีหน้าท่ีรับผิดชอบนี้อันน้ีคือการบูรณาการในกลุ่มวิชาหรือ
สาขาวิชาเดยี วกันนะคะ
วิทยากร : ต่อมาเป็นการบูรณาการระหว่างรายวิชา แปลว่ามันจะต้องมีต้ังแต่ 2 สาขาวิชาข้ึนไปถูกไหมคะ
อาจจะเป็น 2 สาขาวิชาก็ได้หรือมากกว่า 2 สาขาวิชาก็ได้นะคะ อาจารย์ขออนุญาตใช้ตรีมเดิมก็คือครีมของ
ดอกบวั นักศึกษาคดิ วา่ ดอกบวั 1 ดอกตรงนี้นกั ศึกษาสามารถบูรณาการกบั รายวชิ าอะไรไดบ้ ้างใน 8 กล่มุ สาระ
นักศึกษา : การงานอาชพี คณิตศาสตร์
วทิ ยากร : การงานอาชีพนกั ศึกษาจะบรู ณาการยังไงในส่วนไหน
นกั ศกึ ษา : ในการประดิษฐค์ รับ
วทิ ยากร : ในส่วนของงานประดิษฐ์ ในการทําอาหารหรือแม้ในส่วนของเครื่องแตง่ กายถูกไหมคะย่ิงถ้าเป็นเด็ก
โตเขาสามารถสร้างสรรค์เคร่ืองแต่งกายไดเ้ ลยอาจจะจะได้ชุดที่แบบสวยงามโดยที่เราคาดไม่ถึงก็ได้ เด็กเขาจะ
ทาํ ได้ เพียงแตเ่ ราตอ้ งเปิดโอกาสใหเ้ ขาไดเ้ รียนรนู้ ะคะอนั น้คี อื ในสว่ นของการงานอาชพี แต่ว่าเราอย่าลืมว่าการ

19

อาชีพค่ะมันไม่ได้มใี นเรือ่ งของประดษิ ฐ์หรอื วา่ ในเรอื่ งของการทําอาหาร และมันยังมีในเรื่องของเทคโนโลยีดว้ ย
ถูกไหมคะ อาจารย์ถามว่าถ้าสมมุติว่าเราจะบูรณาการกับเขาทั้งกลุ่มสาระ เราจะบูรณาการในส่วนของ
เทคโนโลยียงั ไงบ้าง
นกั ศึกษา : ในการทําโปสเตอร์
วิทยากร : ในการทําโปสเตอร์ การที่เราจะเขาเรียกอะไรนะท่ีเราจะนําเสนอเราจะต้องเตรียมงานในส่วนของ
การทําโปสเตอร์ก็เป็นส่วนหนึ่งท่ีจําเป็นการประชาสัมพันธ์ถูกไหมคะ แล้วถ้าสมมุติเราจะบูรณาการกับ
วิทยาศาสตรจ์ ะสามารถบรู ณาการอะไรกับวทิ ยาศาสตร์ไดค้ ะ่
นักศึกษา : ศึกษาเหยื่อหุ้มค่ะของดอกบัวกลบี ดอกคะ่
วทิ ยากร : ในเร่อื งของเซลลเ์ นอื้ เย่อื แต่ถา้ สมมตุ ิว่าเป็นเด็กท่ีเป็นประถมอย่างน้ีค่ะ เด็กเขาก็สามารถเขียนพวก
กลีบช่วงทเ่ี ปน็ สายบัวมาดูเซลล์ในเร่ืองของเซลล์ที่เขาต้องเรียนก็ไดใ้ นส่วนตรงนั้น กับสาขาวิชาคณิตศาสตร์ละ
คะเราจะบูรณาการยงั ไงคะเร่ืองไหนได้บ้างคะ
นักศกึ ษา : การหารอบวงของดอกบวั รปู ทรงของดอกบัวคะ่
วิทยากร : แลว้ ถ้าเรานาํ ไปใช้ในเรือ่ งของการขายเราสามารถนําดอกบวั ไปใช้ได้ไหม
นกั ศึกษา : ได้คะ่ /ไดค้ รับ
วิทยากร : นอกจากในสว่ นของคณติ ศาสตร์เรากส็ ามารถเอาไปทาํ ไดไ้ หมคะวชิ าอะไรอีก
นกั ศึกษา : ภาษาไทยค่ะ เชน่ ให้นักเรยี นหาความหมายของดอกบัว หรอื เอาดอกบวั มาแต่งเปน็ กลอนคะ่
วิทยากร : แล้วถ้าสมมตุ ิวา่ เราจะให้เขาบรู ณาการกบั ภาษาตา่ งประเทศเราจะบรู ณาการได้ยงั ไงบ้าง
นักศกึ ษา : หาคาํ ศพั ท์ค่ะเกย่ี วกบั สว่ นประกอบของดอกบวั เป็นภาษาองั กฤษค่ะ
วทิ ยากร : คําศัพทท์ ี่เกี่ยวกบั องค์ประกอบของดอกบวั แลว้ มีอะไรอกี บ้างคะ
อาจารย์ธรี วฒั น์ ชา่ งสาน : เลน่ เกมเตมิ คําภาษาองั กฤษของดอกบัว
วทิ ยากร : เกมภาษาอังกฤษกไ็ ด้ค่ะได้อะไรอกี คะ
นักศึกษา : การเขียนโปสเตอร์โฆษณาโฆษณาค่ะหมายถึงโปสเตอร์เก่ียวกับภาษาอังกฤษเชิญชวนเข้าร่วม
กิจกรรมภาษาองั กฤษค่ะ
วิทยากร : การเขียนชื่อว่าหรือว่าโปสเตอร์เป็นภาษาอังกฤษก็จะช่วยพฒั นาได้นะคะหรือเราอาจจะให้เขาแต่ง
ประโยคอะไรก็ไดท้ เี่ ก่ียวกับดอกบัวให้แลว้ กใ็ หน้ ําเสนออย่างนีค้ ่ะ ใหแ้ ตง่ นิทานทําเป็นหนังสือเล่มเล็กก็ไดท้ ่ีเป็น
ภาษาองั กฤษหรือว่าเปน็ ภาษาจีนญ่ีปุ่นท่ีเขาเรียน ทีน้ีนักศึกษาพอจะแยกออกไหมคะว่าระหว่างการบูรณาการ
ในรายวชิ าหรอื ในกลุ่มศาสตร์เดียวกันกับการบรู ณาการระหว่างรายวิชา
นกั ศกึ ษา : แยกออกครับ/แยกออกค่ะ

20

ภาพท่ี 8 : ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ท่ีมา : อาจารยญ์ าดา จุลเสวก

วิทยากร : ในส่วนของหัวข้อถัดไปนะคะ ก็จะเป็นในส่วนของข้ันตอนการจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการนะคะ
อันนเี้ ป็นขนั้ ตอนจรงิ ๆหลายคนเขาให้ข้ันตอนท่ีแตกตา่ งกันนะคะ แต่ว่าในข้ันตอนที่แตกตา่ งกันสามารถสรุปได้
เป็น 6 ข้ันแบบที่ชัดเจน ในส่วนของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอ่ะค่ะก็จะมี 1.การกําหนดหัวข้อ
เลอื กหวั เรือ่ งทเี่ ราจะสอน 2. การพัฒนาหวั เรือ่ งโดยที่เรากาํ หนดวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ 3. กําหนดเน้ือหาย่อย
4. วางแผนเตรียมสื่อทรัพยากรสําหรับการเรียนรู้ 5. การดําเนินกิจกรรม 6. การประเมินผลปรับปรุงแล้วก็
พฒั นา ซ่ึงสุดท้ายปลายทางค่ะเด็กจะตอ้ งมีการประเมินผลแล้วก็พัฒนา เพราะฉะน้ันเราอาจจะปรับเปลี่ยนได้
อาจจะเอา 2 กบั 3 ค่กู ัน 3 กับ 4 คกู่ นั อย่างน้คี ะ่ โดยท่ีเราต้องร่วมกันวางแผนกับอาจารย์ทา่ นอน่ื ดว้ ยนะคะ

ภาพท่ี 9 : ลกั ษณะท่ีสําคญั โดยรวมของการบรู ณาการทีด่ ี
ทมี่ า : อาจารยญ์ าดา จุลเสวก

วิทยากร : โดยรวมของการบูรณาการที่ดีจะต้องประกอบด้วย 5 ลักษณะก็คือ 1. จะต้องมีความรู้และ
กระบวนการเรียนรู้ เดก็ จะต้องเกิดความรู้ เด็กจะต้องเกิดกระบวนการเรียนรู้โดยที่เขาจะเรียนรู้เองแล้วให้เรา
เป็นแค่โค๊ชคอยให้คําแนะนําในการท่ีเขาจะทําสิ่งต่างๆ 2. มีพัฒนาการทางจิตใจ 3. มีการกระทําของผู้เรียน
ร่วมด้วย ดงั นั้นการบูรณาการท่ีดีมันจะไม่ใช่แค่การท่ีเราเดินเข้าไปในห้องเรียนแล้วสอน ในการบูรณาการเนี่ย
เด็กคนจะต้องมีส่วนร่วมในการคิดในการทําแล้วก็ในการประเมินผลด้วยนะคะ 4. เชื่อมโยงสิ่งต่างๆท่ีเรียนกับ
ส่ิงท่ีเป็นอยู่ในชีวิตจริงของผู้เรียนได้ อนั น้ีเหมือนอันแรกท่ีเราบอกเลยนะคะและ 5. มีเนื้อหาวิชาตา่ งๆแปลว่า
จะไม่ไดม้ แี คร่ ายวชิ าเดียวแตจ่ ะตอ้ งมีวิชาอ่ืนอยดู่ ว้ ย

21

ภาพท่ี 10 : Case Study การจัดการเรยี นสอนแบบบูรณาการ กิจกรรมละครสร้างสรรค์
ท่ีมา : อาจารยญ์ าดา จลุ เสวก

วิทยากร : อันนี้เป็นตัวอย่างท่ีดีท่ีเคยทําแล้วก็เอามาเป็น Case Study ให้นักศึกษาได้เรียนรู้อาจจะไม่ได้
สมบรู ณ์ Perfect 100% นะคะแต่วา่ อนั น้ีก็ถือว่าเป็นกิจกรรมท่ีค่อนข้างประสบความสําเร็จในการทําในตอน
นั้นนะคะ กิจกรรมน้ีก็คือกิจกรรมละครสร้างสรรค์ อนั น้ีคือเดก็ จะทําเองทั้งหมดเลยโดยที่ตวั อาจารย์ผู้สอนเอง
เน่ียจะเป็นแค่ไลค์โค้ดในในการสอนในบางเร่ือง แต่ว่าเราจะไม่ก้าวก่ายการทํางานของเขาเราจะมีแค่การ
ตดิ ตามผลงาน แตเ่ ราจะไม่บอกว่าอันนี้ดอี ันนี้ไม่ดีอันนี้ถูกอนั นี้ผิด เราจะไม่พดู แบบน้ีเลยเพราะฉะนั้นความคิด
อันนจี้ ะเปน็ ความคดิ ทีเ่ ขาได้ใช้ความคดิ ของตัวเองลว้ นๆนะคะ

