ประเภทหนงั สอื ราชการ
1. หนงั สือภายนอก
หนังสือภายนอก คอื หนงั สอื ตดิ ตอ่ ราชการที่เปน็ แบบพธิ ีโดยใช้กระดาษตราครฑุ เปน็ หนงั สือตดิ ตอ่
ระหว่างส่วนราชการหรอื ส่วนราชการมถี งึ หน่วยงานอ่ืนใดซง่ึ มใิ ชส่ ่วนราชการหรอื ทมี่ ีถงึ บคุ คลภายนอก
2. หนงั สือภายใน
หนังสอื ภายใน คอื หนงั สือตดิ ต่อราชการทเ่ี ป็นแบบพิธกี ารน้อยกวา่ หนงั สอื ภายนอก เปน็ หนงั สือตดิ ตอ่
ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรอื จงั หวดั เดยี วกนั ใชก้ ระดาษบนั ทึกขอ้ ความ
3. หนังสอื ประทบั ตรา
หนังสือประทบั ตรา คือหนงั สอื ท่ใี ชป้ ระทับตราแทนการลงชือ่ ของหัวหนา้ ส่วนราชการระดบั กรมขึน้ ไป
โดยให้หัวหน้าสว่ นราชการระดบั กองหรือผทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมายจากหัวหนา้ สว่ นราชการระดบั กรมขึ้นไปเปน็
ผรู้ บั ผิดชอบลงชือ่ ย่อกากบั ตรา หนงั สือประทบั ตราให้ใชไ้ ดท้ ง้ั ระหวา่ งส่วนราชการและระหว่างส่วนราชการกบั
บคุ คลภายนอก เฉพาะกรณีทไี่ ม่ใชเ่ รอ่ื งสาคัญ ไดแ้ ก่ การขอรายละเอียดเพ่มิ เตมิ การสง่ สาเนาหนงั สือ ส่ิงของ
เอกสาร หรือบรรณาสาร การตอบรับทราบท่ไี มเ่ กย่ี วกับราชการสาคญั หรือการเงิน การแจง้ ผลงานทไี่ ด้
ดาเนินงานไปแล้วใหส้ ว่ นราชการท่ีเกีย่ วข้องทราบ การเตือนเรอ่ื งทคี่ ้าง เรื่องซึ่งหวั หน้าส่วนราชการระดับกรม
ข้นึ ไปกาหนดโดยทาเปน็ คาสงั่ ให้ใชห้ นงั สอื ราชการ โดยใชก้ ระดาษตราครฑุ
4. หนงั สือสง่ั การ
หนังสอื สงั่ การ ใหใ้ ช้ตามแบบทกี่ าหนดไว้ หนงั สอื สง่ั การมี 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ คาส่ัง ระเบยี บ และขอ้ บงั คับ
คาสงั่ คือบรรดาขอ้ ความที่ผบู้ งั คบั บญั ชาสง่ั การใหป้ ฏบิ ตั โิ ดยชอบดว้ ยกฏหมาย ใชก้ ระดาษตราครฑุ
ระเบียบ คอื บรรดาขอ้ ความท่ีผมู้ ีอานาจหนา้ ท่ีได้วางไวโ้ ดยจะอาศยั อานาจของกฏหมายหรอื ไมก่ ็ได้ เพ่อื ถือเปน็
หลกั ปฏิบตั ิงานเป็นการประจา ใชก้ ระดาษตราครฑุ
ขอ้ บังคบั คือบรรดาขอ้ ความทผี่ ู้มีอานาจหนา้ ทกี่ าหนดใหใ้ ชโ้ ดยอาศัยอานาจของกฏหมายทบี่ ญั ญตั ใิ ห้กระทาได้
ใช้ กระดาษ
ตรา ครฑุ
5. หนงั สอื ประชาสมั พนั ธ์
หนังสอื ประชาสมั พนั ธ์ ใหใ้ ช้ตามแบบทก่ี าหนดไว้ หนังสอื ประชาสมั พนั ธม์ ี 3ชนดิ ไดแ้ ก่ ประกาศ
แถลงการณแ์ ละขา่ ว
ประกาศ คือบรรดาข้อความทที่ างราชการประกาศหรอื ชี้แจงให้ทราบหรอื แนะแนวทางปฏบิ ตั ิ ใช้
กระดาษตราครฑุ
แถลงการณ์ คอื บรรดาขอ้ ความทที่ างราชการแถลงเพอ่ื ทาความเข้าใจในกิจการของทางราชการหรือ
เหตกุ ารณ์ หรอื ในกรณีใด ๆ ใหท้ ราบชดั เจนโดยทวั่ กนั ใช้กระดาษตราครุฑ
ข่าว คือบรรดาข้อความทท่ี างราชการเห็นสมควรเผยแพร่ใหท้ ราบ
6. หนงั สือทีเ่ จา้ หนา้ ทที่ าขึน้ หรอื รบั ไว้เป็นหลกั ฐานในราชการ
หนงั สอื ที่เจา้ หน้าทีท่ าขน้ึ หรือรบั ไว้เป็นหลกั ฐานในราชการ คอื หนังสือท่ีทางราชการทาขน้ึ นอกจากท่ี
กล่าวแลว้ ขา้ งตน้ หรือหนงั สือท่หี นว่ ยงานอื่นใดซงึ่ มใิ ชส่ ว่ นราชการหรอื บคุ คลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการและ
สว่ นราชการรับไว้เปน็ หลักฐานของทางราชการ มี 4 ชนดิ คอื หนังสอื รบั รอง รายงานการประชมุ บนั ทกึ และ
หนังสอื อ่นื
หนังสือรับรอง คือหนังสือท่ีส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองแก่บุคคล นิติบุคคลหรือหน่วยงาน เพ่ือ
วตั ถปุ ระสงค์อย่างหนึ่งอยา่ งใดให้ปรากฏแกบ่ คุ คลโดยทั่วไปไมจ่ าเพาะเจาะจง ใช้กระดาษตราครุฑ
รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม และมติของที่
ประชมุ ไว้เปน็ หลกั ฐาน
