The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 50005, 2021-04-01 11:55:36

สงขลา

สงขลา

AMAZING THAILAND

SONGKLA

สงขลา

ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์

2.คํานํา

หนังสืออิเล็กทรอนิกสเลม นี้ ไดจ ัดทาํ ขนึ้ เพือ่ นําเสนอขอ มูล เกย่ี วกบั Amazing
Thailand ในสวนน้ีขา พเจา ไดเรยี บเรยี งนําเสนอ จังหวัดสงขลา ขาพเจา หวังวา
หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสเลม นีจ้ ะทาํ ใหทกุ ทานท่ีอานไดทราบประวัติ ความเปนมา
ขอ มูลสาํ คญั ๆเก่ียวกบั จังหวัดสงขลา และเห็นคณุ คา ความสาํ คัญขอขอบคุณ
คุณครูซึง่ เปนผูใหคําแนะนาํ ในการรวบรวมขอ มลู ตางๆ ในการจัดทําหนังสอื

อเิ ล็กทรอนิกสเ ลมน้ี ใหสาํ เร็จลลุ ว งดว ยดตี อบสงตอ

สารบัญ หน า
4-6
รายการ 7-9
สงขลา คณะบรหิ าร 10-14
ความเป็ นมา 15
ประเพณี วฒั นธรรม 16
การเดนิ ทาง 17-26
แผนภาพ 26-29
สถานท่ีเทยี่ ว
ทพ่ี กั รานอาหาร ของฝาก

สงขลา

สงขลา เปนจงั หวัดหนึง่ ในภาคใตตอนลาง มปี ระชากรมากเปน
อนั ดบั 2 ของภาคใต

(รองจากนครศรธี รรมราช) และมีขนาดพื้นทใี่ หญเ ปนอันดบั 3 ของภาคใต
(รองจากสรุ าษฎรธ านี และนครศรธี รรมราช) มจี งั หวัดท่ีอยตู ดิ กนั ไดแ ก
นครศรีธรรมราช พัทลงุ ปตตานี ยะลา สตลู และยงั มีอาณาเขตติดตอ กับ

รฐั ไทรบรุ แี ละรฐั ปะลสิ ของประเทศมาเลเซีย

คณะบรหาร

นายจารุวฒั น เกลยี้ งเกลา
ผูวา ราชการจังหวดั สงขลา

นายอาํ พล พงศสวุ รรณ
รองผวู าราชการจงั หวดั

นายวงศกร นนุ ชคู ันธ
รองผวู า ราชการจงั หวัด

นางสรุ ียพรรณ ณ สงขลา
รองผูว า ราชการจังหวดั

นายวรณัฎฐ หนรู อต
รองผูวาราชการจงั หวัด

ความเปน มา สงขลา

ตงั้ อยูฝง ตะวนั ออกของประเทศไทยมา
แตสมัยโบราณ มีชุมชนโบราณและ
เมืองเกาแก มโี บราณสถาน โบราณ
วตั ถุ ขนบธรรมเนยี มประเพณี และ
การละเลนพ้ืนเมอื ง ศิลปพ้ืนบา นเปน
มรดกทางวัฒนธรรมสงขลา เพงิ่
ปรากฏเปน คร้ังแรกในบนั ทึกของ
พอ คา และนกั เดนิ เรือชาวอาหรับ-
เปอรเซยี ระหวาง ป พ.ศ.1993-2093
ในนามของเมืองซงิ กรู  หรือซงิ กอรา แต
ในหนังสอื ประวัตศิ าสตรธ รรมชาติและ
การเมอื งแหงราชอาณาจักร สยามของ
นายกิโลลาส แซรแวส เรยี กชื่อเมือง
สงขลา วา "เมืองสิงขร" จงึ มีการ
สนั นิษฐานวา คาํ วา สงขลา เพีย้ นมา
จากชอ่ื "สงิ หลา" (อา น สิง-หะ-ลา)