ภาพที่ 11 : กระบวนการการจดั การเรียนสอนแบบบูรณาการ กิจกรรมละครสร้างสรรค์
ทม่ี า : อาจารย์ญาดา จุลเสวก

วิทยากร : การบูรณาการหรือการทําอะไรก็แล้วแต่ เราต้องมีการวางแผนนะคะอันนี้เราจะแบ่งออกเป็น 2 ขั้น
หลักๆนะคะ ข้ันที่1 หาแนวทาง ต้องบอกก่อนเลยว่าในโรงเรียนยังไม่มีอาจารย์ที่ทําในเรื่องของการบรู ณาการ
ข้ามศาสตร์นะคะคือคนยงั ไมเ่ ขา้ ใจวา่ การบูรณาการขา้ มศาสตรเ์ ป็นยงั ไงก็เลยประชุมอาจารยท์ ีส่ อนในระดับชัน้
พอดีว่าอาจารย์อะคะสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 แล้วก็มีประชุมระดับช้ันพอดีก็เลยใช้เวลาท่ีหลังจาก
เลกิ ประชุมแล้วเนีย่ ขอประชมุ ในระดบั ช้ันระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทุกรายวชิ าเลยแล้วก็บอกวา่ เราจะจัดการ
เรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยที่เราจะต้องการที่จะให้เด็กลดภาระเน่ืองจากว่าเด็กจะต้องทําส่ิงน้ีอยู่แล้วแต่
เราอยากให้เดก็ ได้คะแนนมากกวา่ ในรายวิชาเราแล้วกอ็ ยากให้เด็กเนี่ยบูรณาการกบั ศาสตร์อ่นื ๆโดยทม่ี อี าจารย์
เขาเป็นโค้ชให้แต่ละส่วนแบบน้ีค่ะแล้วอาจารย์เขาก็โอเคเราก็เลยหาหัวข้อที่เป็นหัวข้อกลางจากว่าสาขา
นาฏศิลปเ์ ป็นแกนหลักอันนี้ก็เลยต้ังเป็นหัวข้อละครสร้างสรรค์ขึ้นมาเสร็จแล้วเน่ียเม่ือเราได้หัวข้อที่เป็นหัวข้อ
แกนกลางแล้วค่ะ เราก็เลยหาหัวข้อย่อยท่ีโยงกับกลุ่มสาระท่ีสนใจนะคะถามว่าแต่กลุ่มสาระเนี่ยสนใจทั้ง 8
กลุ่มสาระไหมก็ตอบว่าไม่นะคะแต่มี 6 กลุ่มสาระที่ให้ความสนใจซึ่งอีก 2 กลุ่มอะค่ะคือไม่ใชว่ ่าเขาไม่สนใจแต่

22

ว่าเขายังไม่แน่ใจว่าเขาสามารถบูรณาการกับรายวิชาเขาได้มากน้อยแค่ไหนเขาก็เลยยังไม่ตัดสินใจในตอนน้ัน
นะคะก็เลยมกี ลุ่มสาระนะคะ
วิทยากร : เสร็จแล้วเน่ียพอเราให้หัวข้อหลักหัวข้อย่อยแล้วเราก็มาออกแบบการบูรณาการร่วมกันมีการตกลง
ในส่วนของการให้คะแนนนะคะว่าแตร่ ายวิชาเนี่ยจะให้คะแนนเด็กตรงไหนบ้างนะคะอันนี้คือข้ันที่ 1 ต่อไปข้ัน
ท่ี 2 การปฏบิ ัติ เรากท็ าํ การพดู คยุ ชแ้ี จงกับนักเรียนซ่ึงแปลว่าเขาจะต้องมีโปรเจคร่วมกันตอนน้ันสอนม.4 สอน
อยู่ 7ห้องค่ะ เด็กๆอาจจะต้องทําละครสร้างสรรค์แล้วจะให้คะแนนเป็นคะแนนห้อง แล้วก็ให้คะแนนทั้งห้อง
เลยนะคะจากนั้นก็แบ่งหน้าที่รับผิดชอบในแบบว่าเราให้เป็นคะแนนห้องเด็กทุกคนจะไม่ต้องมีหน้าที่ทุกอย่าง
แต่หมายความว่าถา้ สมมตุ วิ ่ามสี บิ หนา้ ทเ่ี นยี่ ใครจะลงมากทีส่ ดุ มากแค่ไหนใหเ้ ลือกตามความถนัดของตัวเองใคร
จะอยู่ในคลาสของการเขียนบททีมเขียนบทเขาจะมี 3-4 คนเขาก็จะมีเขียนบทของเขาทีมทําฉากเขาก็จะมีทีม
เขากจ็ ะแบง่ ตามความถนดั ของตัวเอง ถามว่าเราเป็นคนสอนบางครั้งเราอาจจะไม่รู้ความถนัดของตัวเองแปลวา่
เพ่อื นเขารูว้ ่าเพอ่ื นแต่ละคนเน่ียมีความถนัดอะไรบา้ ง เขาก็จะเสนอว่าเนี่ยจะชอบอ่านนิยาย เขาขอเขียนบทได้
ไหมอ่ะ แกวาดรูปสวยอ่ะแกลองออกแบบฉากไหม ซ่ึงอันน้ีเด็กเขาก็จะตกลงกันเองเราก็จะไม่ก้าวก่ายแต่เราก็
จะมีข้อแม้วา่ เด็กทุกคนจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบอย่างน้อย 1 หน้าท่ี ซึ่งเด็กบางคนน่ะค่ะทําทั้งเบ้อื งหน้าและ
เบื้องหลังเลยเป็นนักแสดงด้วยเป็นคนทําด้วยก็มี เป็นนักแสดงด้วยทําประชาสัมพนั ธ์ด้วยก็มี เป็นนักแสดงดว้ ย
เขียนบทด้วยก็มี เพราะฉะน้ันเนี่ยอันนี้ก็คือทําตามความถนัดของเขานะคะ ข้อ3 การกํากับติดตามการ
ดาํ เนนิ งานอย่างเปน็ ระยะ ซึ่งเรากจ็ ะติดตามทกุ อาทิตย์เม่ือเขามีความคบื หน้าอยา่ งไรบ้างเขาก็จะมารายงานให้
ฟงั ว่ามนั มีความผิดพลาดแบบนี้มปี ญั หาแบบนแี้ ละนี่คอื สิ่งทเ่ี กิดขึน้ ในการท่เี ด็กทาํ งานรว่ มกนั

ภาพที่ 12 : ผลท่ีเกิดข้นึ จากการจดั การเรียนสอนแบบบูรณาการ กจิ กรรมละครสรา้ งสรรค์
ทีม่ า : อาจารยญ์ าดา จลุ เสวก

วิทยากร : คือจริงๆจะบอกก่อนว่าอันนี้ค่ะคร้ังแรกเลยที่ทําทําขึ้นเพอ่ื อยากแก้ปัญหาเด็กเน่ืองจากวา่ เด็กเมื่อ
ผลจากม.4 ขนึ้ ไปม.5 เด็กจะตอ้ งรบั ผดิ ชอบในการทาํ งาน เด็กจะตอ้ งทําเป็นทีมงานในการทํากีฬาสีของแตล่ ะสี
แต่ว่ากลายเป็นว่าเด็กม.5 เนี่ยพอข้ึนไปสามารถทํากีฬาสีได้ไม่ประสบความสําเร็จได้เท่าท่ีควรเพราะว่าเขาไม่
สามารถจัดการปัญหาได้ เขาไม่มีการกระบวนการทํางานท่ีดี ก็เลยคิดว่าจะใช้ละครสร้างสรรค์ตรงน้ีมาเป็นตัว
แก้ปัญหานนั้ เพราะฉะนัน้ ในการทาํ แบบน้คี ะ่ สาํ หรบั ตัวแทนผูส้ อนเองอาจารย์ผสู้ อนเองก็จะได้ทั้ง 2 อย่างก็คือ
บรู ณาการแลว้ กใ็ ห้วจิ ัยในช้นั เรียนดว้ ย 1 เล่ม กต็ ้องบอกก่อนว่าปญั หามอี ย่แู ล้วแต่เราจะทํายงั ไงที่จะให้เขาเน่ีย
แก้ปัญหาได้เองมันจะไม่บอกเขาเราจะไม่เคลียร์ปัญหาให้เขาอาจารย์จะไม่เคลียร์ปัญหาให้เขา สุดท้ายก็จะได้
วิธีทเี่ ขาสามารถทาํ งานเพ่ือนได้ ซง่ึ อนั น้ีเรากจ็ ะใจเย็นๆค่ะกค็ ืออยา่ เรง่ รัดเขาตอ้ งไดว้ ันน้ีพรุ่งนี้ เพราะว่าเขาเอง

23

ก็อยากได้งานเหมือนกัน เขาก็จะต้องหาวิธีท่ีพูดคุยกับเพื่อนเขาก็จะเรียนรู้วิธีแก้ปัญหาทะเลาะกันในส่วนของ
การที่ความคิดเห็นไม่ตรงกันสุดท้ายแล้วเขาก็จะหาข้อสรุปท่ีดีที่สุดได้เพื่อทําให้งานน้ีมันเดินต่อไปได้
เพราะฉะนน้ั เนย่ี สง่ิ ทเ่ี ดก็ เรยี นรูค้ ่ะน่าจะเรยี นรู้การทํางานกิจกรรมละครสร้างสรรค์และเน่ียเด็กได้เรียนรู้ในเร่ือง
ของการการเปน็ ผูน้ าํ เปน็ ผู้ตามประชาธปิ ไตยที่เกิดจากงานนนี้ ะคะอนั นกี้ ็จะเปน็ ในส่วนของข้อที่4 และข้อท่ี5 ก็
คือข้ันนําเสนอผลงาน เด็กก็จะต้องนําเสนอผลงานแต่ด้วยความที่อาจารย์ไม่อยากให้เขาเราอยากให้เขาเห็น
คุณคา่ ของงานน้ี เรากแ็ ค่หาเวทใี นการนาํ เสนอผลงานให้เขาก็คือเปน็ เวที Open House เดก็ ขา้ งนอกเขาก็จะมี
เด็กข้างนอกมาดูด้วยแล้วก็ชาวบ้านบางคนก็อาจจะเข้ามาดูว่าโรงเรียนนี้มีความน่าสนใจอะไรบ้างมีอะไรเราก็
หาเวทีใหเ้ ขาได้นําเสนอผลงานเขากร็ ูส้ ึกว่าเขาต้องทําให้เตม็ ท่ีมนั ย่งิ ใหญม่ นั ไม่ได้แค่โรงเรียนแล้วนะผลงานของ
เขาเน่ียทางโรงเรียนจะได้เห็นแล้วก็เด็กนอกโรงเรียนก็จะได้เห็นด้วยนะคะ และสุดท้ายแล้วก็คือมีการวัดผล
ประเมินผลในการวัดผลประเมินผลอันนี้เขาไม่ได้แค่อาจารย์เป็นคนวัดผลประเมินผลแตว่ ่าเขาจะต้องมีการวัด
ประเมินผลงานของเขาเองด้วยความพึงพอใจต่องานของเขา เขาต้องตอบได้ค่ะว่าเขามีความพึงพอใจของงาน
เขามากน้อยแค่ไหนแล้วเขามีวิธีการแก้ไขปรับปรุงอย่างไร ถ้าสมมุติว่าเขาจะต้องทําในคร้ังต่อไปเนี่ยเขาจะมี
วิธีการแก้ไขปรับปรุงอย่างไรบ้างอนั นี้เขาก็ต้องสรุปออกให้เป็นเล่ม 1 เล่มมาค่ะจะไม่ไดห้ นามากแต่ว่าเขาก็จะ
สรุปการทาํ งานของเขาจนกระทัง่ การประเมินผลใสไ่ วใ้ นเล่มให้นะคะอันนกี้ ็เป็นในส่วนของกระบวนการนะคะ