ตัวอยา่ งหนังสอื ราชการทัง้ 6ชนดิ
1. หนังสือภายนอก
2. หนงั สือภายใน
3. หนังสอื ประทบั ตรา
4. หนงั สือสง่ั การ
5. หนังสอื ประชาสมั พนั ธ์
6. หนงั สือท่เี จ้าหนา้ ที่ทาข้นึ หรอื รบั ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานในราชการ
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาครง้ั ท่ี 2
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม 2560
การศกึ ษาการใชต้ ฟู้ ักไข่เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ไก่พ้ ืนเมืองพนั ธุป์ ระด่หู างดาํ
The Study of Using Incubator for Production Improvement in PraduHangdum Thai Native Chicken
วนิดา มากศิร1ิ สิทธิโชค บญุ ธรรม2 และ จกั รกฤษณ์ เงนิ ประมวล3
Wanida Maksiri1, Sitichok Boontum2 and ChakkritNgoenpramuan3
สาขาวิชาสตั วศาสตร์ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี1
[email protected]
บทคดั ยอ่
การศึกษาในคร้งั น้ ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อการขยายพนั ธุไ์ ก่พ้ ืนเมืองพนั ธุป์ ระด่หู างดาํ โดยนําตฟู้ ักไข่อตั โนมตั ิมาใชเ้ พือ่ เพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตใชไ้ ก่พ้ นื เมอื งพนั ธุป์ ระด่หู างดาํ เพศผู้ จาํ นวน 4 ตวั และเพศเมีย จาํ นวน 12 ตวั อายุประมาณ 6 เดือน โดย
แบ่งกลุ่มการทดลองเป็ น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมี 2 ซ้าํ โดย 1 ซ้าํ ใชไ้ กเ่ พศผู้ 1 ตวั ต่อแมไ่ ก่ 3 ตวั กลุ่มการทดลองแบง่ ดงั น้ ี กลุ่มท่ี 1 การ
ผสมพนั ธุไ์ ก่ตามธรรมชาติและใชต้ ฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิฟักไข่ กลุ่มที่ 2 การผสมพนั ธุไ์ ก่ตามธรรมชาติและใหแ้ ม่ไก่ฟักไขต่ ามธรรมชาติ โดยไก่
พ่อแมพ่ นั ธุท์ ่ีใชใ้ นการทดลองจะเล้ ียงในคอกขนาด 2 × 4 เมตร และใชอ้ าหารสาํ เร็จรปู ไกไ่ ขเ่ ล้ ียงตลอดการทดลอง มีน้ําและแร่ธาตุ
วิตามนิ ละลายน้ําใหก้ นิ ตลอดเวลา ระยะเวลาการทดลอง 1 ปี เปรียบเทียบความแตกต่างของผลผลิตโดยใช้ T-test ผลการทดลองพบวา่
จาํ นวนรอบของการใหไ้ ข่ต่อปี (clutch/year) กลุ่มท่ีใชต้ ฟู้ ักไข่มีจาํ นวนรอบ ( 51.15 รอบ/ปี ) สงู กวา่ กลุ่มที่แม่ไกฟ่ ักไข่เองตามธรรมชาติ
(11.72 รอบ/ปี ) (P<0.05) ท้งั น้ ีระยะหา่ งระหว่างรอบการใหไ้ ขข่ องกลุ่มที่แม่ไก่ฟักไขเ่ องมรี ะยะยาวนานกวา่ กลุ่มท่ีใชต้ ฟู้ ักไข่ (7.21 และ
31.38 วนั /รอบ) (P<0.05) จาํ นวนไขท่ ้งั หมดเฉลี่ยต่อตวั ตลอดระยะเวลา 1 ปี พบว่ากลุ่มที่ใชต้ ฟู้ ักไข่มจี าํ นวนไข่ 110.33 ฟอง/ตวั /ปี
ซ่ึงมีปริมาณสงู กว่ากลุ่มท่ีแม่ไก่ฟักไข่เองซ่ึงมีจาํ นวนไข่เท่ากบั 68.17 ฟอง/ตวั /ปี เปอรเ์ ซ็นตก์ ารฟักไข่จากไข่รวมท้งั หมดพบวา่ กลุ่มที่ใชต้ ู้
ฟักไข่มีเปอรเ์ ซ็นตก์ ารฟักไข่ 42.38 เปอรเ์ ซ็นต์ ซ่ึงไมแ่ ตกต่างกบั กลุ่มท่ีใหแ้ ม่ฟักไข่เองมคี า่ เท่ากบั 45.90 เปอรเ์ ซ็นต์ ส่วนเปอรเ์ ซ็นตก์ าร
สญู เสียพบวา่ กลุ่มท่ีใชต้ ฟู้ ักไข่มเี ปอรเ์ ซ็นตแ์ มไ่ กเ่ หยยี บไข่แตก เปอรเ์ ซ็นตไ์ ข่เช้ ือตาย และไข่ตายโคมไม่แตกต่างกบั กลุ่มท่ีแม่ไก่ฟักไขเ่ อง
ตามธรรมชาติ และจาํ นวนลกู ไก่ต่อปี ในกลุ่มท่ีใชต้ ฟู้ ักมจี าํ นวน 139 ตวั /ปี ซึ่งมคี ่าไม่แตกต่างกบั กลุ่มที่แมไ่ กฟ่ ักเองมีค่าเท่ากบั 85 ตวั /ปี
จงึ สรุปไดว้ ่าการนําตฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิมาใชแ้ ทนแมไ่ ก่ที่ฟักไขเ่ องตามธรรม และมีการควบคุมเกีย่ วกบั ปัจจยั ที่สามารถทาํ ใหเ้ ครื่องฟักไข่
