The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orasakangtaworn24, 2021-12-15 02:36:34

ข้อตกลงในการปฏิบัติงาน PA

ประจำปีงบประมาณ 2564

PA1/ส

แบบขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สาหรบั ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการ
โรงเรยี นวดั ไผค่ ่อม(แพร-ประชาอุปถัมภ์) สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 1

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา่ งวันท่ี 1 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2565

ผู้จดั ทาขอ้ ตกลง

ช่อื นางอรสา นามสกุล กางทะวร ตาแหน่งครู วิทยฐานะครชู านาญการ

สถานศึกษา โรงเรยี นวดั ไผค่ ่อม(แพร-ประชาอุปถัมภ์)

สังกดั สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 1

รับเงนิ เดือนในอนั ดับ คศ. 2 อัตราเงินเดอื น 35,270 บาท

ประเภทห้องเรียนท่ีจัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการ

จดั การเรยี นรจู้ รงิ )

 หอ้ งเรยี นวิชาสามัญหรอื วิชาพน้ื ฐาน

 ห้องเรยี นปฐมวัย

 ห้องเรียนการศึกษาพเิ ศษ

 หอ้ งเรยี นสายวิชาชีพ

 ห้องเรยี นการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศัย

ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจานงในการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญ
การ ซงึ่ เปน็ ตาแหน่งท่ีดารงอย่ใู นปจั จบุ ันกบั ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ไวด้ ังตอ่ ไปนี้

สว่ นที่ 1 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหน่ง

ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

1. ภาระงาน จะมภี าระงานเป็นไปตามท่ีก.ค.ศ. กาหนด

1.1 ชว่ั โมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 25 ชว่ั โมง/สปั ดาหด์ ังนี้

วชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท 13101 จานวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์

วชิ าคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค 13101 จานวน 5 ชว่ั โมง/สัปดาห์

วิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 13101 จานวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์

วชิ าภาษาอังกฤษ รหัสวิชา อ 13101 จานวน 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

วิชาสังคมศกึ ษา รหัสวิชา ส 13101 จานวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์

วชิ าประวัตศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส 13102 จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

วชิ าสขุ ศกึ ษาฯ รหัสวิชา พ 13101 จานวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์

วชิ าศิลปะ รหสั วชิ า ศ 13101 จานวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

วชิ าการงานอาชพี ฯ รหสั วิชา ง 13101 จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

วิชาภาษาองั กฤษ (เพ่ิมเตมิ ) รหสั วิชา อ 13102 จานวน 2 ช่วั โมง/สัปดาห์

วชิ าแนะแนว รหัสวิชา - จานวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

วิชาลกู เสือ รหสั วชิ า - จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

1.2 งานส่งเสริมและสนับสนนุ การจัดการเรยี นรู้ จานวน 2 ช่วั โมง/สปั ดาห์

- การมีส่วนร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี จานวน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

1.3 งานพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา จานวน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

- งานฝ่ายวชิ าการ จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

- ปฏิบัติหนา้ ทค่ี รปู ระจาชัน้ /ครทู ่ปี รึกษา จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จานวน 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์

- กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้ จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

1.1 ช่วั โมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 25 ชั่วโมง/สัปดาหด์ งั นี้

วชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท 13101 จานวน 5 ชว่ั โมง/สัปดาห์

วิชาคณติ ศาสตร์ รหัสวิชา ค 13101 จานวน 5 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

วิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว 13101 จานวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

วิชาภาษาอังกฤษ รหัสวชิ า อ 13101 จานวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์

วชิ าสงั คมศกึ ษา รหัสวิชา ส 13101 จานวน 2 ช่วั โมง/สปั ดาห์

วิชาประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส 13102 จานวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์

วิชาสุขศึกษาฯ รหัสวิชา พ 13101 จานวน 1 ช่วั โมง/สัปดาห์

วชิ าศิลปะ รหสั วชิ า ศ 13101 จานวน 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์

วชิ าการงานอาชพี ฯ รหัสวิชา ง 13101 จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

วชิ าภาษาอังกฤษ (เพ่ิมเติม) รหสั วิชา อ 13102 จานวน 2 ช่วั โมง/สัปดาห์

วิชาแนะแนว รหสั วชิ า - จานวน 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

วิชาลกู เสือ รหัสวชิ า - จานวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์

1.2 งานสง่ เสริมและสนับสนุนการจดั การเรียนรู้ จานวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์

- การมสี ว่ นร่วมชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ จานวน 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์