ภาพที่ 13 : การให้คะแนนจากการจดั การเรียนสอนแบบบูรณาการ กิจกรรมละครสรา้ งสรรค์
ท่มี า : อาจารยญ์ าดา จุลเสวก

วิทยากร : คราวน้ีละครสร้างสรรค์บรู ณาการกับอะไรนะคะอาจารย์เปน็ ผู้รับผิดชอบหลักก็คือกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ศิลปะนะคะนาฏศิลป์การบูรณาการกับกลุ่มสาระอีก 5 กลุ่มก็มีกะกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยการ
เรียนรูภ้ าษาต่างประเทศสขุ ศึกษาและพลศึกษาการงานอาชีพและเทคโนโลยีสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
แปลวา่ ในการทเ่ี ขาทําโปรเจคอันเน้ีย 1 Project เขาจะได้คะแนนจาก 6 รายวิชานะคะเขาจะไดค้ ะแนนจาก 6
รายวชิ าตรงนีซ้ ่งึ เขาจะไดค้ ะแนนในส่วนไหนบ้างกลุ่มกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยนะคะเขาก็จะได้คะแนนใน
ส่วนของบทละครซ่ึงบทละครเน้ียะเราอาจจะดูให้แค่คร่าวๆแต่ว่าเม่ือบทละครอ่ะค่ะเริ่มเข้าท่ีเราก็จะโยนให้
ให้กับอาจารย์ที่รับผิดชอบวิชาภาษาไทยอาจารย์เขาก็จะรู้เองว่าอัตโนมัติว่าเด็กจะเอาบุตรละครไปส่งนะแล้ว
เขาจะต้องดูว่าภาษาที่เขียนจะเป็นอย่างไรแต่ว่าเราจะต้องทําความเข้าใจกับอาจารย์ทั้ง 6 คนน้ีให้ชัดเจนว่า
คะแนนตรงนเ้ี ป็นคะแนนท่ีเด็กจะไดท้ ้งั หอ้ งต่อใหท้ ีมเขียนบทเอาค่ะกลุ่มสาระเรียนรู้ภาษาต่างประเทศอาจารย์
ให้เขาทําเป็นโปรชัวเป็นการประชาสัมพันธ์แปลภาษาที่เขาเรียนเช่นเขาเรียนศิลป์จีนเขาก็จะทําเป็นภาษาจีน

24

ในสว่ นตรงนเ้ี นยี่ อาจารย์ผู้สอนเขากจ็ ะไปดแู ลรายละเอียดใหเ้ รานะคะในเรื่องของการแปรในเรื่องของการเรยี บ
เรียงคําไม่ว่าจะเป็นภาษาจีนญี่ปุ่นเยอรมันฝรั่งเศสนะคะเขาถามว่าถ้าสมมุติว่าเดก็ ไม่ไดเ้ รียนศิลป์ภาษาล่ะเด็ก
เรียนวิทย์คณิตเราจะให้เขาทําเป็นภาษาใดบอกให้ทําเป็นภาษาอังกฤษค่ะเพราะว่าภาษาอังกฤษเนี่ยเป็นเบส
หนักท่ีเขาจะตอ้ งเรียนอยู่แล้วในทุกห้องนะคะต่อมาในกลุ่มของสุขศึกษาและพลศึกษาแต่ว่าอันนี้เป็นกิจกรรม
ละครสร้างสรรคก์ ิจกรรมละครสรา้ งสรรคเ์ ขากจ็ ะมกี ิจกรรมสนั ทนาการนันทนาการอะไรท่ีมันแทรกอยู่ในละคร
ตรงน้ีอยู่แล้วสุขศึกษาและพลศึกษาโคตรจะให้คะแนนในส่วนของตรงนี้นะคะต่อมาท่ีการงานอาชีพและ
เทคโนโลยีจากว่าเป็นกลุ่มสาระที่ค่อนข้างเขาก็จะให้คะแนนในหลายส่วนไม่ว่าจะเป็นเปล่าแต่งกายซ่ึงอาจจะ
ต้องทําเองทุกอย่างตรงน้ีนะคะในส่วนของสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมอนั น้ีเนี่ยอาจารย์เขาRequest มา
เลยวา่ เขาจะให้คะแนนเขาต้องการให้คะแนนในกระบวนการทํางานกลุ่มเนื่องจากว่าใกระบวนการทํางานกลุ่ม
เขาจะไปตีอีกเป็นเรื่องยอ่ ยๆในกล่มุ ในกลมุ่ สาระของเขาในเรอ่ื งของความเป็นประชาธปิ ไตยการแก้ปัญหาการมี
ภาวะผู้นําผู้ติดตามและก็มีอีกหลายอย่างเลยท่ีเขาตั้งโจทย์มานะคะแต่ว่าเขาจะดูในเร่ืองของกระบวนการ
ทํางานกลุ่มนักนะเน่ียในบางกลุ่มสาระค่ะเขาก็จะไม่ได้ดูแค่ผลปลายทางอย่ากลุ่มสาระสังคมอย่างเง้ียเขาก็จะ
ถ้าสมมุตวิ ่ามีการตดิ ตามงานหรอื อะไรเนีย่ เขาก็จะเข้าไปอยู่ในนั้นดว้ ยเข้าไปอยู่ในการจัดการเรียนการสอนของ
เราด้วยว่าเราอยากรู้ว่าเด็กมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไรหรือแม้กระท่ังเด็กประชุมอย่างนี้ค่ะอาจารย์เขาก็จะมีการ
แบบคือเขาก็อาจจะไม่ได้เข้าไปประชุมเลยเด๋ียวเขาก็จะมีการไปสังเกตการณ์อ่ะค่ะว่าเด็กทะเลาะกันไหมมี
วิธีการแก้ปัญหาอย่างไรมีความเป็นประชาธิปไตยหรือเปล่าหรือว่าเฮ้ยไม่เลยเอาความคิดของคนน้ีคนเดียว
อะไรอย่างเงี้ยเขาก็จะให้คะแนนในส่วนตรงน้ีนะคะซึ่งคะแนนนะคะในภาษาไทยจะให้ 10 คะแนน
ภาษาต่างประเทศ 10 คะแนนสุขศึกษาและพลศึกษาก็ให้ 10 คะแนนสังคมศาสนาและวัฒนธรรมก็ให้ 10
คะแนนจะมีการงานอาชีพและเทคโนโลยีค่ะให้ 20 คะแนนเพราะถือว่าเด็กทําค่อนข้างเยอะในเรื่องของชา
เคร่ืองแต่งกายนะคะส่วนอาจารย์เองสาระนาฏศิลป์อาจารย์ให้ 30 คะแนนนะคะอาจารย์ให้สติคะแนน
เพราะว่าอาจารย์จะให้ในภาพรวมในภาพรวมในที่น้ีก็คือตั้งแต่คันท่ีเขาดําเนินการการแบ่งหน้ าท่ีจะถึง
ปลายทางเลยแล้วก็ให้ในส่วนของการแสดงบนเวทีด้วยนะคะรวมกันนะคะเด็กจะได้จากโปรเจคน้ีทั้งหมด 90
คะแนนจาก 6 รายวิชาเส้นทางว่าสมมุติว่าสาขาเราอย่างเดียวคําเขาจะได้ 20 คะแนน 10 คะแนนเขาก็ถือว่า
โอเคก็แค่น้ันแหละแต่วิชาเดียวไม่เป็นไรแต่พ่อมันมีการโยงอีก 5 รายวิชามันคือคะแนนท่ีเขาจะต้องเก็บเก่ียว
แล้วเขาก็จะทาํ ทกุ อย่างอย่างเตม็ ท่นี ะคะเนอื่ งจากวา่ การ 90 คะแนนไมน่ ้อยเลยสําหรับการทํางานกลุ่มนะผลท่ี
เกิดข้ึนน่ะค่ะอนั น้เี ปน็ ผลทส่ี ะทอ้ นมาด้วยนะคะกค็ ือทกุ คร้ังทีเ่ ราทํากิจกรรมเสรจ็ เนี่ยเราจะถามเด็กดว้ ยวา่ ผลท่ี
เกิดข้ึนกับเขาเน่ียคืออะไรบ้างเขาก็บอกว่าเขาได้ลดภาระตัวของเขาเองเพราะว่ายางรายวิชาที่ให้ 10 คะแนน
10 คะแนนนะคะในส่วนของตรงน้ันเนี่ยเขาก็มาจากตรงน้ีเขาก็ไม่ต้องไปทําในอีก 10 คะแนนมันก็เป็นการลด
อาหารในขณะน้ี 21 ตรงน้ันนะคะในชีวิตจริงเนื่องจากว่าเด็กพวกน้ีค่ะไม่ใช่เด็กที่อยู่ในชมรมของเราก็อาจจะ
ไม่ได้มีพ้ืนฐานในเร่ืองของนาฏศิลป์เรื่องการแสดงแต่การที่เราทํางานนี้เขาสามารถเอาทุกส่ิงทุกอย่างท่ีเขาทํา
ตรงนค้ี ะ่ ไปใชจ้ ริงหนา้ เด็กบางคนเร่มิ จากการทาํ เคร่อื งแต่งกายนะคะทุกวนั น้ีตัดชุดขายก็มีนะคะเดก็ บางคนเขา
บอกเลยว่าสิ่งที่เขาได้เรียนรู้คือเขาเรียนรู้จากเพื่อนในห้องแล้วพอปัญหามันลดน้อยลงอ่ะค่ะทะเลาะตบตีไม่มี
เลยหลังจากท่ีเขาได้ทําวันนี้ก็จะเรียนรู้แล้วว่าทุกอย่างเนี่ยเขาจะต้องหาจุดที่มันที่สุดสําหรับเขาไม่ได้ขณะนี้ก็