หรอื สิงขร

เหตผุ ลทส่ี งขลามีชื่อวา สงิ หลา แปลวา
เมอื งสงิ ห โดยได ชอ่ื นมี้ าจากพอคา ชาว
เปอรเซีย อนิ เดีย แลนเรือมาคา ขาย ได
เหน็ เกาะหนู เกาะแมว เมื่อมองแตไกล
จะเหน็ เปน รปู สิงหส องตัวหมอบเฝา
ปากทางเขา เมอื งสงขลา ชาวอินเดยี จึง
เรยี กเมอื งนี้วา สิงหลา สวนไทยเรียกวา
เมืองสทงิ เมือ่ มลายูเขา มาติดตอ คา ขาย
กับเมืองสทงิ กเ็ รียกวา เมืองสิงหลา แต
ออกเสยี งเพ้ยี นเปนสําเนยี งฝร่ังคือ เปน
ซิงกอรา (Singora) ไทยเรยี กตามเสยี ง
มลายแู ละฝร่ังเสียง เพย้ี นเปนสงขลา
อกี เหตผุ ลหนงึ่ อางวา สงขลา เพ้ียนมา
จาก "สิงขร" แปลวา ภเู ขา โดยอางวา
เมืองสงขลาตัง้ อยู บริเวณเชิงเขาแดง
ตอ มาไดมีการพระราชทานนาม เจา
เมืองสงขลาวา "วเิ ชยี รคีร"ี ซ่ึงมีความ
หมายสอดคลอ ง กับลักษณะภูมิประเทศ

พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจา อยูหัว
ไดมพี ระบรมราชวินจิ ฉยั ไววา "สงขลา" เดมิ
ชอื่ สงิ หนคร (อา นวา สงิ -หะ-นะ-คะ-ระ)
เสยี งสระอะอยทู าย มลายูไมช อบ จึงเปลย่ี น
เปน อา และชาวมลายพู ดู ลนิ้ รวั เร็ว ตัดหะ
และ นะ ออก คงเหลอื สิง-คะ-รา แตอ อก
เสยี งเปน ซงิ คะรา หรือ สิงโครา จนมีการ

เรยี กเปน ซิงกอรา
สงขลา เปน เมอื งประวัติศาสตร มีเรอ่ื งราวสืบ
ตอกนั ตั้งแตสมยั กอนประวัตศิ าสตร มกี ารคน
พบหลักฐาน ไดแก ขวานหิน ซง่ึ เปนเครอื่ ง
มือสมัยกอนประวตั ศิ าสตร ท่ีอําเภอสทิงพระ
ประวตั ิ ความเปนมา และวัฒนธรรมสมยั ที่
เมืองสทิงพระเจริญ เค บูรลเ บท ไดใ หทศั นะ
วา สทงิ พระ คอื ศูนยกลางของอาณาจักรเซ้ี

ยะโทห รือเซ็กโท เปน แหลงหน่งึ ในเอเซยี
ตะวันออกเฉยี งใต ทไี่ ดรับวฒั นธรรมอนิ เดยี
โดยตรงในสมยั อาณาจกั รศรีวชิ ยั เปน เวลา
ไมน อ ยกวา 7 ศตวรรษ เพราะมีรองรอยทาง
สถาปตยกรรม ประตมิ ากรรม ที่แสดงใหเ หน็
วาเมืองสทิงพระเปน ศนู ยกลางการปกครอง
ดนิ แดน รอบ ๆ ทะเลสาบสงขลาในสมัยนัน้

ประเพณ/ี วัฒนธรรม/กจิ กรรมของจงั หวดั สงขลา

งานเทศกาลโคมไฟไหวพระจนั ทร

ตาํ นานการไหวพ ระจนั ทร ยงั ไดก ลา วขานมาถงึ
ราชวงศหยวน แผน ดินฮัน่ ไดถ ูกมองโกลปกครอง
และไดว างระเบยี บไวว า ชาวฮั่น 10 ครอบครวั จะ
มีนายทหารมองโกลปกครอง 1 คนและใน 10
ครอบครัวจะมมี ดี ไวท ํากจิ กรรมตา งๆ ไดเ พยี งเลม
เดยี วเทา นัน้ ทําใหช าวฮั่นทง้ั หลายโดยเฉพาะ

กลมุ ปญญาชนไดค ดิ แผนการปฏิวัติลม ลา ง
อาํ นาจมองโกล โดยกระทาํ ในวันข้ึน 15 คํ่า เดอื น
8 ซึง่ เปน วนั ไหวพ ระจนั ทรหลงั จากตัดขนมไหว
พระจันทรเ สรจ็ แลว ฮ่ัน10 ครอบครัวจะฆาทหาร
มองดกล 1 คนและยึดอาวธุ ของทหารไวล ุกฮือขน้ึ

จนยดึ การปกครองคืนมาได

งานเทศกาลสง เสรมิ สินคา และผลไมไ ทย

หาดใหญ เปนศูนยก ลางการทอ งเท่ียวและศนู ยกลางการ
พาณิชยกรรมในภาคใต ในแตล ะป จะมีนักทองเท่ยี วทงั้ ชาว
ไทยและชาวตา งประเทศ เดินทางเขามาเทีย่ วและซ้ือ
สนิ คา ประเภทเคร่ืองไฟฟา รวมทง้ั อาหารและผลไมของไทย
มากมายระหวางเดอื นพฤษภาคมถึงปลายเดอื นสงิ หาคม ถอื
ไดวาเปนฤดูกาลแหงผลไมไ ทย เพราะผลไมน านาชนดิ กาํ ลัง