ทาํ งานไดต้ ามปกติ และเต็มประสิทธิภาพจะสามารถเพมิ่ จาํ นวนรอบการใหไ้ ข่ต่อปี และมคี า่ เปอรเ์ ซ็นตก์ ารฟักไข่สงู จึงส่งผลทาํ ใหส้ ามารถ
ผลิตลกู ไก่ไดจ้ าํ นวนเพ่มิ มากข้ นึ ต่อปี
คาํ สาํ คญั : ไกพ่ ้นื เมืองพนั ธปุ์ ระดหู่ างดาํ ; ตฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิ; เปอรเ์ ซ็นตก์ ารฟักไข;่ ไขเ่ ช้อื ตาย; ไขต่ ายโคม
Abstract
The aim of this study was to breed PraduHangdum Thai Native chicken with using incubator for production
improvement. Four heads male chicken and 12 heads female aged 6 months. The experiment was devied to 2 groups each
groups was 2 replications (1 replication; male : female=1 : 3). First group was natural breeding and using incubator for
hatching and second group was natural breeding and hatching. The parent stock was in 2x4 m cage fed with laying commercial
feed, water and mineral for 1 year. The production was compared with T – test. The result showed that the clutch per year of
using incubator for hatching group was higher than natural hatching group were 51.15 and 11.72 clutch/year, respectively
(P<0.05).Moreover, the clutch period of natural hatching group was longer than using incubator for hatching group (7.21
and31.38 day/clutch) (P<0.05). The total eggs per head per year of using incubator for hatching group were higher than natural
hatching group were110.33 and 68.17 eggs/head/year.The percentage of hatching in incubator for hatching group (42.38 %)
was not significantly between natural hatching group (49.90 %). Percentage of destroyed egg, infertile egg and dead in shell
eggs of incubator for hatching group was not significantly between natural hatching group. In addition, the number of chicks/year
of incubator for hatching group was not significantly between natural hatching group (139 and 85 head/year).In conclusion, the
using incubator for hatching have the number of clutch per year and percentage of hatching more than natural hatching that
effected on thehigh number of chickens/year.
Keywords: PraduHangdum Thai Native Chicken; hatching incubator; hatching percentage;Infertile eggs; Dead in shell eggs
[Page : 1807]
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑิตศึกษาครง้ั ท่ี 2
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม 2560
1. บทนาํ 2. วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั
การเล้ ียงไกผ่ กู พนั ธุก์ บั ชีวติ คนไทยมาแต่สมยั โบราณ 2.1 เพ่อื ขยายพนั ธุไ์ กพ่ ้ นื เมอื งประด่หู างดาํ โดยการ
โดยแต่เดิมชาวบา้ นไดเ้ ล้ ียงไกพ่ ้ นื เมืองไวเ้ พือ่ บริโภคเป็ นอาหาร ผสมพนั ธุไ์ กต่ ามวิธีธรรมชาติ
เน้ ือของไกพ่ ้ นื เมอื งมีรสชาติดีและปลอดภยั จากสารเคมีและยา
ปฏิชีวนะเนื่องจากสภาพการเล้ ียงส่วนใหญ่เป็ นการเล้ ียงแบบ 2.2 เพ่ือเปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตไก่
ปล่อยหากินเอง คุย้ เขยี่ อาหารเองตามธรรมชาติ ผเู้ ล้ ียงอาจ พ้ ืนเมอื งประด่หู างดาํ โดยใชต้ ฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิกบั การฟักไข่ตาม
โปรยอาหารจาํ พวก ปลายขา้ ว ขา้ วเปลือกใหเ้ ป็ นคร้งั คราว ธรรมชาติ
นอกจากการเล้ ียงไก่พ้ ืนเมืองไวเ้ พอ่ื บริโภคแลว้ ยงั มเี ล้ ียงไวเ้ พ่ือ