1.3 งานพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา จานวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์

- งานฝ่ายวิชาการ จานวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

- ปฏบิ ัติหนา้ ทคี่ รปู ระจาชน้ั /ครทู ป่ี รกึ ษา จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จานวน 1 ช่วั โมง/สัปดาห์

- กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ จานวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู(ให้ระบุรายละเอียดของงานท่ีจะปฏิบัติในแต่ละ
ดา้ นว่าจะดาเนินการอย่างไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาที่ใชใ้ นการดาเนินการดว้ ยก็ได้)

ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ชีว้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ทจ่ี ะดาเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ทจี่ ะเกิดขนึ้ กับผเู้ รยี น
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวังใหเ้ กิดขึ้น ท่แี สดงใหเ้ ห็นถึงการ
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ เปลีย่ นแปลงไปในทาง
ลกั ษณะงานท่ีเสนอให้ การประเมิน กบั ผเู้ รยี น ท่ีดขี น้ึ หรือมกี ารพฒั นา
ครอบคลุมถงึ การสร้างและ (โปรดระบ)ุ (โปรดระบุ) มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ
หรอื พฒั นาหลักสูตร การ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1.1 สร้างและหรอื พฒั นาหลกั สตู ร ผูเ้ รียนไดพ้ ัฒนา สงู ข้นึ (โปรดระบ)ุ
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ พัฒนาหลักสูตรรายวชิ าพ้ืนฐาน สมรรถนะและการเรยี นรู้ 1. ผู้เรียนร้อยละ 80 มี
การสรา้ งและหรือพัฒนาสื่อ คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ เต็มตามศกั ยภาพ ผลการประเมนิ
นวัตกรรม เทคโนโลยี และ คณิตศาสตร์ ใหส้ อดคล้องกับบรบิ ท ผลสมั ฤทธท์ิ างการ
แหล่งเรียนรู้ การวดั และ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั เรียนผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้ ไผ่ค่อม (แพร-ประชาอุปถัมภ)์ ประเมินของ
การศกึ ษา วิเคราะห์ สถานศกึ ษา
สังเคราะห์ เพ่อื แกป้ ัญหาหรือ 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผเู้ รยี นมีความรู้ ทกั ษะ
พัฒนาการเรยี นรู้ การจัด ออกแบบการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ คุณลักษณะประจาวชิ า 1. ผเู้ รยี นร้อยละ 80 มี
บรรยากาศที่ส่งเสริมและ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ หรือหน่วยการ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ผลการประเมิน
พัฒนาผูเ้ รียน และการอบรม เรยี นรู้ Active Learning เร่ือง ประสงค์ และสมรรถนะ ผลสัมฤทธท์ิ างการ
และพฒั นาคณุ ลักษณะทีด่ ี การบวก ลบ คูณ หารระคน ทสี่ าคัญ ตามหลักสตู ร เรยี นผา่ นเกณฑ์การ
ของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รายวิชา ประเมินของ
คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สถานศึกษา
คณิตศาสตร์ 2.ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80 มี
ผลการประเมินทกั ษะ/
สมรรถนะท่สี าคัญผา่ น
เกณฑป์ ระเมนิ ระดบั ดี
ข้นึ ไป
3.ผเู้ รยี นร้อยละ 80 มี
ผลการประเมิน
คณุ ลกั ษณะอันพึง
ประสงค์ผ่านเกณฑ์การ
ประเมินระดับดีขึ้นไป

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชีว้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ทจ่ี ะดาเนินการพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกิดข้ึนกบั ผเู้ รียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่คี าดหวังใหเ้ กิดข้นึ ทีแ่ สดงให้เหน็ ถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทาง
การประเมนิ กับผ้เู รยี น ทีด่ ขี นึ้ หรอื มกี ารพัฒนา
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบุ) มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