25

ค่อนข้างประสบความสําเร็จค่ะมีการส่งเสริมกระบวนการคิดการจัดการการเผชิญหน้าสถานการณ์ต่างๆก็ต้อง
แก้ไขปัญหาด้วยตัวเองส่งเสริมการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยรู้จักเคารพสิทธิเสรีภาพรู้จักเคารพ
ความคิดของผู้อ่นื นะคะแล้วก็ส่งเสริมทักษะความสามารถในการแก้ปัญหาทั้งผู้เรียนและผู้สอนเราก็ต้องเรียนรู้
ไปพร้อมกับเด็กนะคะแปลว่าการบูรณาการเน่ียมันค่อนข้างใหม่มากเด๋ียวก็ตอ้ งแก้ปัญหาในส่วนที่เราทําไดแ้ ล้ว
ก็แนะนําเขาในส่วนท่ีเราจะต้องทํานะคะแต่เราจะไม่แก้ปัญหาให้เขาท้ังหมดนะคะก็ถือว่าเป็นการเรียนรู้ทั้ง
ผเู้ รยี นและผู้สอนดว้ ย
วิทยากร : มใี ครสงสยั ตรงไหนไหมคะอยากให้ถามเขา้ ใจไหมคะ นกั ศึกษาเขา้ ใจไหม
นักศึกษา : เขา้ ใจครบั อาจารยเ์ ข้าใจค่ะอาจารย์
วทิ ยากร : ว่าเขา้ ใจวา่ อยา่ งไรบ้างไหนลองสะท้อนออกมาสวิ ่าเขา้ ใจอะไรบ้างในเร่ืองของการบรู ณาการ
นักศึกษา : เข้าใจว่าในการบูรณาการก็สามารถนําเอาหลายวิชามารวมให้ให้เข้ากันกับสาระของเราครับ
อาจารย์

ภาพท่ี 14 : ผู้เข้าร่วมสมั มนาแลกเปลี่ยนประสบการณก์ ับท่านวทิ ยากร
ท่ีมา : นางสาวรงุ่ ทิวา เบญจาธกิ ลุ

วิทยากร : ก็หวังว่านักศึกษาที่จะเป็นอนาคตครูนาฏศิลป์ในอนาคตอีกไม่กี่ปีข้างหน้านักศึกษาจะได้เอาในส่ิง
ตรงน้ีเป็นแรงบันดาลใจไปเป็นแนวทางในการใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนนาฏศิลป์ให้พัฒนาตลอดเวลา
เกษตรนั้นคือในอนาคตกูมันจะพูดเสมอว่าเราเป็นครูนาฏศิลป์ถ้าเรารอแต่ตอบคําถามเด็กว่าทําไมต้องเรียน
นาฏศลิ ปเ์ ราจะตอบคําถามแบบนี้ไม่รจู้ บแต่วา่ ถ้าเม่ือไหร่กต็ ามท่ีเราทําให้นาฏศิลป์เป็นกลุ่มสาระหน่ึงที่เขาเห็น
ว่าเฮ้ยมันมีประโยชน์กับชีวิตเขามันสามารถใช้ในการดําเนินชีวิตได้จริง แล้วก็ไม่ต้องตอบคําถามว่าทําไมเรา
ต้องเรียนวิชานาฏศิลป์เพราะว่าเม่ือไหร่ก็ตามท่ีเขาให้ความสนใจแล้วก็พร้อมที่จะเดินไปกับเราอ่ะค่ะมันก็จะ
ยังคงอยู่ไปเรือ่ ยๆโดยท่ีเราไม่ตอ้ งพูดเราไม่ตอ้ งว่าเขาว่าทําไมไม่อนุรักษ์ทําไมไม่สนใจทําไมไม่อะไรแตส่ ่ิงเหล่าน้ี
มันจะอยู่ไปได้เร่ือยๆขอเพียงแค่ว่าการท่ีเราเป็นครูนาฏศิลป์เดี๋ยวพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลาเด็กเขาก็จะเห็น
คุณค่าในตรงน้ีเขาจะไม่ถามเรากลับมาเขาว่าทําไมจะต้องเรียนนาฏศิลป์ก็วันนี้ขอบคุณอาจารย์ธีรวัฒน์มากๆ
คะ่ ทใ่ี หเ้ กียรตมิ าเป็นวทิ ยากรให้ความรูก้ ับเด็กๆในวนั นี้ค่ะขอบคณุ ค่ะ

26

หัวหน้าโครงการกล่าวขอบคุณ : ข่าววันน้ีนะคะในฐานะหัวหน้าโครงการนะคะก็รู้สึกดีใจแล้วก็ประทับใจ
มากๆค่ะการท่ีวิทยากรให้เกียรตมิ าบรรยายความรู้ในคร้ังนี้นะคะซึ่งหนูเชื่อว่าทุกๆคนเข้ามาร่วมสัมมนาก็ได้รับ
ความรเู้ กย่ี วกบั การบูรณาการแผนการสอนกบั ศาสตร์วชิ าตา่ งๆคะ่ ซ่ึงวันนก้ี ็ขอบคณุ มากๆจริงๆค่ะขอบคุณคะ่

จากที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ หมายถึง การผสมผสานกระบวน
ความรู้หรือศาสตร์องค์ความรู้ในส่วนของรายวิชาต้ังแต่ 2 แขนงขึ้นไปนํามาจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ี
เช่ือมโยงหัวข้อหรือเนื้อหาสาระสาขาวิชาต่างๆท่ีมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเข้าด้วยกันเพ่ือให้
ผู้เรยี นเกิดความรู้แบบองคร์ วมมคี วามหลากหลายและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้จริง เปา้ หมายของการเรียนรู้
แบบบูรณาการ มี 2 ประเดน็ หลักๆคือ 1.ตอ้ งการให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับสิ่งท่ีเกิดขึ้นในชีวิต
จริงได้ คือในแต่ละห้องจะมีนักเรียนบางคนที่ในเรื่องของวิชาการมากๆแต่อาจจะไม่เก่งในศาสตร์ของชีวิตจริง
ไม่เก่งในเรื่องของการแก้ปัญหาในชีวิตจริงที่ และเป้าหมายท่ี 2. เพื่อขจัดความซํ้าซ้อน ของเน้ือหาต่างๆเป็น
การลดภาระของผู้เรียนและเพื่อเป็นการลดภาระของผู้สอน ในทางกลับกันในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
จะได้ผลที่มากกว่าแค่การท่องจําแล้วก็ความเข้าใจเพราะสุดท้ายแล้วเด็กจะต้องนําไปใช้ในชวี ิตจริงได้ ลักษณะ
ของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการมีท้ังหมด 4 ประเด็นหลักๆ คือ 1. การบูรณาการภายในสาขาวิชา 2.
การบรู ณาการระหว่างสหวทิ ยาการ เป็นการผสมผสานเนื้อหาองค์ความรู้ระหวา่ ง 2 สาขาวิชา แต่จะยึดสาขา
ใดสาขาหน่ึงเปน็ หลัก 3. การบูรณาการแบบพหุวทิ ยาการ จะเปน็ การผสมผสานตงั้ แต่ 2 สาขาวิชาหรือ 2 องค์
ความรู้ขึ้นไปโดยที่ให้ยึดสาขาใดสาขาหนึ่งเป็นแกนหลัก และ 4. การบูรณาการแบบข้ามสาขาวิชา การบูรณา
การในลักษณะน้ีนะคะเราจะไม่ยึดสาขาใดสาขาหน่ึงเป็นแกนหลัก เพราะทุกสาขาจะมีความสําคัญเท่าๆ เช่น
ครูผู้สอนทั้ง4 คน ซ่ึงแต่ละคนสอนคนละวิชามาร่วมกันวางแผนและมอบหมายงานให้นักเรียน โดยงานช้ินน้ี
คะแนนเต็ม 100 คะแนน คะแนนในแต่ละวิชาก็จะต้องแบ่งเป็น 25 คะแนนเท่าๆกัน รูปแบบของการจัดการ
เรียนรู้แบบบูรณาการ ท่ีสําคัญๆสามารถแยกออกได้เป็น 2 ประเด็นใหญ่ๆก็คือ 1.การบูรณาการภายในกลุ่ม
วิชาหรือว่าสาขาวิชาเดียวกันกับ 2. การบูรณาการระหว่างรายวิชา เช่นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับ
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นต้น ข้ันตอนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสามารถสรุปได้เป็น 6 ขั้นได้แก่ 1.
การกําหนดหัวข้อเลือกหัวเรื่องท่ีเราจะสอน 2. การพัฒนาหัวเร่ืองโดยท่ีเรากําหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 3.
กําหนดเนื้อหาย่อย 4. วางแผนเตรียมส่ือทรัพยากรสําหรับการเรียนรู้ 5. การดําเนินกิจกรรม 6. การ
ประเมินผลปรับปรุงแล้วก็พัฒนา การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการท่ีดีต้องประกอบด้วย 5 ลักษณะได้แก่ 1
จะต้องมีความรูแ้ ละกระบวนการเรียนรู้ คือเด็กจะต้องเกิดความรู้เดก็ จะตอ้ งเกิดกระบวนการเรียนรู้โดยที่เขาว่า
จะเรยี นรูเ้ องแลว้ ใหเ้ ราเป็นโคช้ ในการแนะนาํ ส่งิ ต่างๆในส่งิ ท่เี ขาจะทํา 2.มีพฒั นาการทางจติ ใจ 3. มีการกระทํา
ของผู้เรียนร่วมด้วยคือเด็กทุกคนจะต้องมีส่วนร่วมในการคิดในการทําแล้วก็ในการประเมินผลด้วย 4.เชื่อมโยง
สิ่งท่ีเรียนกับสิ่งที่อยู่ในชีวิตจริงได้และ 5.มีเน้ือหาวิชาต่างๆ และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อย่างไรก็ตามประโยชน์และข้อดีของการจัดการเรียนแบบบูรณาการเป้าหมายหลักๆของการจัดการเรียนรู้ใน
ลักษณะนี้เพื่อเป็นการลดภาะระงานของนักเรียนและเพื่อลดภาระงานของครู เพื่อให้นักเรียนสามารถนําเอา
ความรู้จากสาขาวิชาต่างๆมาเชื่อมโยงเข้ากับชีวิตจริงและทําให้นักเรียนสามารถแก้ไขปัญหาในชีวิตได้ ทําให้
นกั เรยี นเกดิ การสร้างสรรคก์ ารทาํ งานมกี ระบวนการทํางานและมสี ่วนรว่ มในประสบการณ์ชีวติ จริง

27

บทที่ 3
วธิ ดี าเนนิ การ

วธิ ีดําเนินการจดั กิจกรรมสัมมนาทางวิชาการเรอ่ื งการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ ผศู้ กึ ษามี
วิธีดําเนินการ ดังน้ี

1. ขั้นการเตรยี มการ
2. ขั้นการดําเนินงาน
3. ขัน้ สรปุ

1. ขั้นเตรยี มการ

การเตรยี มการเพอ่ื การดาํ เนินโครงการสมั มนาเชงิ ปฏิบัติการเรอื่ งการจดั การเรยี นร้แู บบบรู ณาการ
ดังน้ี

1. ประชมุ เสนอหัวข้อโครงการสมั มนา
2. รา่ งโครงการสมั มนาและเสนอขออนุมัติโครงการ
3. ประชมุ คณะกรรมการแตล่ ะฝ่ายเพือ่ รบั ผิดชอบงานโครงการ
4. ประชุมคณะกรรมการเพอ่ื วางแผนการดําเนนิ งาน