การละเล่นเพื่อความสนุกสนานหรือเป็ นกีฬา ซ่ึงไดแ้ ก่การเล่น 3. สมมติฐานการวิจยั
ชนไกท่ าํ ใหเ้ กดิ ความผกู พนั อยา่ งลึกซ่ึงท่ีคนไทยมีต่อไกพ่ ้ ืนเมอื ง
จนสามารถกล่าวไดว้ า่ การเล้ ียงไก่เป็ นวิถีชวี ติ ของชาวไทยชนบท การนําตฟู้ ักไข่มาใชแ้ ทนแมไ่ ก่ฟักไข่ตามธรรมชาติ
พนั ธุไ์ กพ่ ้ นื เมืองท่ีเกษตรกรนิยมเล้ ียง ไดแ้ ก่ ไกป่ ระด่หู างดาํ สามารถเพม่ิ จาํ นวนการผลิตลกู ไกต่ ่อปี ไดส้ งู ข้ นึ
เหลืองหางขาว แดง และชี [1] ท้งั น้ ีไก่พ้ นื เมอื งมีจุดเด่น คือ
ความสามารถปรบั ตวั ในสภาพชนบทไดด้ ี หากินเกง่ ใชอ้ าหาร 4. ขอบเขตการวิจยั
ตน้ ทุนตาํ่ มคี วามทนทานความเครียดจากความรอ้ น มคี วาม
ตา้ นทานต่อโรคระบาดที่สาํ คญั คอื โรคฝีดาษ อหวิ าต์ และนิว การศึกษาวจิ ยั ในคร้งั น้ ีจะขยายพนั ธุไ์ ก่พ้ นื เมอื งพนั ธุ์
คลาสเซิลประกอบกบั เน้ ือมรี สชาติอร่อย [2] แต่เนื่องจากใน ประด่หู างดาํ โดยการผสมพนั ธุต์ ามวิธีธรรมชาติ อตั ราส่วนพ่อ
ปัจจุบนั ไดม้ กี ารนําสายพนั ธุไ์ ก่ต่างประเทศเขา้ มาผสมขา้ มสาย ไก่ 1 ตวั ต่อแม่ไก่ 3 ตวั และนําตฟู้ ักไข่อตั โนมตั ิมาใชเ้ พอ่ื
พนั ธุก์ บั ไกพ่ ้ นื เมอื งของไทยเพอื่ วตั ถุประสงคใ์ นการผลิตเน้ ือ เปรียบเทียบกบั การฟักไข่ตามธรรมชาติ
และผลิตไข่ นอกจากน้ันรสนิยมในการเล้ ียงไกช่ นของคนไทยได้
เปล่ียนไปนิยมเล้ ียงไกพ่ ม่าซ่ึงมีขนาดเล็ก เกษตรกรไทยมีความ 5. วิธีดาํ เนินการวิจยั
นิยมในการเล้ ียงไก่ชนเพ่อื เกมสก์ ฬี าอยแู่ ลว้ จงึ มกี ารนําไกพ่ มา่
และไกไ่ ซงอ่ นมาผสมกบั ไก่พ้ ืนเมืองไทย เป็ นเหตุใหไ้ ก่พ้ นื 5.1 สตั วท์ ดลอง
เมอื งไทยแทล้ ดจาํ นวนลงเป็ นอยา่ งมาก [2] การศึกษาใชไ้ ก่พ้ นื เมอื งพนั ธุป์ ระด่หู างดาํ เพศผู้
นอกจากน้ันการผลิตไก่พ้ นื เมืองไทยมีขอ้ จาํ กดั ใน จาํ นวน 4 ตวั และเพศเมีย จาํ นวน 12 ตวั อายุประมาณ 6
เร่ืองของปริมาณผลผลิตไข่ตาํ่ เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ไก่ไข่ [3]โดย เดือน โดยแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรู ณ์ แบง่ กลุ่มการทดลอง
ไก่พ้ นื เมืองท่ีเล้ ียงในสภาพชนบททวั่ ใหไ้ ขช่ า้ และมีจาํ นวนไขน่ อ้ ย เป็ น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมี 2 ซ้าํ โดย 1 ซ้าํ ใชไ้ ก่เพศผู้ 1 ตวั ต่อ
เฉลี่ยปี ละ 29.69 ฟอง [4] ส่วนสภาพการเล้ ียงขงั กรงตบั ใน แม่ไก่ 3 ตวั กลุ่มการทดลองแบ่งออกดงั น้ ี กลุ่มที่ 1 การผสม
ระบบฟารม์ ไก่จะใหไ้ ข่เฉลี่ย 78.24 ฟองต่อตวั ต่อปี [5] พนั ธุไ์ กต่ ามธรรมชาติและใชต้ ฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิฟักไข่ กลุ่มท่ี 2
นอกจากน้ันแม่ไก่ตอ้ งเสียเวลาในการกกไข่ และเล้ ียงลกู ไก่จน การผสมพนั ธุไ์ ก่ตามธรรมชาติและใหแ้ มไ่ กฟ่ ักไข่ตามธรรมชาติ
โตกอ่ นท่ีจะกลบั มาวางไขร่ อบใหม่ ซ่ึงแมไ่ กท่ ี่ฟักไข่เองตาม ไก่พอ่ แม่พนั ธุท์ ดลองจะเล้ ียงในคอกขนาด 2 × 4 เมตร และใช้
ธรรมชาติจะมีรอบการใหไ้ ขเ่ ฉล่ีย 8 รอบต่อปี [6] ซึ่งขอ้ จาํ กดั อาหารสาํ เร็จรปู ไก่ไข่เล้ ียงตลอดการทดลอง มนี ้ําและแร่ธาตุ
เหล่าน้ ีส่งผลกระทบโดยตรงต่อจาํ นวนลกู ไกพ่ ้ นื เมืองท่ีผลิตได้ วิตามนิ ละลายน้ําใหก้ นิ ตลอดเวลา ระยะเวลาการทดลอง 1 ปี
ไมเ่ พยี งพอกบั ความตอ้ งการของตลาด ท้งั น้ ีการนําเทคโนโลยี
ต่างๆ เพ่อื นํามาใชเ้ พอ่ื เพิม่ การผลิตไก่พ้ นื เมอื งจึงจะมีประโยชน์ 5.2 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ช่วยใหม้ ปี ริมาณการผลิตไก่พ้ ืนเมอื งเพ่มิ สงู ข้ นึ จะเห็นไดจ้ าก การจดบนั ทึกจาํ นวนไข่เขา้ ฟักท้งั หมด จาํ นวนไข่