1.3 จดั กิจกรรมการเรียนรู้ ผเู้ รยี นมกี ระบวนการคดิ สงู ขึ้น(โปรดระบ)ุ
พฒั นานวตั กรรม การจดั การเรยี นรู้ และคน้ พบองคค์ วามรู้ 1. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 80
เช่น การพัฒนาชดุ ฝกึ ทักษะการแก้ ดว้ ยตนเอง และสร้าง มีผลการประเมินทักษะ
โจทยค์ ณิตศาสตร์ เร่ือง การบวก แรงบนั ดาลใจ การคิดผา่ นเกณฑ์การ
ลบ คณู หารระคน ของผู้เรยี น ประเมนิ ระดบั ดีขนึ้ ไป
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 สรา้ งแรง 2. ผู้เรียนรอ้ ยละ 80
บันดาลใจ และเป็นแบบอยา่ งทีดใี น มผี ลการประเมิน
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ
ผ่านเกณฑร์ ะดับดี
1.4 สรา้ งและหรือพัฒนาส่ือ ผู้เรยี นมีทักษะการคิด 3.ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80
มีผลการประเมิน
นวัตกรรม เทคโนโลยแี ละแหลง่ และสามารถสร้าง คุณลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค์ผ่านเกณฑ์การ
เรยี นรู้ นวตั กรรมได้ ประเมนิ ระดบั ดี
1.ผูเ้ รยี นร้อยละ 80
พฒั นาสอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยแี ละ มผี ลการประเมินทกั ษะ
การคิดผ่านเกณฑ์การ
แหลง่ เรียนร้สู อดคล้องกับกจิ กรรม ประเมนิ ระดบั ดีข้นึ ไป
2.ผู้เรียนทุกคน
การเรยี นรู้สามารถ เช่น การพฒั นา สามารถสรา้ ง
นวัตกรรมได้คนละ
สอ่ื การสอนออนไลน์ หรือ การบวก 1 ช้ิน

ลบ คณู หารระคน ส่อื การสอน 1. ผู้เรยี นร้อยละ 80
มผี ลการประเมินด้าน
แก้ไขปัญหาในการเรียนรขู้ องผเู้ รียน ผลสัมฤทธ์ทิ างการ
เรียนผ่านเกณฑ์การ
และทาให้ผเู้ รยี นมีทกั ษะการคิดและ ประเมินของ
สถานศกึ ษา
สามารถสร้างนวัตกรรมได้ 2. ผู้เรยี นร้อยละ 80
มีผลการประเมิน
1.5 วดั และประเมินผลการเรียนรู้ ผเู้ รียนพัฒนาการเรียนรู้

พฒั นารปู แบบการวัดและประเมินผล อย่างต่อเน่อื ง

การเรียนรูต้ ามสภาพจริง ดว้ ยวธิ กี าร

ท่ีหลากหลาย เช่น การทดสอบ การ

ประเมินทักษะ การประเมนิ ตาม

สภาพจรงิ ฯลฯ ท่เี หมาะสมและ

สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้

และนาผลการวดั และประเมนิ ผลการ

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวช้วี ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหนง่
ที่จะดาเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดขึ้นกบั ผ้เู รียน

ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทคี่ าดหวังให้เกิดขึน้ ที่แสดงให้เห็นถึงการ

การประเมนิ กบั ผูเ้ รยี น เปลยี่ นแปลงไปในทาง

(โปรดระบ)ุ (โปรดระบุ) ที่ดขี น้ึ หรือมกี ารพัฒนา

มากขึน้ หรือผลสัมฤทธ์ิ

สูงขนึ้ (โปรดระบุ)

เรยี นรู้ มาใชแ้ กป้ ญั หาการจดั การ ทักษะ/สมรรถนะที่

เรียนรู้ สาคัญผ่านเกณฑ์

ประเมนิ ตัง้ แตร่ ะดับดี

ขึน้ ไป

3.ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80

มผี ลการประเมิน

คุณลกั ษณะอนั พึง

ประสงคผ์ ่านเกณฑ์

ระดบั ดขี นึ้ ไป

1.6 ศึกษา วเิ คราะห์ และ ผเู้ รียนไดพ้ ัฒนา 1. ผูเ้ รียนรอ้ ยละ 80

สังเคราะห์ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ สมรรถนะและการเรยี นรู้ มผี ลการประเมินดา้ น

พัฒนาการเรียนรู้ เตม็ ศกั ยภาพ สมั ฤทธิท์ างการเรียน

ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ

นวตั กรรมหรอื วธิ กี ารสอน เพื่อนามา ของสถานศึกษา

แกไ้ ขปัญหาและพฒั นาการเรียนร้ทู ี่ 2. ผู้เรียนรอ้ ยละ 80

สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพผู้เรียนให้สูงขนึ้ มีผลการประเมิน