4.1 การประชาสัมพันธโ์ ครงการสมั มนา
4.2 การเชญิ ประธาน วิทยากร และแขกผู้มเี กียรติ
4.3 การจดั ทําเอกสารประกอบการสัมมนา
4.4 การวางแผนกาํ หนดการดาํ เนนิ งานโครงการสมั มนา
4.5 การจดั ทาํ แบบประเมนิ โครงการสมั มนา
4.6 การวางแผนการดําเนินงาน เช่น งานปฏิคม การลงทะเบียนเข้าสัมมนา การจัดลําดับพิธีการ
การเตรียมตัวพิธีกร จัดเตรียมเอกสารและอุปกรณ์ให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาแบบสอบถาม และการประเมินผลการ
ดําเนนิ โครงการสัมมนา

2. ขน้ั ดาเนนิ การ

ข้ันดาํ เนนิ การการสมั มนาเรอื่ งการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ มีรายละเอยี ดนา่ สนใจ ดังน้ี
1. ขัน้ เตรียมการ

ข้นั เตรยี มการเป็นการเตรียมสาระประเด็นสําหรับการจดั การสมั มนา ตามรายละเอียดดงั น้ี
1.1 อาจารย์ประจําวิชาจัดประชุมกลุ่มในชั้นเรียนรายวิชาสัมมนาการพัฒนาองค์ความรู้และ
นวัตกรรมทางด้านนาฏศิลป์ รหัสวิชา2053904 โดยเปิดประเด็นให้นักศึกษานําเสนอในส่ิงท่ีตนเองมีความ
คาดหวังจะพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ ในประเด็นของผู้ศึกษาสนใจจะพัฒนาองค์ความรู้เร่ืองการจัดการ
เรียนรแู้ บบบรู ณาการ จงึ มีการนาํ เสนอในประชมุ ในหลายประเดน็ อาทิ ประเด็นวิทยากร การรับผิดชอบของ

28

แตล่ ะฝ่ายเพื่อใหเ้ กดิ การสัมมนา วันและเวลาในการจัดสมั มนา โดยให้เวลาไปแตล่ ะคนที่สนใจสัมมนาไปติดตอ่
รายละเอยี ดของแต่ละประเด็น

1.2 สาระสาํ คัญของการประชมุ ครั้งที่ 2 ได้รายละเอียด ดงั น้ี
1.2.1 วิทยากร อาจารย์ญาดา จุลเสวก ประธานหลักสูตรสาขานาฏศิลป์ คณะมนุษย์ศาสตร์

และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยมีนางสาวปวริศา อินทร์เก้ือ เป็นผู้รับผิดชอบ
ติดต่อประสานงานและเชิญวทิ ยากร

1.2.2 การรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะฝ่าย ประกอบดว้ ย
1)ฝ่ายพิธีการ รับผิดชอบติดต่อประสานงาน เชิญวิทยากรโดยการติดต่อผ่านทางโทรศัพท์

ประสานงานเพื่อช้ีแจงรายละเอยี ดและขั้นตอนการดาํ เนินงาน เพอื่ ให้วทิ ยากรเข้าใจกระบวนการทช่ี ดั เจนในวัน
จัดสัมมนา จากนั้นการทําบันทึกข้อความเชิญวิทยากร (รายละเอียดมีใน ภาคผนวก) โดยมีนางสาวปวริศา
อินทร์เกื้อ เปน็ ผูร้ ับผดิ ชอบ

2)ฝ่ายเชิญผู้เข้าร่วมสัมมนา โดยการติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ประสานงานกับหัวหน้ากลุ่ม
นักศึกษาช้ันปีที่2 เพื่อช้ีแจงรายละเอียด คือเรื่องท่ีจะสัมมนาและวันเวลาในการสัมมนา จากนั้นทําบันทึก
ข้อความเชิญผเู้ ขา้ รว่ มสัมมนา(รายละเอยี ดมีในภาคผนวก) โดยมี นางสาวสดุ ารตั น์ ฝั่งขวาเป็นผู้รับผดิ ชอบ

3)กําหนดการ ช้ีแจงรายละเอียดวันและเวลาในการจัดกิจกรรมเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบ
บรู ณาการ (รายละเอยี ดมใี นภาคผนวก) โดยมี นางสาวขวัญหทัย หญตี อัมฤทธิ์ เป็นผู้รบั ผิดชอบ

4)ฝ่ายเอกสาร ทําหน้าที่ติดต่อประสานงานเพื่อขอรายละเอียดเน้ือหาประกอบการสัมมนา
เร่ืองการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ จากวิทยากรอาจารย์ญาดา จุลเสวก โดยมีนางสาวศรันย์พร บุญเมือง
เป็นผรู้ บั ผิดชอบ

5)ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ทําหน้าท่ีทําแบบประชาสัมพันธ์แบบออนไลน์(โปสเตอร์) เร่ืองการ
จัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการ โดยมี นายธนายทุ ธ แซต๋นั เป็นผูร้ ับผิดชอบ (รายละเอียดมใี นภาคผนวก)

6)ฝ่ายลงทะเบียน จัดทําลิงค์สําหรับการลงทะเบียนการเข้าร่วมการสัมมนาในรูปแบบของ
Google Form โดยมี นางสาวพัณณิตา กจิ คาม เป็นผ้รู บั ผดิ ชอบ

7)ฝ่ายพิธีกร กล่าวต้อนรับวิทยากรและผู้เข้าร่วมสัมมนา กล่าวเปิดและปิดโครงการจัดการ
เรยี นรูแ้ บบบรู ณาการ โดยมีนางสาวรุ่งทวิ า เบญจาธิกุล เปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบ

8)ฝ่ายจัดทําแบบประเมินความพึงพอใจ เรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ จัดทําใน
รปู แบบของ Google Formโดยแบ่งข้อคําถามเปน็ 3 ตอน คือ ตอนที่1เป็นสถานภาพของผู้ตอบ ประกอบดว้ ย

29

เพศ อายุ และอาชีพ ตอนที่ 2 เป็นประเด็นการประเมินความพึงพอใจตอ่ การจัดสัมมนาโครงการการจัดการ
เรยี นรแู้ บบบูรณาการและตอนที่ 3 เปน็ ขอ้ เสนอแนะ โดยมนี างสาวศิริกมล จติ รา เป็นผ้รู ับผดิ ชอบ

9)การถอดเทป ดาํ เนนิ งานโดยการอดั วิดโิ อหน้าจอในการสัมมนา และนาํ ไปสรปุ ถอดเทป
โดยมนี างสาวสนั ตฤ์ ทัย พรหมชยั ศรแี ละนางสาวกติ ติยา ชุมทอง เป็นผรู้ บั ผิดชอบ

10)แคปหนา้ จอ-ถา่ ยรปู ดาํ เนนิ งานโดยการแคปหนา้ จอและถา่ ยรปู ในการสมั มนา โดยมี
นางสาวอรพรรณ เพชรคงทอง เป็นผรู้ บั ผิดชอบ

11)บทความวิชาการ สรุปและรายงานการสัมมนาวิชาการเร่ืองจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการ
โดยมนี างสาวรุง่ ทวิ า เบญจาธิกลุ เป็นผูร้ ับผิดชอบ

1.3 จัดการสัมมนา จดั ในวนั พฤหสั บดี ท่ี 16 กนั ยายน 2564 ต้ังแต่เวลา 16.30 น.- 18.30 น.
(รายละเอียดกําหนดการในภาคผนวก)

2. ขนั้ ดาเนนิ งาน
ขนั้ ดําเนินงานมรี ายละเอยี ดสําคญั ดังนี้
2.1 ฝ่ายเชญิ วทิ ยากร เชิญวิทยากรโดยการตดิ ตอ่ ผ่านทางโทรศัพท์ประสานงานเพื่อช้ีแจงรายละเอียด
และขั้นตอนการดําเนินงาน เพื่อให้วิทยากรเข้าใจกระบวนการท่ีชัดเจนในวันจัดสัมมนา จากน้ันการทําบันทึก
ข้อความเชิญวิทยากร (รายละเอียดมใี นภาคผนวก) โดยมีนางสาวปวรศิ า อนิ ทรเ์ ก้ือ เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
2.2 ฝ่ายเชิญผู้เข้าร่วมสัมมนา โดยการติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ประสานงานกับหัวหน้ากลุ่มนักศึกษา
ช้ันปีที่2 เพ่ือชี้แจงรายละเอียด คือเร่ืองท่ีจะสัมมนาและวันเวลาในการสัมมนา จากนั้นทําบันทึกข้อความเชิญ
ผเู้ ข้ารว่ มสมั มนา (รายละเอียดมีในภาคผนวก) โดยมี นางสาวสุดารตั น์ ฝ่งั ขวา เป็นผรู้ ับผิดชอบ
2.3 กําหนดการ ช้ีแจงรายละเอียดวันและเวลาในการจัดกิจกรรมเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณา
การ (รายละเอียดมใี นภาคผนวก) โดยมี นางสาวขวัญหทยั หญตี อัมฤทธิ์ เป็นผู้รับผดิ ชอบ
2.4 รายละเอียดของเนื้อหาประกอบการสัมมนาเร่ืองการเรียนรู้แบบบูรณาการ ติดต่อประสานงาน
เพ่ือขอรายละเอียดเนื้อหาประกอบการสัมมนาจากวิทยากรอาจารยญ์ าดา จุลเสวก โดยมนี างสาวศรันย์พร บุญ
เมอื ง เปน็ ผรู้ ับผิดชอบ
2.5 ประชาสัมพันธ์ โดยการทําประชาสัมพันธแ์ บบออนไลน์ (โปสเตอร์) เร่ืองการจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ โดยมี นายธนายทุ ธ แซตน๋ั เปน็ ผรู้ บั ผิดชอบ (รายละเอียดมใี นภาคผนวก)
2.6 ลิงค์ลงทะเบียน ลิงค์ลงทะเบียนการเข้าร่วมการสัมมนาจัดทําในรูปแบบของ Google Form โดย
มี นางสาวพณั ณิตา กิจคาม เป็นผู้รับผิดชอบ
2.7 พิธีกร กล่าวต้อนรับวิทยากรและผู้เข้าร่วมสัมมนา กล่าวเปิดและปิดโครงการจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ โดยมีนางสาวรุ่งทิวา เบญจาธกิ ุล เปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบ
2.8 ลิงค์แบบประเมินความพึงพอใจ เรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ จัดทําในรูปแบบของ
Google Form โดยแบ่งข้อคําถามเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่1 เป็นสถานภาพของผู้ตอบ ประกอบด้วย เพศ อายุ

30

และอาชีพ ตอนที่ 2 เป็นประเดน็ การประเมินความพงึ พอใจต่อการจัดสัมมนาโครงการการจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการและตอนท่ี 3 เป็นข้อเสนอแนะ โดยมีนางสาวศิริกมล จติ รา เปน็ ผ้รู บั ผดิ ชอบ

2.9 การถอดเทป ดําเนินงานโดยการอัดวิดิโอหน้าจอในการสัมมนา และนําไปสรุปถอดเทป โดยมี
นางสาวสนั ต์ฤทยั พรหมชยั ศรีและนางสาวกติ ตยิ า ชุมทอง เปน็ ผ้รู บั ผิดชอบ

2.10 แคปหน้าจอ-ถ่ายรูป ดาํ เนินงานโดยการแคปหน้าจอและถ่ายรูปในการสัมมนา โดยมีนางสาวอร
พรรณ เพชรคงทอง เป็นผรู้ ับผิดชอบ