สกุ และทยอยออกสูตลาด

งานเทศกาลทาํ บญุ เดือนสบิ

ทาํ บญุ เดือนสิบ เปน ประเพณสี าํ คญั
อยา งหนง่ึ ทชี่ าวภาคใตไ ดปฏิบตั สิ บื ตอกนั
มาแตล ะคร้ังโบราณจนถงึ ปจจุบนั ทั้งน้ี
เน่ืองมาจากความเช่อื ทางพทุ ธศาสนาวา
ในปลายเดือน 10 พอ แม ปูย า ตายาย
และญาติพซี่ ึ่งลว งลับไปแลว โดยเฉพาะ
ผูท มี่ บี าปตกนรกอยซู ง่ึ เรียกวา เปรต จะ
ไดรับการปลอ ยตวั จาก พญายมใหขึ้นมา
พบลูกหลานและญาติพน่ี อ งของตนใน
เมอื งมนุษยใ นวนั แรม 1 คํ่า เดือน 10 และ
ใหก ลบั ไปอยเู มืองนรกดงั เดมิ ในวันแรม
15 คาํ่ เดือน 10 ชาวบานจงึ จัดใหมีการ
ทําบญุ เปนประเพณีข้นึ ในวันแรม 1 ค่ํา

เดอื น 10 ครัน้ หน่ึง กบั วนั แรม 15 คา่ํ
เดอื น 10 อีกครงั้ หนึ่ง (บางทอ งถ่นิ ทาํ ใน
วนั แรม 14 คํา่ ) เพ่ืออทุ ศิ สว นกศุ ลไปให
พอ แม ปูยา ตายาย ญาตพิ น่ี อ ง ตลอดจน
บคุ คลอื่น ๆ ทล่ี ว งลบั ไปแลว เปนสําคญั

งานประเพณลี ากพระและตกั บาตรเทโว

จัดขึน้ เปนประจําทกุ ปในวนั แรม 1 ค่ํา เดอื น 11 ประมาณเดือนตุลาคม ณ
อําเภอเมือง พิธีจะเรม่ิ กอ นวันงานดวยหมผา พระเจดียบ นยอดเขาตงั กวน
ในวนั งานเวลาเชา จะเปน พธิ ตี ักบาตรเทโวบริเวณเชิงเขาตงั กวนพระสงฆ

หลายรอ ยรปู จะเดนิ ลงมาจากเขาตงั กวนเพ่อื รบั บิณฑบาตรจาก
พทุ ธศาสนิกชนตอนสายจะมเี รอื พระจาก วัดตา งๆในเขตจังหวดั สงขลา
เคลือ่ นผา นใหพ ทุ ธศาสนิกชนไดรวมทําบญุ และลากพระ ตามความเชอ่ื ที่

วาจะไดบุญกศุ ลสูง เรือพระจะมารวมกนั ที่บริเวณสระบัวเพอ่ื รว ม
ประกวดการตกแตง เรอื พระ นอกจากนี้ภายในงานยังมกี ารแสดงศลิ ป

วัฒนธรรม

งานประเพณีสงกรานต

จดั ข้นึ ในวนั ที่ 13 เมษายน ของทกุ ป ทางอาํ เภอหาดใหญม ีการจดั
งานขึ้นทบี่ ริเวณถนนนิพทั ธอุทศิ 1, 2, 3 ตง้ั แตเชา ถงึ เยน็ ชาว
มาเลเซียและสงิ คโปรน ิยมเดินทางมารว มสนุกกับชาวไทยใน