ทักษะ/สมรถนะท่ี

สาคัญผ่านเกณฑ์ระดบั

ดีขน้ึ ไป

1.7 จัดบรรยากาศท่ีส่งเสริมและ ผูเ้ รียนมกี ระบวนการคิด 1. ผู้เรียนร้อยละ 80

พัฒนาผู้เรยี น ทักษะชีวิต ทักษะการ มีผลการประเมิน

พัฒนาการจัดบรรยากาศท่เี หมาะสม ทางาน ทกั ษะการเรยี นรู้ กระบวนการคิดผา่ น

สอดคลอ้ งกับความแตกต่างผู้เรยี น และนวตั กรรม ทักษะ เกณฑ์การประเมิน

เป็นรายบุคคล สามารถแก้ไขปญั หา ดา้ นสารสนเทศ สอื่ และ ระดบั ดขี น้ึ ไป

การเรยี นรู้ และสร้างแรงบันดาลใจ เทคโนโลยี 2. ผ้เู รียนรอ้ ยละ 80

สง่ เสริมและพฒั นาผู้เรียน ให้เกดิ มีผลการประเมินทักษะ

กระบวนการคิด ทกั ษะชวี ิต ทักษะ การคิดผ่านเกณฑ์การ

การทางาน ทักษะการเรยี นรแู้ ละ ประเมนิ ในระดับดีขน้ึ

นวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ ไป

สอ่ื และเทคโนโลยี 3. ผูเ้ รียนทกุ คน

สามารถสร้าง

นวัตกรรมได้คนละ

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชว้ี ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ที่จะดาเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดข้นึ กบั ผู้เรยี น
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่คี าดหวงั ใหเ้ กดิ ขึน้ ทแี่ สดงให้เหน็ ถึงการ
เปลย่ี นแปลงไปในทาง
การประเมิน กบั ผู้เรยี น ทดี่ ีขึ้นหรอื มกี ารพฒั นา
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบุ) มากขึน้ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ ผูเ้ รียนไดพ้ ฒั นาเต็มตาม สูงขึ้น(โปรดระบุ)

ดีของผเู้ รยี น ศักยภาพ เรียนร้แู ละ 1 ช้นิ
4. นักเรียนร้อยละ 80
อบรมบม่ นิสยั ให้ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม ทางานร่วมกนั มีผลการประเมินด้าน
สารสนเทศ สื่อ และ
จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เทคโนโลยผี า่ นเกณฑ์
การประเมินในระดบั ดี
และค่านยิ มความเป็นไทยที่ดีงาม ขน้ึ ไป
5. ผู้เรียนรอ้ ยละ 80
คานึงถึงความแตกตา่ งของผูเ้ รียนเป็น มีผลการประเมินความ
พงึ พอใจต่อบรรยากาศ
รายบคุ คล เช่นการใชร้ ะบบคู่สัญญา ท่สี ง่ เสริมและพฒั นา
ผ้เู รียนผา่ นเกณฑ์การ
และสามารถแก้ไขปญั หาและพฒั นา ประเมินในระดบั ดีข้นึ
ไป
ผู้เรยี นได้ และเป็นแบบอย่างที่ดใี น
1. ผู้เรียนร้อยละ 80
การอบรมและพฒั นาคุณลักษณะที่ดี มีผลการประเมินด้าน
ผลสมั ฤทธท์ิ างการ
ของผเู้ รยี น เรยี นผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ของ
สถานศึกษา
2. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80
มผี ลการประเมิน
ทักษะ/สมรรถนะท่ี
สาคญั ผ่านเกณฑ์
ประเมินตัง้ แตร่ ะดับดี
ขนึ้ ไป
3. ผู้เรียนรอ้ ยละ 80
มผี ลการประเมิน
คุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์ผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ระดับดีขนึ้ ไป

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ทจ่ี ะดาเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ท่จี ะเกิดขนึ้ กบั ผู้เรียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวงั ให้เกดิ ข้ึน ท่ีแสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทาง
การประเมิน กบั ผู้เรียน ที่ดขี น้ึ หรอื มกี ารพัฒนา
(โปรดระบุ) (โปรดระบุ) มากขึ้นหรือผลสมั ฤทธิ์

2. ด้านการส่งเสริมและ 2.1 จัดทาข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรยี นได้รบั การส่งเสรมิ สงู ขึ้น(โปรดระบ)ุ

สนบั สนนุ การจัดการเรียนรู้ ผู้เรยี นและรายวิชา สนับสนนุ การเรียนรู้ 1. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 100
ได้รับการส่งเสรมิ
ลักษณะงานท่เี สนอให้ จดั ทาข้อมลู สารสนเทศของผ้เู รียนใน แกไ้ ขปญั หาและพัฒนา สนับสนนุ การเรยี นรู้
แกไ้ ขปญั หาและพฒั นา
ครอบคลุมถึงการจัดทาขอ้ มลู รายวชิ าคณิตศาสตร์ และนักเรียนใน อย่างเตม็ ศกั ยภาพจาก อยา่ งเตม็ ศักยภาพจาก
การจัดทาข้อมูล
สารสนเทศของผเู้ รยี นและ ระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นอยา่ ง การจดั ทาข้อมูล สารสนเทศ