การศึกษาของแสงธิฌา และคณะ [6] รายงานว่าการใชต้ ฟู้ ักไข่
อตั โนมตั ิสามารถเพ่มิ จาํ นวนรอบการใหไ้ ข่ต่อปี สงู ข้ ึน (15 รอบ ฟักต่อรอบการไข่ จาํ นวนไข่มีเช้ ือ น้ําหนักไข่ เปอรเ์ ซ็นตก์ ารฟัก
ต่อปี ) ซ่ึงสงู กวา่ การฟักไขต่ ามธรรมชาติ ( 8.4 รอบต่อปี ) แต่ ไข่ เปอรเ์ ซ็นตเ์ ช้ อื ตาย เปอรเ์ ซ็นตก์ ารตายโคม จาํ นวนลกู ไก่
เปอรเ์ ซ็นตก์ ารฟักไขท่ ่ีฟักโดยใชต้ ฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิ ( 56.2) จะตาํ่ แรกเกดิ และน้ําหนักลกู ไก่แรกเกดิ
กว่าการใหแ้ ม่ไก่ฟักไขต่ ามธรรมชาติ ( 77.3) ถึงแมเ้ ปอรเ์ ซ็นต์
การฟักไขจ่ ะตาํ่ กว่าแต่การใชต้ ฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิมจี าํ นวนรอบการ การส่องไขเ่ พอ่ื ดกู ารพฒั นาของตวั อ่อนจะมกี าร
ใหไ้ ขต่ ่อปี สงู กวา่ จึงส่งผลทาํ ใหส้ ามารถเพิม่ จาํ นวนลกู ไกต่ ่อปี ส่องไข่ที่อายุการฟัก 7, 14 และ18 วนั โดยมรี ายละเอียดดงั น้ ี
เพิม่ มากข้ ึนกว่าการใหแ้ ม่ไกฟ่ ักไข่ตามธรรมชาติ ดงั น้ันใน การส่องไขท่ ่ีอายุการฟัก 7 วนั เพื่อตรวจสอบไขม่ ีเช้ ือ
การศึกษาคร้งั น้ ีจะขยายพนั ธุไ์ กพ่ ้ ืนเมืองแทพ้ นั ธุป์ ระด่หู างดาํ ให้ การส่องไขท่ ่ีอายุการฟัก 14 วนั เพอ่ื ตรวจสอบไข่เช้ ือตาย
มจี าํ นวนเพิ่มมากข้ ึนโดยนําตฟู้ ักไข่อตั โนมตั ิมาใชใ้ นการฟักไข่ การส่องไขท่ ่ีอายุการฟัก 18 วนั เพอ่ื ตรวจสอบไขต่ ายโคม
แทนการฟักตามธรรมชาติ
5.3 การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสถิติที่ใช้
[Page : 1808]
การประชุมวชิ าการเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาครง้ั ท่ี 2
มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม 2560
การวิเคราะหข์ อ้ มลู ทางสถิติ นําขอ้ มลู ท่ีไดจ้ าก ระยะหา่ งระหวา่ งรอบการ 7.21±1.00b 31.38±3.39a 0.0138
การจดบนั ทึกไปวิเคราะหห์ าความแตกต่างระหวา่ งกลุ่มการ ไข่ (วนั /รอบ) 6.61±1.94b 17.60±2.51a 0.0391
ทดลองโดยใชส้ ถิติ T-Test จาํ นวนไข่ (ฟอง/รอบ) 331±52.33 204.5±3.54 0.0762
จาํ นวนไขท่ ้งั หมด (ฟอง/ 110.33±17.44 68.17±1.18 0.0762
6. ผลการวิจยั ปี ) 300±59.40 117±15.56 0.1053
จาํ นวนไขท่ ้งั หมดต่อตวั
การนําตฟู้ ักอตั โนมตั ิมาช่วยในการฟักไข่แทนแม่ไก่ (ฟอง/ปี ) 42.38±20.00 45.90±21.19 0.8798
น้ันส่งผลทาํ ใหจ้ าํ นวนรอบของการใหไ้ ขต่ ่อปี ( clutch/year) จาํ นวนไขม่ เี ช้ อื ท้งั หมด 46.49±20.26 51.99±19.00 0.8059
ของกลุ่มท่ีใชต้ ฟู้ ักไข่มีจาํ นวนรอบ 51.15 รอบ/ปี ซึ่งสงู กว่ากลุ่ม (ฟอง) 45.73±0.39 44.47±0.27 0.0642
ที่แม่ไก่ฟักไข่เองตามธรรมชาติมคี ่าเท่ากบั 11.72 รอบ/ปี เปอรเ์ ซ็นตก์ ารฟักไข่ (%) 46.05±0.47 45.07±0.10 0.1009
(P<0.05) แสดงดงั ตารางท่ี 1 โดยจากผลการศึกษาจะเห็นได้ จากไขท่ ้งั หมด 139±86.27
ชดั เจนว่าการใชต้ ฟู้ ักไขจ่ ะมีระยะห่างระหวา่ งรอบการใหไ้ ขส่ ้นั จากไขท่ ี่มีเช้ อื 85±39.60 0.5055
กว่ากลุ่มที่แมไ่ ก่ฟักไข่เองตามธรรมชาติ ( 7.21 และ 31.38 น้ําหนักไข่ (กรมั /ฟอง)
วนั /รอบ) (P<0.05) ท้งั น้ ีการเก็บไข่เขา้ ตฟู้ ักส่งผลใหแ้ มไ่ กใ่ ห้ น้ําหนักลกู ไกแ่ รกเกิด
ไข่ต่อรอบมจี าํ นวนเท่ากบั 6.61 ฟอง/รอบ ซึ่งมีจาํ นวนนอ้ ย (กรมั /ตวั )
กวา่ กลุ่มที่แม่ไกฟ่ ักไขเ่ องตามธรรมชาติมคี ่าเท่ากบั 17.60 จาํ นวนลกู ไก่ (ตวั /ปี )
ฟอง/รอบ (P<0.05) ส่วนจาํ นวนไขท่ ้งั หมดต่อปี และจาํ นวนไข่
ท้งั หมดต่อตวั ต่อปี จะพบวา่ กลุ่มที่ใชต้ ฟู้ ักไข่มจี าํ นวนสงู กว่า a, bตวั อกั ษรที่แตกต่างกนั ในแนวนอนมีความแตกต่างกนั อยา่ งมี
