The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nateekan.muna, 2021-03-29 01:08:09

PowerPoint Presentation

การให้นมแม่ในสถานการณ์ระบาดของโรค COVID-19 ระลอก 2




ความแตกต่างในการดูแลผู้ป่วยแม่ลูกอ่อนที่ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า

แนวคิดและการด าเนินงานแตกต่างจากผู้ป่วยติดเชื้ออื่นๆ

การดูแล “แม่-ลูกที่ติดเชื้อ” ต้องท าให้เกิดมาตรฐานควบคุมโรค

ที่เหมาะสม ในขณะเดียวกันต้องไม่รบกวนความต้องการพื้นฐานด้านสุขภาพ

เช่น การให้นมแม่ เป็นต้น ซึ่งหน่วยงานทารกแรกเกิด (Newborn) และ
COSE การพยาบาลนมแม่ในเด็กป่วย ร่วมกันจัดโครงสร้างบริการ โดยใช้

ระบบ TELE-Monitoring ในการส่งเสริมให้ทารกที่ติดเชื้อยังคงได้รับ


“นมแม”อย่างเหมาะสม






นมแม่เป็นการลงทุนที่ low cost ดาวน์โหลด


แต่คุณภาพ high cost, high impact รายละเอียดการด าเนินงาน
และผลการด าเนินงาน
สามารถให้บริการโดยเน้น 2P safety

การดูแลผู้ป่วยผ่าตัดอย่างปลอดภัยในช่วง COVID-19 ระลอก 2







Before แนวทางการจัดการให้ผู้ป่วยที่จ าเป็นต้องได้รับการผ่าตัดในช่วง COVID-19 ระลอก 2 แต่ละโรงพยาบาล

มีแนวทางการจัดการที่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับทรัพยากรและความพร้อม ซึ่งสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี

มีข้อจ ากัดในเรื่องสถานที่และโครงสร้าง จึงใช้แนวทางการด าเนินงาน ดังนี้
After 1. Primary Screening Ward


เนื่องจากโครงสร้างของสถาบันฯ เป็นตึกสูง และมีผู้ป่วยหลากหลายอยู่ในตึกเดียวกัน เมื่อมีผู้ป่วย Unknown

เข้ามาในโรงพยาบาลและแยกตาม ward จะมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ และมีความสิ้นเปลืองในแง่การใช้ทรัพยากรบุคคล


และอุปกรณ PPE ในการตรวจ Swab ทางสถาบันฯ จงด าเนินการจดท า Primary Swab Ward เพื่อรวบรวม

ผู้ป่วย Unknown ที่ต้องเข้ารับการผ่าตัดให้ไปอยู่ที่ ward เดียวกัน และท าการ swab เป็นรอบๆ ท าให้สามารถ
ควบคุมการติดเชื้อ และควบคุมการใช้ทรัพยากร PPE ได้ดียิ่งขึ้น







ผ่าตัดเด็กปลอดภัย


ด้วย 2P safety


ดาวน์โหลด

รายละเอียดการด าเนินงานและผลการด าเนินงาน

การดูแลผู้ป่วยผ่าตัดอย่างปลอดภัยในช่วง COVID-19 ระลอก 2







2. Modified Negative Pressure Operating Room with Negative Chamber


เนื่องจากโครงสร้างห้องผ่าตัดของสถาบันฯ ไม่มีห้อง OR ที่สามารถสร้าง Negative Pressure Room ได้


จงท าการปรึกษา ผศ.ดร.ชลธิศ เอี่ยมวราวุฒิกุล จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม และได้แนวทาง
การแก้ปัญหาในการท า เต้นท์ห้องผ่าตัดความดันลบ ขึ้นมา

ซึ่งตอบโจทย์ในการให้บริการได้เป็นอย่างดี







New normal

ดาวน์โหลด
ของการผ่าตัดในยุคCOVID รายละเอียดการด าเนินงานและผลการด าเนินงาน


Click to View FlipBook Version