รายวิชาการดาเนนิ การตาม เป็นระบบ เปน็ ปัจจุบนั สารสนเทศ 1. ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 100
ได้รับการส่งเสริม
ระบบดูแลชว่ ยเหลือผูเ้ รยี น สนับสนนุ การเรยี นรู้
แก้ไขปัญหาและพัฒนา
การปฏบิ ตั งิ านวิชาการ และ 2.2 ดาเนนิ การตามระบบดูแล ผู้เรยี นได้รบั การส่งเสรมิ อยา่ งเตม็ ศักยภาพจาก
การดาเนนิ การตาม
งานอื่น ๆ ของสถานศกึ ษา ชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี น สนับสนุนการเรียนรู้ ระบบดแู ลชว่ ยเหลือ
ผ้เู รยี น
และการประสานความร่วมมือ ดาเนนิ การตามระบบดูแลชว่ ยเหลอื แก้ไขปัญหาและพฒั นา
กบั ผปู้ กครองภาคเี ครอื ขา่ ย ผู้เรียน โดยใช้ขอ้ มูลสารสนเทศของ อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพจาก

และหรือสถานประกอบการ ผ้เู รียนรายบคุ คล และประสานความ การดาเนนิ การตาม

รว่ มมือกบั ผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ ง ในการ ระบบการดูแลชว่ ยเหลือ

แกไ้ ขปัญหาและพฒั นาผู้เรยี นอยา่ ง ผู้เรยี น

เต็มศกั ยภาพและเปน็ แบบอย่างทด่ี ี

เพือ่ พัฒนาและแก้ไขปัญหาผเู้ รยี น

2.3 ปฏิบัตงิ านวิชาการ และงาน ผเู้ รยี นไดร้ บั การส่งเสรมิ 1.ผู้เรยี นร้อยละ 80 มี
อนื่ ๆ ของสถานศกึ ษา
พัฒนาอย่างเต็ม ความพึงพอใจต่อการ
2.3.1 ปฏิบัตงิ านในกลุ่มงาน
วิชาการ โดยเป็นหัวหนา้ วชิ าการ ศกั ยภาพ เช่น โครงการ จดั กิจกรรมการเรยี น
โรงเรียนทางวชิ าการ
ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ การสอนอยูใ่ นระดับ
2.4ประสานความร่วมมือกับ
ผ้ปู กครอง ภาคีเครอื ขา่ ย และหรือ ทางการเรียน มากข้ึนไป
สถานประกอบการ
ประสานความรว่ มมือกับผู้ปกครอง ผเู้ รียนไดร้ ับการส่งเสริม 1. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 100
ภาคเี ครือข่าย และหรือสถาน
ประกอบการ เพื่อรว่ มกนั แก้ไข สนบั สนุนการเรยี นรู้ ได้รับการสง่ เสริม
ปญั หาและพฒั นาผเู้ รียน
แกไ้ ขปัญหาและพฒั นา สนบั สนุนการเรียนรู้

อยา่ งเต็มศกั ยภาพจาก แกไ้ ขปัญหาและพฒั นา

ประสานความร่วมมือกับ อย่างเตม็ ศักยภาพจาก

ผปู้ กครอง ภาคีเครือขา่ ย การประสานความ

และสถานประกอบการ ร่วมมือกับผ้ปู กครอง

ภาคีเครอื ข่ายและ

สถานประกอบการ

ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชีว้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ทจ่ี ะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึน้ กบั ผู้เรียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวังใหเ้ กิดขน้ึ ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ
เปลย่ี นแปลงไปในทาง
การประเมนิ กับผู้เรยี น ที่ดขี ้ึนหรอื มีการพัฒนา
(โปรดระบุ) (โปรดระบ)ุ มากข้นึ หรือผลสัมฤทธ์ิ