กลุ่มแม่ไกฟ่ ักเองแต่ไม่มคี วามแตกต่างกนั ทางสถิติ เปอรเ์ ซ็นต์ นัยสาํ คญั ทางสถิติ (P<0.05)
การฟักไขจ่ ากไขท่ ้งั หมด และไข่ท่ีมเี ช้ ือ พบว่าท้งั สองกลุ่มการ
ทดลองไม่มคี วามแตกต่างกนั ทางสถิติ ตารางท่ี 2 เปอรเ์ ซ็นตก์ ารสญู เสียจากการฟักไขด่ ว้ ยตฟู้ ักและ
น้ําหนักไขข่ องท้งั สองกลุ่มการทดลองไมม่ ีความ แมฟ่ ักไขเ่ องตามธรรมชาติ
แตกต่างกนั ทางสถิติ มีคา่ เฉลี่ยเท่ากบั 44-45 กรมั /ฟอง ส่วน ตฟู้ ักไข่อตั โนมตั ิ แม่ไกฟ่ ักเองตาม P-Value
น้ําหนักลกู ไก่ไม่มคี วามแตกต่างกนั ทางสถิติเชน่ เดียวกนั โดยมี สาเหตุการสญู เสีย ธรรมชาติ
คา่ เฉล่ีย 45-46 กรมั /ตวั จาํ นวนลกู ไกต่ ่อปี พบว่าท้งั สองกลุ่ม
การทดลองไม่มีความแตกต่างกนั ทางสถิติ เปอรเ์ ซ็นตไ์ ข่ไม่มเี ช้ อื 8.57±3.28 4.88±1.30 0.2771
เปอรเ์ ซ็นตก์ ารสญู เสียจากการฟักไข่จากการศึกษา เปอรเ์ ซ็นตแ์ ม่เหยยี บไข่ 1.09±0.39 8.49±7.810.3124
คร้งั น้ ี พบว่ามสี าเหตุมาจาก เปอรเ์ ซ็นตไ์ ขไ่ มม่ เี ช้ อื เปอรเ์ ซ็นต์ แตก 23.73±11.66 20.72±7.59 0.7882
แม่ไกเ่ หยียบไข่แตก เปอรเ์ ซ็นตไ์ ข่เช้ ือตาย และเปอรเ์ ซ็นตไ์ ข่ เปอรเ์ ซ็นตไ์ ข่เช้ ือตาย 24.24±4.69 20.01±4.49 0.4544
ตามโคม ซึ่งท้งั สองกลุ่มการทดลองมีเปอรเ์ ซ็นตก์ ารสญู เสียไมม่ ี เปอรเ์ ซ็นตไ์ ขต่ ายโคม
ความแตกต่างกนั ทางสถิติ ท้งั น้ ีสาเหตุการสญู เสียจะเกิดจาก
เปอรเ์ ซ็นตไ์ ข่เช้ อื ตาย และไข่ตายโคมจะมีค่าสงู แสดงดงั ตาราง 7. อภปิ รายผลและสรุปผล
ที่ 1
การนําตฟู้ ักอตั โนมตั ิมาช่วยในการฟักไขแ่ ทนแมไ่ ก่
น้ันส่งผลทาํ ใหจ้ าํ นวนรอบของการใหไ้ ขต่ ่อปี ( clutch/year)
ของกลุ่มที่ใชต้ ฟู้ ักไขม่ ีจาํ นวนรอบ ( 51.15 รอบ/ปี ) สงู กวา่
กลุ่มท่ีแม่ไก่ฟักไขเ่ องตามธรรมชาติ ( 11.72 รอบ/ปี )
(P<0.05) ท้งั น้ ีเน่ืองมาจากระยะห่างระหวา่ งรอบการใหไ้ ข่ของ
กลุ่มท่ีใชต้ ฟู้ ักไข่มีระยะส้นั กว่ากลุ่มที่แม่ไกฟ่ ักไขเ่ อง (7.21 และ
31.38 วนั /รอบ) (P<0.05) การท่ีระยะการใหไ้ ข่ส้นั ในกลุ่มท่ี
ฟักไขด่ ว้ ยตมู้ ีผลทาํ ใหจ้ าํ นวนไขต่ ่อรอบนอ้ ย ( 6.61 ฟอง/รอบ)
ซ่ึงแสดงดงั ตารางท่ี 1 แต่ท้งั น้ ีจาํ นวนรอบของการไข่มคี า่ สงู กวา่
จึงส่งผลทาํ ใหม้ ีจาํ นวนไขท่ ้งั หมดต่อปี เพ่มิ มากข้ ึน ซ่ึงใหผ้ ล
สอดคลอ้ งกบั การการทดลองของแสงฌิชา และคณะ [6]
รายงานว่าการใชต้ ฟู้ ักจะชว่ ยทาํ ใหไ้ ดจ้ าํ นวนรอบ (ชุด) การไข่
ต่อแมต่ ่อปี มากกว่าการใหแ้ ม่ฟักเกือบ 2 เท่า (15.0 และ 8.4
ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพการผลติ จาการใชต้ ฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิ ชุด/ปี ) ท้งั น้ ีจะเห็นไดว้ ่าการใหแ้ มฟ่ ักไข่เองจนลกู ไกฟ่ ักออก แม่
เปรยี บเทียบกบั การใหแ้ มไ่ กฟ่ ักไขเ่ องตามธรรมชาติ
ไก่จะตอ้ งใชเ้ วลาในการฟ้ ืนตวั ใหม้ คี วามสมบรู ณข์ องร่างกาย
วิธีการฟัก ตฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิ แม่ไกฟ่ ักเองตามP-Value กอ่ นท่ีจะกลบั มาวางไขใ่ หม่อกี คร้งั ซึ่งระยะเวลาต้งั แต่ฟักไข่
ธรรมชาติ
จาํ นวนแม่ไก่ (ตวั ) 6 6- จนถึงการออกไขร่ อบต่อไปใชเ้ วลาเฉลี่ย 44 วนั [6] โดยเป็ นผล
จาํ นวนรอบการไข่ 51.15±7.08a 11.72±1.47b 0.0164 มาจากฮอรโ์ มนโปรแลคติน ( prolactin) ที่หลงั่ มาจากต่อมใต้
(รอบ/ปี ) สมองส่วนหนา้ ที่เพ่มิ ระดบั สงู ข้ นึ ในขณะท่ีแมไ่ ก่ฟักไข่ เป็ น
[Page : 1809]
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษาคร้งั ที่ 2
มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม 2560