2.11 บทความวิชาการ สรุปและรายงานการสัมมนาวิชาการเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
โดยมีนางสาวรุง่ ทวิ า เบญจาธิกุล เปน็ ผ้รู บั ผิดชอบ

3. ขั้นสรุป

การแบ่งหนา้ ที่ความรับผิดชอบการจดั สัมมนา มรี ายละเอยี ด ดงั นี้
หัวหน้าโครงการสัมมนาโดยนางสาวรุ่งทวิ า เบญจาธกิ ุล จัดประชุมและแบง่ หนา้ ทใ่ี หแ้ ตล่ ะฝา่ ย
รับผิดชอบดงั น้ี
3.1 เชญิ วิทยากร อาจารยญ์ าดา จลุ เสวก รบั ผิดชอบโดยนางสาวปวรศิ า อนิ ทร์เกอื้ เป็นผูเ้ ชญิ
วิทยากร
3.2 เชญิ ผ้เู ขา้ ร่วมสัมมนา รบั ผิดชอบโดยนางสาวสดุ ารตั น์ ฝั่งขวา
3.3 กาํ หนดการ รบั ผิดชอบโดยนางสาวขวญั หทัย หญตี อมั ฤทธิ์
3.4 รายละเอียดของเนอื้ หาประกอบการสัมมนา รบั ผิดชอบโดยนางสาวศรนั ย์พร บญุ เมอื ง
3.5 ประชาสมั พันธ์ รับผิดชอบโดยนายธนายทุ ธ แซต๋ัน (รายละเอียดมใี นภาคผนวก)
3.6 ลงิ คล์ งทะเบียน รบั ผดิ ชอบโดยนางสาวพัณณิตา กิจคาม
3.7 พิธีกร รับผิดชอบโดยนางสาวรงุ่ ทิวา เบญจาธิกลุ
3.8 จดั การสมั มนา จดั ในวันพฤหสั บดี ท่ี 16 กันยายน 2564 ตั้งแต่เวลา 16.30 น.- 18.30 น.
(รายละเอียดกาํ หนดการในภาคผนวก)
3.9 ลิงคแ์ บบประเมินความพึงพอใจ รับผดิ ชอบโดยนางสาวศิริกมล จติ รา
3.10 การถอดเทป รบั ผดิ ชอบโดยนางสาวสันต์ฤทัย พรหมชยั ศรีและนางสาวกติ ตยิ า ชมุ ทอง
3.11 แคปหนา้ จอ-ถา่ ยรปู รบั ผดิ ชอบโดยนางสาวอรพรรณ เพชรคงทอง
3.12 บทความวิชาการ สรุปและรายงานการสัมมนาวชิ าการเรือ่ งการจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการ
รบั ผิดชอบโดยนางสาวร่งุ ทวิ า เบญจาธิกุล
การสัมมนาจัดในวันพฤหัสบดี ท่ี 16 กันยายน 2564 ตั้งแต่เวลา 16.30 น.- 18.30 น. โดยมี
อาจารย์ญาดา จุลเสวก เป็นวทิ ยากรในการสัมมนาคร้ังน้ี ผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นนักศึกษาช้ันปีท่ี2 และนักศึกษา
ช้นั ปีที่ 3 ซงึ่ เปน็ ผู้จดั โครงการสัมมนาเข้ารว่ มดว้ ย
ผศู้ ึกษาสรุปผลโครงการเรอื่ งการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ โดยการสรปุ เป็นเอกสารรายงานผลการจัด
กจิ กรรมทงั้ ทีเ่ ปน็ เอกสารในเชงิ คณุ ภาพและเชิงปรมิ าณ ดังน้ี

31

1. การสรปุ เชิงคุณภาพ ผศู้ กึ ษาสรปุ รายงานผลเอกสารเปน็ 5 บท ประกอบด้วย
1.1 บทที่ 1 บทนํา ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา คํา

สําคญั และประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั
1.2 บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้วย ความหมายของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

ลักษณะและรูปแบบของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ข้ันตอนของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ คุณค่าและประโยชน์ที่ได้จากการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
และการประเมินผลจากการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ

1.3 บทท่ี 3 วธิ ดี าํ เนนิ การ ประกอบด้วย ขัน้ เตรยี มการ ขน้ั ดําเนินการ และข้นั สรปุ
1.4 บทที่ 4 รายงานผลการจดั โครงการสมั มนา ประกอบด้วย ผลความพงึ พอใจ
1.5 บทที่ 5 สรุปและขอ้ เสนอแนะ
2. การสรปุ เชงิ ปรมิ าณ ผูศ้ กึ ษามีวธิ ีการดาํ เนนิ การ ดังน้ี
ผู้ศึกษาได้พัฒนารูปแบบของแบบสอบถามเพ่ือวัดความพึงพอใจโครงการสัมมนาเรื่องการจัดการ
เรียนรู้แบบบูรณาการ แบบสอบถามในลักษณะ google form แบ่งข้อคําถามเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่1
สถานภาพของผู้ตอบ ประกอบด้วย เพศ อายุ และอาชีพ ตอนที่ 2 คําถามวัดความพึงพอใจต่อการจัดสัมมนา
โครงการการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ประกอบด้วย1. เนื้อหาสาระในการสัมมนามี
ความสําคัญต่ออาชีพผู้เข้าร่วมการสัมมนามากน้อยเพียงใด 2.การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรเหมาะสมมาก
น้อยเพียงใด 3.ก่อนเข้าร่วมสัมมนาผู้เข้าร่วมสัมมนามีความรู้เรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการมากน้อย
เพียงใด 4.หลังเข้าร่วมสัมมนาผู้เข้าร่วมสัมมนามีความรู้เร่ืองการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการมากน้อยเพียงใด
5. การจัดสัมมนาออนไลน์มีความเหมาะสมกับหัวข้อการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการมากน้อยเพียงใด 6.
ผู้เขา้ ร่วมสมั มนาทราบข่าวการประชมสัมพันธ์จากแผ่นโปสเตอร์ออนไลน์มากน้อยเพียงใด 7. ผู้เข้าร่วมสัมมนา
มีความสะดวกในการลงทะเบียนออนไลน์มากน้อยเพียงใด 8. ควรเพ่ิมช่องทางการประชาสัมพันธ์โครงการ
สัมมนาออนไลน์ มากน้อยเพียงใด 9. หัวข้อสัมมนากับระยะเวลาในการสัมมนามีความเหมาะสม และ10.
เนอ้ื หาการสมั มนาในครัง้ นม้ี ปี ระโยชนใ์ นการนาํ ไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจําวนั และตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ ผู้ศึกษา
ได้นําแบบสอบถามเพื่อวัดความพึงพอใจดังกล่าวไปทดลองเก็บข้อมูล จากผู้เข้ารับการสัมมนาท่ีไม่ใช่กลุ่ม
ตัวอย่างเพ่ือตรวจสอบปัญหาความไม่เข้าใจในข้อคําถาม หากมีปัญหาจะได้ตรวจสอบและแก้ไขเพ่ือปรับแต่ง
ข้อมลู ใหแ้ บบสอบถามดงั กลา่ วสมบูรณ์ถูกต้อง จากน้ันจึงได้นําแบบสอบถามไปเก็บข้อมูลจากแหล่งเก็บข้อมูล
จริง จากผู้เข้ารบั การสัมมนา ในวนั ที่ 16 กนั ยายน 2564 โดยมีผ้เู ข้ารับการอบรม จาํ นวน 32 คน จากนนั้ นําได้
นําแบบสอบถาม แบบสอบถามท่ีเก็บได้ท้ังหมดป้อนข้อมูลแบบสอบถามลงโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS FOR
WINDOWS เพอ่ื หาคา่ ร้อยละของสถานภาพ คือ คา่ ร้อยละของประเด็นการประเมนิ ความพงึ พอใจ ดงั นี้
1. กลุม่ เป้าหมายหรือผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ
กลมุ่ เป้าหมาย/ผเู้ ข้าร่วมโครงการ นักศึกษาสาขานาฏศิลป์ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช จํานวน 32 คน
2. ระยะเวลาการดาํ เนินโครงการ

32

วันที่ กันยายน 2564
3. สถานทด่ี าํ เนนิ โครงการ

ณ หอ้ ง classroom รายวชิ าสัมมนาการพัฒนาองคค์ วามรู้และนวตั กรรมทางด้านนาฏศลิ ป์ /
ระหว่างวนั ที่ วันท่ี 9 - 16 กันยายน 2564

4. ข้นั ตอนการประเมนิ โครงการ
4.1 สรปุ การผลการดําเนินโครงการ/แบบประเมินโครงการ
4.2 รปู ถา่ ยโครงการ

5. เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการศึกษา
เครื่องมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา โครงการสัมมนาการจดั การเรียนรูแ้ บบบรู ณาการคือ
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
1.1 เพศ
1.2 อายุ
1.3 อาชพี
สว่ นท่ี 2 ความคดิ เห็นของผเู้ ข้าร่วมโครงการสมั มนา
2.1 ด้านเนื้อหาสาระและการนําไปใช้ประโยชน์
สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
3.1 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ

การแปลความหมายของระดับคะแนนในตอนท่ี2 ได้แปลผลระดับความพึงพอใจของผ้เู ข้าร่วมโครงการ
โดยใช้ค่าเฉล่ยี ของผลคะแนนเป็นตวั ชี้วดั ตามเกณฑใ์ นการวิเคราะหร์ ะดับความพงึ พอใจ วัดเปน็ 5 ระดับ ดังน้ี

ค่าเฉลีย่ ความหมาย
4.51 - 5.00 ระดับความพงึ พอใจ มากทส่ี ดุ
3.51 - 4.50 ระดับความพงึ พอใจ มาก
2.51 - 3.50 ระดับความพงึ พอใจ ปานกลาง
1.51 - 2.50 ระดับความพึงพอใจ น้อย
0.00 - 1.50 ระดับความพงึ พอใจ น้อยทสี่ ุด

6. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1) เก็บข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจโครงการการจัดการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการ
2) นําขอ้ มูลมาวเิ คราะห์ในโปรแกรม SPSS for Window version 16.0

7. วิธกี ารวิเคราะห์ข้อมลู
วเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยใชส้ ถิติพน้ื ฐาน
1) การแจกแจงความถ่ขี องข้อมูล (Frequency Distribution)
2) การหาค่าเฉลย่ี (Mean)