3. ด้านการพฒั นาตนเองและ 3.1 พัฒนาตนเองอยา่ งเปน็ ระบบ ผเู้ รียนได้พฒั นา สงู ขึน้ (โปรดระบ)ุ
สมรรถนะและเรียนรู้
วชิ าชีพ และต่อเนื่อง อยา่ งเต็มศักยภาพจาก 1. ผูเ้ รยี นร้อยละ 80
พฒั นาตนเองอย่างเป็น มีผลสมั ฤทธิ์ทางการ
ลกั ษณะงานทีเ่ สนอให้ พฒั นาตนเองอยา่ งเป็นระบบและ ระบบและต่อเน่ือง เรยี นผา่ นเกณฑ์การ
ประเมนิ ของ
ครอบคลุมถึงการพัฒนา ตอ่ เน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิง่ การใช้ ผเู้ รยี นได้พฒั นา สถานศกึ ษาและมี
สมรรถนะและการเรียนรู้ ความพงึ พอใจต่อการ
ตนเองอยา่ งเปน็ ระบบและ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพอื่ การ เต็มศักยภาพจากการเข้า เรยี นการสอนอยู่ใน
รว่ มแลกเปลีย่ นการ ระดบั มากขึน้ ไป
ตอ่ เนือ่ ง การมีสว่ นร่วมในการ ส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั เรยี นร้ทู างวชิ าชีพ ระดับดี
(PLC)
แลกเปลยี่ นเรยี นรทู้ างวิชาชพี เพือ่ การศึกษา สมรรถนะวชิ าชพี ครู 1. ผูเ้ รียนรอ้ ยละ 80
มผี ลสัมฤทธิท์ างการ
เพ่อื พัฒนาการจดั การเรียนรู้ และความรอบรใู้ นเน้ือหาวชิ าและ เรยี นผา่ นเกณฑ์การ
ประเมินของ
และการนาความรู้ วิธกี ารสอน สถานศึกษาและมี
ความพงึ พอใจต่อการ
ความสามารถ ทักษะท่ีได้จาก 3.2 มีส่วนร่วม และเปน็ ผู้นาในการ เรยี นการสอนอยู่ใน
การพฒั นาตนเองและวิชาชีพ แลกเปล่ยี นเรยี นร้ทู างวิชาชีพ ระดับมากขึ้นไป
ระดับดี
มาใชใ้ นการพฒั นาการจดั การ มีส่วนร่วม และเป็นผนู้ าในการ

เรียนรู้ การพฒั นาคุณภาพ แลกเปลยี่ นเรยี นรทู้ างวิชาชพี
ผู้เรยี น และการพฒั นา
(Professional Learning

นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ Community:PLC) เพื่อแก้ไขปัญหา

และสร้างนวตั กรรมเพื่อพัฒนาการ

จัดการเรียนรู้

3.3 นาความรู้ ความสามารถ ผู้เรยี นไดพ้ ฒั นา 1. ผเู้ รยี นร้อยละ 100
ทกั ษะทไ่ี ด้จากการพฒั นาตนเอง
และวิชาชพี มาใช้ในการพฒั นาการ สมรรถนะและการเรยี นรู้ ไดร้ บั การแก้ปัญหา
จดั การเรียนรู้
นาความรู้ ความสามารถ ทักษะท่ีได้ เต็มตามศักยภาพจากนา และมผี ลการเรยี นรู้
จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมา
ใช้ในการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ ความรู้ ความสามารถ ผ่านเกณฑ์ทก่ี าหนด
การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น รวมถงึ
การพัฒนานวตั กรรมการจัดการ ทกั ษะท่ีได้จากการ
เรียนรู้ทม่ี ผี ลต่อคุณภาพผู้เรยี น
พฒั นาตนเองและวิชาชพี

มาใช้ในการพฒั นาการ

จัดการเรยี นรู้

หมายเหตุ

1. รูปแบบการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ตามแบบ PA1 ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการ

จดั การเรยี นรู้ของแตล่ ะสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อานวยการสถานศึกษาและข้าราชการ
ครูผู้จดั ทาขอ้ ตกลง

2. งาน (Tasks) ท่ีเสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบหลักที่
สง่ ผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นาเสนอรายวิชาหลักท่ีทาการสอน โดยเสนอในภาพรวม

ของรายวิชาหลักที่ทาการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีท่ีสอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหน่ึงได้

โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน
ตามข้อตกลงสามารถประเมนิ ไดต้ ามแบบการประเมิน PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสาคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
(Outcomes)และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการ

พัฒนางานตามขอ้ ตกลง ให้คณะกรรมการดาเนนิ การประเมนิ ตามแบบ PA 2 จากการปฏบิ ัติงานจริงสภาพการ

จัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตาม
ข้อตกลงเป็นสาคัญ โดยไมเ่ น้นการประเมนิ จากเอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานทีเ่ ปน็ ประเดน็ ทา้ ทายในการพฒั นาผลลัพธก์ ารเรียนร้ขู องผเู้ รยี น
ประเด็นทท่ี ้าทายในการพฒั นาผลลพั ธ์การเรยี นรูข้ องผเู้ รียน ของผจู้ ดั ทาขอ้ ตกลง ซง่ึ ปัจจุบนั ดารง

ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ ต้องแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ระดับการปฏบิ ตั ิที่คาดหวงั คือ การริเรม่ิ
พฒั นา การจัดการเรยี นรแู้ ละการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงไปในทางทดี่ ีขึน้
หรือมีการพฒั นามากขนึ้ (ทัง้ นี้ ประเดน็ ทา้ ทายอาจจะแสดงใหเ้ ห็นถึงระดับการปฏบิ ัติที่คาดหวงั ทส่ี งู กว่าได้)

ประเดน็ ท้าทาย เรือ่ ง การพัฒนาชดุ ฝกึ ทักษะการแก้โจทยค์ ณิตศาสตร์ เร่อื ง การบวก ลบ คณู หาร
ระคน ของผเู้ รยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3

1. สภาพปญั หาการจัดการเรยี นรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผเู้ รยี น
จากการจดั กจิ กรรมการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบวา่ ผูเ้ รยี นมีปญั หา เรือ่ ง

การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก ลบ คณู หารระคน เนื่องจากผู้เรียนขาดทักษะการแกป้ ญั หา ขาดทักษะการคิด
อยา่ งมีเหตผุ ล รวมถงึ ไมส่ ามารถนาความรูไ้ ปประยุกต์ใชไ้ ด้ ส่งผลให้ผเู้ รยี นมีคะแนนในเรื่องโจทย์ปัญหาการ
หารต่ากวา่ เกณฑ์ท่ีครูผ้สู อนกาหนดไว้ และไม่ผ่านการประเมินตวั ชวี้ ัดในเรือ่ งดงั กล่าว ครจู งึ พฒั นาและสรา้ ง
สือ่ การสอนเร่ืองการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คณู หารระคน และนารูปแบบการสอนคณติ ศาสตร์ โดยใช้
รปู แบบการสอนซิปปามาบรู ณาการในการจดั กิจกรรม

2. วิธกี ารดาเนินการให้บรรลผุ ล
2.1 ศึกษาและวเิ คราะห์หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง 2560) ตาม

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระที่ 1 จานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 ป.
3/8 หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คณู หารระคนของจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0

2.2 ศึกษารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ โดยใชย้ ทุ ธวธิ กี ารสอนตามแนวคิดซปิ ปาโมเดล
2.3 จัดทาหน่วยการเรียนรู้ เรอ่ื ง การบวก ลบ คูณ หารระคน จัดทา พฒั นาชุดฝกึ ทักษะการ
แก้โจทยค์ ณิตศาสตร์ เรือ่ ง การบวก ลบ คณู หารระคน ของผ้เู รยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 และแผนการ
จัดการเรียนรู้ โดยนาสอื่ การสอนเร่ืองการแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน และรปู แบบการสอน
คณติ ศาสตรโ์ ดยใช้โดยใชย้ ุทธวิธกี ารสอนตามแนวคดิ ซปิ ปาโมเดล ลงสู่การจัดกิจกรรมในห้องเรียน

2.4 การจดั กิจกรรม การแกโ้ จทย์ปัญหาการหารโดยใช้การพัฒนาชุดฝกึ ทักษะการแก้โจทย์
คณติ ศาสตร์ เร่ือง การบวก ลบ คูณ หารระคน ของผ้เู รียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 และใชย้ ทุ ธวิธกี ารสอนตาม
แนวคดิ ซิปปาโมเดล มขี ั้นตอน ดังน้ี

- ครูผสู้ อนทดสอบความร้กู ่อนเรยี น เรอ่ื ง การแก้โจทยค์ ณิตศาสตร์ เรื่องการบวก ลบ คูณ หารระคน
ของผู้เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 เพื่อจะได้ทราบความรูพ้ ื้นฐานของผู้เรียนเป็นแนวทางในการออกแบบหรือ
ปรบั กระบวนการจัดการเรียนรขู้ องครูให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความรู้ความสามารถของผเู้ รยี น

ขัน้ ท่ี 1 การทบทวนความรเู้ ดิม
ครทู บทวนความรูเ้ ดิม โดยครูกระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี นโดยการให้นักเรียนเลน่ เกมคณิตคิด