สาเหตุใหแ้ ม่ไก่หยุดไข่ รงั ไข่ฝ่อลง [7] และจากการรายงานของ การใชต้ ฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิจะสามารถใหป้ ระสิทธิภาพท่ี
ยุพาพร และคณะ [8] พบวา่ การฟักไขข่ องแมไ่ กใ่ ชเ้ วลาเฉล่ีย ดีตอ้ งมีการหมนั่ ตรวจเช็คระบบต่างๆ เชน่ ระบบควบคุม
21 วนั และเล้ ียงลกู ต่อไปอกี 8-12 สปั ดาห์ แม่ไก่จึงจะกลบั มา อุณหภมู ิ ความช้ นื และการกลบั ไข่ ใหอ้ ย่ใู นคา่ ที่เหมาะสม
ออกไขร่ อบใหม่อีกคร้งั ซึ่งขอ้ จาํ กดั ของระยะเวลาในการออกไข่ นอกจากน้ันตอ้ งค่อยตรวจเช็คพดั ลมกระจายความรอ้ นภายในตู้
ของแม่ไกท่ ี่ฟักไข่เอง ส่งผลถึงปริมาณลกู ไก่ที่ผลิตไดต้ ่อปี น้ันมี ฟักใหส้ ะอาดจึงจะทาํ ใหม้ ีการกระจายความรอ้ นไดท้ วั่ ถึงท้งั ตฟู้ ัก
ปริมาณนอ้ ย ท้งั น้ ีจากการทดลองจะเห็นไดว้ ่ามีระยะห่าง
ระหว่างรอบการใหไ้ ข่ของกลุ่มแมไ่ กฟ่ ักเองส้นั กว่างานทดลอง 9. กิตตกิ รรมประกาศ
ของแสงฌิชา และคณะ [6] ที่เคยรายงานมาแลว้ น้ัน
เน่ืองมาจากเมอ่ื ลกู ไก่ฟักออกแลว้ ไมไ่ ดม้ ีการใหแ้ มไ่ กเ่ ล้ ียงลกู งานวจิ ยั ฉบบั น้ ีสาํ เร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดีตอ้ งขอขอบคุณ
แต่ทาํ การคดั แยกออกมาเล้ ียง จึงน่าจะส่งผลทาํ ใหร้ ะดบั โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ
ฮอรโ์ มนโปรแลคตินลดลง และกลบั มาไข่รอบใหมเ่ ร็วข้ นึ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ท่ีไดใ้ หก้ าร
นอกจากน้ันสุชน และคณะ [9] ไดร้ ายงานวา่ ไกพ่ ้ ืนเมืองท่ีเล้ ียง สนับสนุนทุนวิจยั และสาขาวชิ าสตั วศาสตร์ คณะ
ภายใตส้ ภาพชนบทใหผ้ ลผลิตไข่เพม่ิ ข้ นึ โดยใชว้ ธิ ีการแยกลกู ไก่ เทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี ท่ีเอ้ อื เฟ้ ื อ
ออกจากแม่ต้งั แต่แรกเกดิ อุปกรณ์ และสถานที่ในการศึกษาทดลองวจิ ยั
สาํ หรบั น้ําหนักไข่ และน้ําหนักลกู ไก่แรกเกดิ พบว่า 10. เอกสารอา้ งอิง
ท้งั สองกลุ่มการทดลองมีค่าเฉลี่ยไมแ่ ตกต่างกนั ทางสถิติ
(P>0.05) ซึ่งมีค่าเท่ากบั 45.73, 44.47 กรมั /ฟอง และ [1] อุดมศรี อนิ ทรโชติ, อาํ นวย เล้ ียวธารากุล, ธีระชยั ช่อไม,้
46.05, 45.07 กรมั /ตวั ตามลาํ ดบั ซ่ึงจากการทดลองน้ ีจาํ นวน ทวศี ิลป์ จีนดว้ ย และชศู กั ด์ิ ประภาสวสั ด์ิ. (2553). ไก่
ไขต่ ่อรอบการใหไ้ ข่มคี า่ เฉล่ียตาํ่ กวา่ การรายงานของ เกรียงไกร พ้ ืนเมืองไทย. กองบาํ รุงพนั ธุส์ ตั ว์ กรมปศุสตั ว์ กระทรวง
[10] ท่ีรายงานวา่ สตั วป์ ี กจาํ พวกไก่จะออกไขเ่ ป็ นชุดโดยในแต่ เกษตรและสหกรณ,์ กรุงเทพฯ.
ละชุดแมไ่ ก่จะออกไข่ 8-13 ฟอง ท้งั น้ ีเน่ืองจากระยะการใหไ้ ข่
ของกลุ่มที่เก็บไข่เขา้ ตฟู้ ักมีระยะส้นั จึงส่งผลใหแ้ ม่ไกไ่ ขน่ อ้ ยแต่ [2] บญั ญตั ิ เหล่าไพบลู ย์ และมนตช์ ยั ดวงจินดา. (2555).
จะมคี วามถ่ีของรอบการไข่มากข้ นึ ส่วนเปอรเ์ ซ็นตก์ ารฟักไข่จาก ไกพ่ ้ นื เมอื งไทย: อดีต ปัจจุบนั และอนาคต. วารสารแก่น
ไขท่ ้งั หมดพบว่ากลุ่มท่ีใชต้ ฟู้ ักไขม่ ีค่าไมแ่ ตกต่างกบั กลุ่มที่แมฟ่ ัก เกษตร. 40 : 309-312.
ไขเ่ องตามธรรมชาติ เนื่องมาจากการนําไขเ่ ขา้ ฟักในตฟู้ ักไข่จะมี
การควบคุณอุณหภมู ิ ความช้ นื และการกลบั ไข่อย่างเหมาะสม [3] สุมน โพธ์ิจนั ทร,์ นพวรรณ ชมชยั และประเสริฐ โพธ์ิ
และสมาํ่ เสมอ ส่วนการฟักไขด่ ว้ ยแมไ่ กต่ ามธรรมชาติจะเห็นได้ จนั ทร.์ (2536). การใชใ้ บมนั สาํ ปะหลงั ในสตู รอาหารมนั
จากการทดลองน้ ีแมไ่ ก่จะมพี ฤติกรรมการฟักไขอ่ ยา่ งไม่ เสน้ สาํ หรบั เล้ ียงไกพ่ ้ นื เมือง. วารสารสาสน์ ไก.่
สมาํ่ เสมอ หรือมีการไปฟักไข่ในรงั ไข่เดียวกนั แลว้ ปล่อยไข่ 41: 50-51.