33

3) การหาค่าความเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
4) การหาคา่ ร้อยละ (Percentage)
8. ขน้ั ตอนการดําเนนิ การ
10.1 ขั้นเตรยี มงาน
1) ประชมุ เตรยี มงานภายในกลุ่มงานการประชุม เพื่อพจิ ารณาโครงการฯ
2) ติดตอ่ ประสานงานในสว่ นทเี่ ก่ยี วข้อง
3) ร่างโครงการฯเพอ่ื เสนอ
4) จัดเตรยี มเอกสาร ขอ้ มลู ท่ีเกย่ี วขอ้ ง
5) ประสานผทู้ ม่ี ีส่วนเก่ียวข้องในโครงการ
10.2 การดําเนินงานในวันจดั โครงการ
1) นางสาวรุ่งทิวา เบญจาธิกุล หัวหน้าโครงการสัมมนา กล่าวตอ้ นรับวิทยากรและผู้เข้าร่วม
สัมมนา
2) อาจารยญ์ าดา จุลเสวก วิทยากรบรรยายหวั ข้อการจดั การเรียนรูแ้ บบบรู ณาการ
3) วทิ ยากรและผ้เู ขา้ รวมสมั มนา รว่ มกันอภปิ ราย
10.3 การดําเนินการหลงั ฝึกอบรม
1) นาํ แบบประเมนิ ความพึงพอใจมาวิเคราะห์และสรปุ รายงานผลการดําเนนิ โครงการ
2) รายงานผลการดาํ เนินงาน

34

บทที่ 4
รายงานผลการดาเนินการสมั มนาทางวิชาการ

เรอ่ื งการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ

โครงการสัมมนา เรอื่ งการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปีการศกึ ษา 2564 ในคร้ังน้ี ผลการประเมนิ
สรุปได้ดังน้ี
ตอนท1ี่ สถานภาพของผู้ตอบ

ตารางที1่ แสดงจาํ นวนและร้อยละของกลมุ่ ตัวอย่างจาํ แนกตามเพศ

Gender (เพศ)
เพศ จานวน ร้อยละ
ชาย 6 18.8
หญิง 26 81.3
รวม 32 100.0

จากตารางที่1 เป็นข้อมูลแสดงจํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจําแนกตามเพศ พบว่ามีผู้ตอบ

แบบสอบถามทั้งหมด 32 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.0 ส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง จํานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ

81.3 รองลงมา คือ เพศชาย จํานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 18.8 ตามลําดับ ซึ่งทั้งเพศหญิงและชายเป็น

นกั ศกึ ษาสาขานาฏศลิ ป์

ตารางท2่ี แสดงจาํ นวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาํ แนกตามอายุ

Age (อายุ)

อายุ จานวน ร้อยละ

Valid 19-23 ปี 32 100.0

จากตารางที่2 เป็นข้อมูลแสดงจํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจําแนกตามอายุ พบว่ามีผู้ตอบ

แบบสอบถามท้งั หมด 32 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.0 สว่ นใหญ่ อายุ 18-23 ปี

ตารางที่ 3 แสดงจํานวนและรอ้ ยละของกล่มุ ตัวอย่างจําแนกตามอาชีพ

Occupation (อาชพี )

อาชพี จํานวน ร้อยละ

Valid 1.00 32 100.0

จากตารางที่ 3 เป็นขอ้ มลู แสดงจาํ นวนและร้อยละของกลมุ่ ตัวอยา่ งจาํ แนกตามอาชพี พบว่ามีผู้ตอบ
แบบสอบถามทง้ั หมด 32 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.0 ส่วนใหญ่เปน็ นักศกึ ษา

35

จากตารางท1ี่ ,2และ 3 สรปุ ได้วา่ ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 32 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.0 ส่วนใหญ่
เป็นเพศหญิง จํานวน 26 คน คิดเปน็ ร้อยละ 81.3 รองลงมา คือ เพศชาย จํานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 18.8
ตามลําดับ ซึ่งท้ังเพศหญิงและชายจํานวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 ส่วนใหญ่อายุ 18-23 ปี และผู้ตอบ
แบบสอบถามจาํ นวน 32 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.0 เป็นนกั ศกึ ษาสาขานาฏศิลป์ทั้งหมด

ตอนท2ี่ ประเดน็ คาํ ถามการประเมินและระดับความพงึ พอใจการเขา้ รว่ มสัมมนาการพฒั นาแผนการจดั การ

เรียนรู้แบบบูรณาการ

ตารางท่ี 4 ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความพงึ พอใจการเข้าร่วมสมั มนาการพฒั นา

แผนการจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ

ประเดน็ คาถามการประเมนิ ความพึงพอใจ S.D. x ระดบั ความ
พงึ พอใจ

1. เนื้อหาสาระในการสัมมนามีความสําคัญต่ออาชีพ .49 4.62 มากทสี่ ดุ
ผู้เข้าร่วมการสัมมนามากนอ้ ยเพียงใด

2. วิทยากรมีความเหมาะสมกับหัวข้อท่ีบรรยายมากน้อย .48 4.65 มากทส่ี ุด
เพยี งใด

3. ก่อนเข้าร่วมการสัมมนาผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจ .84 4.43 มากทส่ี ดุ
เรือ่ งการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการมากน้อยเพยี งใด

4. หลังเข้าร่วมการสัมมนาผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจ .48 4.65 มากท่ีสดุ
เรื่องการจัดการเรยี นร้แู บบบูรณาการมากน้อยเพียงใด

5. การสัมมนาออนไลน์มีความเหมาะสมกับหัวข้อท่ี .48 4.65 มากทส่ี ดุ
บรรยายมากนอ้ ยเพยี งใด

6.ผู้เข้าร่วมการสัมมนาทราบข่าวจากแผ่นโปสเตอร์ .48 4.65 มากท่ีสุด
ประชาสมั พันธม์ ากนอ้ ยเพียงใด

7. ท่านมีความสะดวกในเร่ืองของการลงทะเบียนกับการ .49 4.62 มากทีส่ ุด
สัมมนาครง้ั นี้มากน้อยเพยี งใด

8. ควรเพม่ิ ช่องทางการประชาสัมพนั ธ์ในการสัมมนามาก .55 4.59 มากทีส่ ุด
น้อยเพียงใด

9. หัวข้อสัมมนากับระยะเวลาในการสัมมนามีความ .49 4.62 มากท่ีสุด
เหมาะสมมากนอ้ ยเพียงใด

10. เนื้อหาการสัมมนาในครั้งน้ีมีประโยชน์ในการนําไป .49 4.62 มากที่สุด
ปรับใชใ้ นชวี ิตประจําวนั มากนอ้ ยเพียงใด

ภาพรวม =(4.65+4.62+4.
43+...)/10

36

จากตารางที่4 สรุปผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจได้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในด้าน
เน้ือหาสาระในการสัมมนามีความสําคัญต่ออาชพี ผู้เข้าร่วมการสัมมนาอยู่ในระดบั ความพงึ พอใจมากที่สุดมาก
ทีส่ ุด โดยมีคะแนนเฉลย่ี 4.62 อยู่ในระดบั ความพึงพอใจมากท่ีสุดมากที่สุด วทิ ยากรมีความเหมาะสมกับหัวข้อ
ที่บรรยาย อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.65 ก่อนเข้าร่วมการสัมมนาผู้เข้าร่วมมี
ความรู้ ความเข้าใจเร่ืองการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด โดยมีคะแนน
เฉลี่ย 4.43 หลังเข้าร่วมการสัมมนาผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการ อยู่ใน
ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.65 การสัมมนาออนไลน์มีความเหมาะสมกับหัวข้อที่
บรรยายอยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.43 ผู้เข้าร่วมการสัมมนาทราบข่าวจากแผ่น
โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.65 ผู้เข้าร่วมการสัมมนามี
ความสะดวกในเรือ่ งของการลงทะเบยี นอยใู่ นระดับความพงึ พอใจมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉล่ีย 4.62 ควรมีการ
เพ่ิมช่องทางการประชาสัมพันธ์ในการสัมมนาอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4. 59
หัวข้อสัมมนากับระยะเวลาในการสัมมนามีความเหมาะสมอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด โดยมีคะแนน
เฉล่ีย 4.62 และเนอ้ื หาการสัมมนาในครัง้ นี้มปี ระโยชน์ในการนําไปปรับใช้ในชีวิตประจาํ วันอยู่ในระดับความพงึ
พอใจมากทีส่ ดุ โดยมคี ะแนนเฉลี่ย 4.62 ตามลาํ ดบั

ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะจากแบบประเมนิ ความพึงพอใจประเดน็ ท่ี 3 ดมี าก อยากให้มีกิจกรรมแบบนอี้ กี เปน็

กจิ กรรมทส่ี นุกและได้ความรู้ เปน็ การอบรมที่สนุกและควรให้มกี ารอมบรมเเบบนอ้ี กี

37

บทที่ 5
สรปุ และข้อเสนอแนะ

สรุป
การจัดโครงการสัมมนาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการ

เรยี นรแู้ บบบรู ณาการกับนักศึกษาและเพ่อื ตรวจสอบความพงึ พอใจของการสัมมนาเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการสําหรับนําใช้เป็นแนวทางพัฒนา ปรับปรุงการปฏิบัติกิจกรรมการจัดสัมมนาทางวิชาการในลําดับ
ตอ่ ไป ดาํ เนินการจัดสัมมนาเมื่อวันท่ี 16 กันยายน 2564 ต้งั แต่เวลา 16.30 น.-18.30 น. โดยมีวทิ ยากรคือ
อาจารย์ญาดา จุลเสวก ประธานหลักสูตรนาฏศิลป์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ หมายถึง การผสมผสานกระบวนความรู้หรือศาสตร์องค์ความรู้ใน
ส่วนของรายวิชาต้ังแต่ 2 แขนงขึ้นไปนํามาจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเชื่อมโยงหัวข้อหรือเน้ือหาสาระ
สาขาวิชาต่างๆที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้แบบองค์รวมมี
ความหลากหลายและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้จริง เป้าหมายของการเรียนรู้แบบบูรณาการ มี 2 ประเด็น
หลักๆคือ 1.ต้องการให้ผู้เรียนสามารถเช่ือมโยงส่ิงท่ีเรียนกับส่ิงท่ีเกิดขึ้นในชีวิตจริงได้ คือในแต่ละห้องจะมี
นักเรียนบางคนท่ีในเรื่องของวิชาการมากๆแต่อาจจะไม่เก่งในศาสตร์ของชีวิตจริง ไม่เก่งในเร่ืองของการ
แก้ปัญหาในชีวิตจริงท่ี และเป้าหมายที่ 2. เพื่อขจัดความซํ้าซ้อน ของเน้ือหาต่างๆเป็นการลดภาระของผู้เรียน
และเพ่ือเป็นการลดภาระของผู้สอน ในทางกลับกันในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการจะได้ผลที่มากกว่าแค่
การท่องจําแล้วก็ความเข้าใจเพราะสุดท้ายแล้วเดก็ จะต้องนําไปใช้ในชวี ิตจริงได้ ลักษณะของการจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการมที ง้ั หมด 4 ประเด็นหลักๆ คือ 1. การบูรณาการภายในสาขาวิชา 2. การบูรณาการระหวา่ งสห
วิทยาการ เป็นการผสมผสานเน้ือหาองค์ความรู้ระหว่าง 2 สาขาวิชา แต่จะยึดสาขาใดสาขาหนึ่งเป็นหลัก 3.
การบูรณาการแบบพหุวิทยาการ จะเปน็ การผสมผสานตง้ั แต่ 2 สาขาวิชาหรือ 2 องค์ความรู้ขึ้นไปโดยท่ีให้ยึด
สาขาใดสาขาหนง่ึ เป็นแกนหลกั และ 4. การบรู ณาการแบบขา้ มสาขาวิชา การบูรณาการในลักษณะน้ีนะคะเรา
จะไม่ยึดสาขาใดสาขาหนึ่งเป็นแกนหลัก เพราะทุกสาขาจะมีความสําคัญเท่าๆ เช่น ครูผู้สอนท้ัง4 คน ซ่ึงแต่ละ
คนสอนคนละวิชามาร่วมกันวางแผนและมอบหมายงานให้นักเรียน โดยงานชิ้นนี้คะแนนเต็ม 100 คะแนน
คะแนนในแต่ละวิชาก็จะต้องแบ่งเป็น 25 คะแนนเท่าๆกัน รูปแบบของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ท่ี
สําคัญๆสามารถแยกออกได้เป็น 2 ประเด็นใหญ่ๆก็คือ 1.การบูรณาการภายในกลุ่มวิชาหรือว่าสาขาวิชา
เดียวกันกับ 2. การบูรณาการระหว่างรายวิชา เช่นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียงเป็นต้น ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสามารถสรุปได้เป็น 6 ขั้นได้แก่ 1.การกําหนดหัวข้อ
เลอื กหัวเร่ืองทเ่ี ราจะสอน 2. การพัฒนาหัวเร่ืองโดยท่เี รากาํ หนดวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ 3. กําหนดเนื้อหาย่อย
4. วางแผนเตรียมสื่อทรัพยากรสําหรับการเรียนรู้ 5. การดําเนินกิจกรรม 6. การประเมินผลปรับปรุงแล้วก็
พัฒนา การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการท่ีดีต้องประกอบด้วย 5 ลักษณะได้แก่ 1 จะต้องมีความรู้และ