เลขเรว็ หรรษาโดยครูให้นักเรยี นตอบคาถามในการดาษคาตอบของตนเองจากคาถามบนกระดาน
ขน้ั ที่ 2 การแสวงหาความรใู้ หม่
นกั เรียนแบ่งกลุ่ม เป็น 2 กลุ่มๆละ 4-5 คน ให้นักเรียนร่วมกันศึกษาหลักการหาคาตอบของโจทย์
การ

บวก ลบ คูณ หารระคน จากใบความรู้ที่ 1

ขน้ั ท่ี 3 การศกึ ษาทาความเข้าใจข้อมลู ความรใู้ หม่ และเช่ือมโยงความรูเ้ ดมิ
ครนู าโจทยก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคนมาใหน้ ักเรียนร่วมกันหาคาตอบ โดยครยู กตวั อย่าง 2-3 ขอ้

เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ ซึ่งครูและนักเรียนร่วมกันคิดหาคาตอบไปพร้อม ๆ กัน จากครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม
กลมุ่ ละ 4–5 คน ให้แตล่ ะกล่มุ แข่งขันกันหาคาตอบจากโจทย์การบวก ลบ คูณ หารระคน

ขั้นท่ี 4 การแลกเปลย่ี นความรู้ความเข้าใจกบั กล่มุ
ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มเลน่ เกม “นกั คณติ สมองคดิ ฉบั ไว”

ขน้ั ท่ี 5 การสรปุ และจัดระเบียบความรู้
ครแู ละผู้เรียนรว่ มกนั สรปุ บทเรยี น เร่ืองการวิเคราะหโ์ จทย์ปัญหาว่าต้องมีข้นั ตอนสาคญั

อย่างไร
ข้ันที่ 6 การแสดงผลงาน
ครใู หน้ กั เรียนกลุ่มเดิมนาเสนอแนวคิดวิธีการหาคาตอบจากการเล่นเกม “นักคณิต สมองคิดฉับ
ไว”

โดยครูและนักเรียนทเ่ี หลือร่วมกันอภิปราย
ขัน้ ที่ 7 การประยุกต์ใชค้ วามรู้
ผเู้ รียนทาแบบฝกึ หดั
2.5 ทดสอบหลงั เรียน เร่ือง โจทยป์ ัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน เพื่อดูพฒั นาการทางการเรียน

ของผเู้ รยี น
2.6 ประเมนิ สอ่ื การสอน เรื่อง การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก ลบ คณู หารระคน โดยใช้รูปแบบการ

สอนแบบซปิ ปา (CIPPA) จากน้นั นาผลการประเมินมาปรบั ปรงุ และพัฒนาใหม้ ีประสิทธภิ าพมากย่งิ ข้นึ
3. ผลลัพธ์การพฒั นาท่ีคาดหวัง
3.1 เชิงปรมิ าณ
1) ผเู้ รยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 รอ้ ยละ 80 ไดร้ บั การพัฒนาทักษะการหาผลลัพธ์ บวก ลบ

คูณ หารระคน

2) ผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 80 มีทักษะการหาผลลัพธ์ บวก ลบ คณู หาร
ระคน

3) ผู้เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ร้อยละ 80 มีคะแนนการทดสอบเรื่อง การหาผลลพั ธ์
บวก ลบ
คูณ หารระคน

3.2 เชงิ คณุ ภาพ
1) ผเู้ รยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 มที กั ษะการหาผลลัพธ์ บวก ลบ

คูณ หารระคน
2) ผ้เู รยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 สามารถคิดแก้ปัญหาอย่างเปน็ ระบบ
3) ผู้เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ขนึ้

ลงช่อื
( นางอรสา กางทะวร )
ตาแหนง่ ครูชานาญการ

ผู้จดั ทาข้อตกลงในการพัฒนางาน
................/.............../...................

ความเห็นของผู้อานวยการสถานศกึ ษา
( ) เห็นชอบใหเ้ ปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน
( ) ไมเ่ หน็ ชอบให้เป็นข้อตกลงในการพฒั นางาน โดยมขี ้อเสนอแนะเพื่อนาไปแก้ไข และเสนอ

เพื่อพิจารณาอกี ครง้ั ดงั นี้
............................................................................................................................. ..........

............................................................................................................................. .................................................

ลงชือ่
(นางสาวรุ่งทพิ ย์ อ่นุ แกว้ )

ตาแหน่ง ผ้อู านวยการโรงเรยี นวดั ไผค่ อ่ ม (แพร-ประชา
อปุ ถัมภ์)

................/.............../...................


Click to View FlipBook Version