บางส่วนเน่าเสียหาย จึงส่งผลใหม้ เี ปอรเ์ ซ็นตก์ ารฟักไข่ลดลง
จากสาเหตุไขเ่ ช้ อื ตาย และไข่ตายโคม นอกจากน้ันยงั มี [4] วมิ ลพร ธิติศกั ด์ิ, อรวรรณ เจนวิริยะโสภาคย,์ มาลี เมฆา
พฤติกรรมการจกิ หรือเหยยี บไข่แตกจงึ ส่งผลทาํ ใหม้ เี ปอรเ์ ซ็นต์ ประทีป, ลกั ษณาภรณ์ เทพไกรวลั , เกษม จงเสถียร และ
การสญู เสียเนื่องจากไข่แตกสงู กว่าการนําไขเ่ ขา้ ตฟู้ ักไข่ (แสดง สมใจ ศรีหาคิม. (2531). การเปล่ียนแปลงของประชากร
ดงั ตารางท่ี 2) ไกพ่ ้ ืนเมอื ง.การประชุมสมั มนาทางวิชาการเกษตรไก่
พ้ ืนเมืองคร้งั ท่ี 2. ณ หอประชุมสาํ นักงานการเกษตร
สรุปผล ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ท่าพระ ขอนแกน่ .
การใชต้ ฟู้ ักไขอ่ ตั โนมตั ิสามารถเพิม่ จาํ นวนรอบ
[5] ศิริพนั ธ์ โมราถบ, อาํ นวย เล้ ียวธารากุล และสวสั ด์ิ
การใหไ้ ข่สงู ข้ ึน ส่งผลใหม้ ีจาํ นวนไขเ่ ขา้ ฟัก และจาํ นวนลกู ไก่ต่อ ธรรมบตุ ร. (2539). การผสมพนั ธุแ์ ละคดั เลือกพนั ธุไ์ ก่
ปี เพม่ิ มากข้ นึ มากกว่าการใชแ้ ม่ฟักไขต่ ามธรรมชาติ เน้ ือพ้ ืนเมือง สถานีบาํ รุงพนั ธุส์ ตั วม์ หาสารคาม 1. อายุ
นอกจากน้ันการใหแ้ ม่ไกฟ่ ักไข่เองตามธรรมชาติจะมเี ปอรเ์ ซ็นต์ และน้ําหนักเมอ่ื ใหไ้ ข่ฟองแรก. ประมวลเร่ืองการประชุม
การสญู เสียเนื่องจากไขแ่ ตกมากกว่ามีผลทาํ ใหจ้ าํ นวนลกู ไก่ท่ี วิชาการปศสุ ตั วค์ ร้งั ท่ี 15. ประจาํ ปี 2539 กรมปศุสตั ว์
ผลิตไดต้ ่อปี นอ้ ยลง และท้งั น้ ีการผสมพนั ธุแ์ มไ่ กต่ ามธรรมชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ หนา้ 178-192.
โดยใชอ้ ตั ราส่วนพ่อพนั ธุ์ 1 ตวั ต่อแมพ่ นั ธุ์ 3 ตวั มคี วาม
เหมาะสมส่งผลทาํ ใหไ้ ข่มเี ช้ ือมเี ปอรเ์ ซ็นตส์ งู [6] แสงธิฌา แสงดาวเรือง, สุชน ต้งั ทววี ิพฒั น์, บุญลอ้ ม ชีวะ
8. ขอ้ เสนอแนะ
[Page : 1810]
การประชุมวชิ าการเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บณั ฑิตศึกษาครง้ั ท่ี 2
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม 2560
อสิ ระกุล, เบญจวรรณศิริศรีสวสั ด์ิ, สมควร ปัญญาวรี ์ และ
ผ่านฟ้ า ณ เชยี งใหม.่ (2548). ใน เรื่องเต็มการประชุม
ทางวิชาการของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ คร้งั ท่ี 43:
สาขาสตั ว์ สาขาอตุ สาหกรรมเกษตร. กรุงเทพฯ,
หนา้ 314-322.
[7] El halawani ME, Fehrer SC, Hargis BM, and Porter TE.
(1988). Incubation behavior in the domestic turkey:
Physiological correlates. CRC Crit Rev Poult Biol. 1:
285-314.
[8] ยุพาพร ไชยสีหา, ปิ ยดา เงนิ สงู เนิน, นัตติยา ประกอบ
แสง, อรออนงค์ ไชยเชษฐ, ดวงสุดา โชคเฉลิมวงศ,์ ณฐั
กานต์ ศาสตรส์ งู เนิน และเฉลิมชยั หอมตา. (2553). ผล
ของพฤติกรรมความเป็ นแม่ที่มตี ่อระดบั ของฮอรโ์ มนโปร
แลคตินในไก่พ้ นื เมืองไทยเพศเมยี . รายงานการวิจยั
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี.
[9] สุชน ต้งั ทววี ิพฒั น์, แสงฌิชา แสงดาวเรือง, บุญลอ้ ม ชีวะ
อิสระกุล และเบญจวรรณศิริศรีสวสั ด์ิ. (2548). การเพม่ิ
ผลผลิตไกพ่ ้ นื เมือง 1. เปรียบเทียบการเล้ ียงและใหอ้ าหาร
2 แบบใน 2 พ้ นื ที่. รายงานการประชุมทางวิชาการ
ครง้ั ท่ี 43, สาขาสตั วศาสตร,์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
, หนา้ 302-313.
[10] เกรียงไกรโชประการ. (2553). ไกพ่ ้ นื เมืองไทย. ใน
โอกาสและทางเลือกของเกษตรกรบนเสน้ ทางสายโซ่
อุปทานเร่ืองเล่าจากประสบการณง์ านวจิ ยั และการจดั การ
งานวิจยั . ฝ่ายเกษตรสาํ นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั ,
กรุงเทพฯ.
[Page : 1811]