38

กระบวนการเรยี นรู้ คือเด็กจะตอ้ งเกิดความรเู้ ด็กจะต้องเกิดกระบวนการเรียนรู้โดยที่เขาว่าจะเรียนรู้เองแล้วให้
เราเปน็ โคช้ ในการแนะนาํ สิ่งตา่ งๆในสง่ิ ท่ีเขาจะทํา 2.มพี ฒั นาการทางจิตใจ 3. มีการกระทําของผู้เรียนร่วมดว้ ย
คือเดก็ ทกุ คนจะต้องมีส่วนร่วมในการคิดในการทําแล้วก็ในการประเมินผลด้วย 4.เชื่อมโยงสิ่งท่ีเรียนกับส่ิงท่ีอยู่
ในชีวิตจริงได้และ 5.มีเนื้อหาวิชาต่างๆ และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการประโยชน์และข้อดีของ
การจัดการเรียนแบบบูรณาการเป้าหมายหลักๆของการจัดการเรียนรู้ในลักษณะน้ีเพื่อเป็นการลดภาะระงาน
ของนักเรียนและเพื่อลดภาระงานของครู เพื่อให้นักเรียนสามารถนําเอาความรู้จากสาขาวิชาต่างๆมาเชื่อมโยง
เข้ากับชีวิตจริงและทําให้นักเรียนสามารถแก้ไขปัญหาในชีวิตได้ ทําให้นักเรียนเกิดการสร้างสรรค์การทํางานมี
กระบวนการทํางานและมีสว่ นร่วมในประสบการณช์ ีวติ จริง

ผลการวัดความพึงพอใจ โครงการสมั มนาการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ สรุปผลการวเิ คราะห์ความ
พงึ พอใจได้ว่า มีผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด 32 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จํานวน 26
คน คดิ เปน็ ร้อยละ 81.3 รองลงมา คือ เพศชาย จาํ นวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 18.8 ตามลําดับ ซึ่งท้ังเพศหญิง
และชายจํานวน 32 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.0 สว่ นใหญ่อายุ 19-23 ปี และผูต้ อบแบบสอบถามจํานวน 32 คน
คิดเป็นร้อยละ 100.0 เป็นนักศึกษาสาขานาฏศิลป์ท้ังหมด ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในด้าน เน้ือหา
สาระในการสัมมนามีความสําคัญต่ออาชีพผู้เข้าร่วมการสัมมนาอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุดมากที่สุด
โดยมีคะแนนเฉล่ีย 4.62 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุดมากที่สุด วิทยากรมีความเหมาะสมกับหัวข้อท่ี
บรรยาย อยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.65 ก่อนเข้าร่วมการสัมมนาผู้เข้าร่วมมี
ความรเู้ ร่ืองการเรยี นรู้แบบบรู ณาการอยู่ในระดับความพงึ พอใจมากท่ีสุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.43 หลังเข้าร่วม
การสัมมนาผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจเรื่องการเรียนรู้แบบบูรณาการ อยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด โดยมี
คะแนนเฉลี่ย 4.65 การสัมมนาออนไลน์มีความเหมาะสมกับหัวข้อที่บรรยายอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก
ท่ีสุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.43 ผู้เข้าร่วมการสัมมนาทราบข่าวจากแผ่นโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์อยู่ในระดับ
ความพึงพอใจมากท่ีสุด โดยมีคะแนนเฉล่ีย 4.65 ผู้เข้าร่วมการสัมมนามีความสะดวกในเรื่องของการ
ลงทะเบียนอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4. 62 ควรมีการเพิ่มช่องทางการ
ประชาสัมพันธ์ในการสัมมนาอยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด โดยมีคะแนนเฉล่ีย 4.59 หัวข้อสัมมนากับ
ระยะเวลาในการสัมมนามีความเหมาะสมอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.62 และ
เน้ือหาการสัมมนาในคร้ังนี้มีประโยชน์ในการนําไปปรับใช้ในชวี ิตประจําวันอยู่ในระดบั ความพึงพอใจมากที่สุด
โดยมคี ะแนนเฉลีย่ 4.62 ตามลําดบั

ขอ้ เสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะผศู้ กึ ษาจะนําเสนอเปน็ ประเดน็ ดงั น้ี
1. ขอ้ เสนอแนะจากแบบสอบถาม
1.1 ดมี าก
1.2 อยากใหม้ ีการจดั กิจกรรมแบบน้ีข้นึ อกี เปน็ กจิ กรรมท่ีสนกุ และไดค้ วามรู้

39

1.3 เปน็ การอบรมท่ีสนุกและควรใหม้ กี ารอมบรมเเบบน้อี กี
2. ข้อเสนอแนะจากปัญหาของผ้จู ัด

2.1 ปญั หาการทํางานของฝา่ ยตา่ ง ๆ
2.1.1 ฝ่ายประชาสัมพันธ์ แบบประชาสัมพันธ์ออนไลน์หรือโปสเตอร์ ยังมีรายละเอียดไม่

ชัดเจน แก้ปญั หาโดยการส่งตรวจสอบและขอคาํ แนะนาํ จากอาจารย์ประจําวชิ า
2.1.2 ฝ่ายพิธีกร ยังไม่มีพิธีกรในการต้อนรับวิทยากรและผู้เข้าร่วมสัมมนา ทําให้หัวหน้า

โครงการจัดสัมมนาต้องรับผิดชอบในหน้าท่ีส่วนนี้ แก้ปัญหาโดยการจัดสัมมนาครั้งต่อไปจะต้องหาตัวแทน
รบั ผิดชอบหนา้ ท่ีพิธกี ร

2.2 ปญั หาของผเู้ ขา้ รว่ มการสัมมนา
-

3. การสัมมนาคร้งั ตอ่ ไป
การสัมมนาครั้งต่อไปควรจัดเรื่องการจัดการความรู้แบบองค์รวม KM เพราะเป็นประเด็นปัญหา

สาํ คัญท่ีทุกคนควรไดร้ บั ความรู้ เพอื่ นาํ ไปใช้ในการประกอบวิชาชพี ในอนาคต

40

บรรณานกุ รม

41

บรรณานุกรม

ธรี ชยั ปุรณโชต.ิ (2540). “การสอนแบบบูรณาการ ทัศนะการเรียนของผู้เช่ียวชาญ”. คู่มือ ฝึกอบรมเพ่ือ

พฒั นาการเรียนการสอนแบบหน่วยบูรณาการวิชาการคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์. หน้า 82-83.

กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.

ธํารง บัวศรี. (2532). ทฤษฎีหลกั สูตรการออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรสุ ภา ลาดพร้าว.

ไพโรจน์ เนียมนาค. (2554).การจัดสัมมนา.เข้าถึงเมื่อ 2564,กันยายน : 28จาก

https://coggle.it/diagram/YJvaZUneslllISPC

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดสี ุข. (2551). ทักษะ 5C เพ่ือการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการจัดการ

การสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ. โรงพิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วฒั นาพร ระงบั ทุกข.์ (2542). แผนการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ ศนู ย์กลาง. กรุงเทพฯ : แอลพี เพรส.

วเิ ศษ ชนิ วงศ.์ (2544). “การจัดการเรียนการสอนแบบบรู ณาการ”. วารสารวิชาการ. 4(5) : 22-29.

สริ ิพัชร์ เจษฎาวิโรจน์. (2546).การจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ.กรุงเทพฯ : บคุ๊ พอยท์.

สุมานนิ รงุ่ เรืองธรรม. (2522).กลวธิ กี ารสอน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์รุ่งเรอื งธรรม.

สํานักคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2540:7). แผนงานหลักที่ 4 การผลิตและพัฒนา กาลังคน ด้าน

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และด้านสังคมศาสตร์ในแผนพัฒนา การศึกษาแห่งชาติ ฉบับท่ี 4

(พ.ศ.2540-2544).

สงดั อทุ รานันท์. (2529). การจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ. พิมพ์คร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการ

บริหารการศึกษา. จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

อัจฉรา สารัตนะ. (2542). การศึกษาแบบบูรณาการ (Integration Education). วารสารส่งเสริม

ประสทิ ธิภาพการสอน. 8(3), 36-37

อัจฉรา ชวี พนั ธ.์ (2538). “สอนอย่างไรให้บรู ณาการ”. การศกึ ษา กทม. 19(2): 27-31.

อรทัย มูลคํา และคณะ. (2542). การบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียน เป็น

ศนู ยก์ ลาง. พิมพค์ รง้ั ที่ 3. กรงุ เทพฯ : ทีพี พริ้นท์จํากดั .

Lardizabal, Amparo S. and other. (1970:142). Methods and Principles of Teaching. Quezon

City:Alemar-Phoenix.

42

ภาคผนวก

43

ภาคผนวก ก. ประวัติของผู้ศกึ ษา

ประวตั สิ ว่ นตวั
นางสาวรุ่งทวิ า เบญจาธิกลุ ชือ่ เลน่ ปอ๊ ป เกดิ วันอังคารท่2ี 3 พฤษภาคม 2543

บ้านเลขท่3ี 09 หมู่9 ตําบลท่าศาลา อําเภอทา่ ศาลา จังหวดั นครศรีธรรมราช 80160

การศกึ ษา
กําลงั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรีชน้ั ปที ี่ 3 รหสั นกั ศกึ ษา 6211120013 สาขานาฏศิลป์ ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราช

ภัฏนครศรธี รรมราช

44

ภาคผนวก ข. เอกสารสาํ คญั ท่เี ก่ียวข้อง

45


Click to View FlipBook Version