เทศกาลนเี้ ปน ที่สนุกสนาน
พิธสี งกรานตเปน พิธกี รรมที่เกิดข้ึนในสมาชิกใน
ครอบครวั หรอื ชมุ ชนบานใกลเรือนเคียง แตปจ จุบนั ไดเปล่ยี นไปสู
สงั คมวงกวา ง และมแี นวโนมที่จะเปลยี่ นทัศนคตแิ ละความเชือ่ ไป
ในความเชอื่ ดงั้ เดมิ ใชส ญั ลักษณเปนองคป ระกอบหลกั ในพธิ ี ไดแก
การใชน ้ําเปนตัวแทน แกก นั กบั ความหมายของฤดรู อ น
ชวงเวลาที่พระอาทติ ยเคล่อื นเขา สรู าศเี มษ ใชน ้ํารดใหแกกันเพือ่
ความชุมช่นื มีการขอพรจากผใู หญ การรําลกึ และกตญั ูตอ
บรรพบุรษุ ทีล่ ว งลับ สงั คมไทยสมัยใหมเกิดประเพณีกลบั บา นใน
เทศกาลสงกรานต นบั วันสงกรานตเ ปนวนั ครอบครัว ในพิธเี ดิมมี
การสรงนํา้ พระท่ีนําสิริมงคล เพอ่ื ใหเ ปน การเร่ิมตนปใหมท่มี ีความ
สขุ ปจจุบนั มกี ารประชาสัมพนั ธในเชิงทอ งเท่ียววา เปน Water
Festival หรอื สงครามนํา้ [4] ซึ่งตดั สว นทีเ่ ปนความเช่อื ดง้ั เดมิ ไป

การเดนิ ทางไปสงขลา

รถยนต :จากกรงุ เทพฯ ใชท างหลวง
หมายเลข 35 (ถนนพระราม 2 หรือ

ถนนธนบุรี-ปากทอ )

รถประจาํ ทาง : รถประจาํ ทางปรับอากาศ
ของบรษิ ัท ขนสง จํากดั และของเอกชน
สายกรงุ เทพฯ-สงขลา และกรงุ เทพฯ-

หาดใหญ

แผนภาพสงขลา

อําเภอในสงขลา

1.เมอื ง
2.หาดใหญ
3.สิงหนคร
4.นาหมอม
5.สทิงพระ
6.จะนะ
7.คลองหอยโขง
8.บางกล่ํา
9.นาทวี
10.รตั นภูมิ
11.สะเดา
12.ควนเนยี ง
13.ระโนด
14.เทพา
15.กระแสสินธุ
16.สะบายอย

ตวั อยา่ งสถานทีเทียว อาํ เภอเมืองสงขลา

ปอ มปากนาํ้ แหลมทรายหรอื ปอมปน หาดชลาทัศน เปนชายหาดท่ยี าวตอ
ปากนํ้าแหลมทราย สรา งข้ึนในสมัย เนื่องมาจากหาดสมหิ ลาโดยมแี หลมสมิ
รชั กาลท่ี 4 โดยเจา พระยาวิเชียรครี ี (บญุ
สังข ณ สงขลา) ผสู าํ เร็จราชการเมอื ง หลาเปน จดุ แบง มหี าดทรายที่ขาว
สงขลา ระหวา งป พ.ศ.2390-2402 เพ่อื สะอาดเลนนํ้าไดต ลอดแนว ลักษณะ
เปน ปอ มรักษาเขตแดนเมอื งสงขลา ปอ ม ของหาดคอ นขางเปน เสน ตรง มีถนน
ปากน้าํ แหลมทรายเปนปอมปน ใหญท มี่ ี ชลาทัศนเลียบแนวชายหาดและมีแนว
รปู รา งแปดเหลย่ี ม (ส่ีเหลย่ี มผนื ผาลบ ตน สนใหค วามรมรนื่ ยาวตลอดหาด
มุมทง้ั 4 ทําใหมแี ปดดา น) ปจ จุบันปอ มนี้ เน่ืองจากหาดหันไปทางดา นทิศตะวนั
อยูในบรเิ วณหลังกองบงั คับการตํารวจ ออกเฉียงเหนือ ในชวงเชา จึงพอจะใช
ภูธร อาํ เภอเมือง จงั หวดั สงขลา เปนปอม
ท่ีกอ ดวยศิลา และอฐิ ถือปูน ลักษณะเปน เปนท่ชี มพระอาทติ ยขึน้ ไดด ว ย
รปู 8 เหลยี่ ม สูงประมาณ 5 ศอก กวา ง จุดทนี่ า สนใจของหาดชลาทัศนค ือชวง
และยาวประมาณ 10 วาเศษ เปน กลางของหาดมเี วทีประชาชนเทศบาล
นครสงขลา เปนสวนสาธารณะที่พัก
ศลิ ปกรรมในสมัยรตั นโกสินทร ผอ นหยอนใจโดยการสรางสนามเด็ก
เลน ระหวางแนวตนสน เปน สถานทีฝ่ ก
ซอ มวอลเลยบอลชายชายหาดของ

นักกฬี า

ตัวอย่างสถานทเี ทยี ว อาํ เภอหาดใหญ

สวนสาธารณะ หาดใหญ นาํ ต้ กโตนงาชาง

สวนสาธารณะเปนอกี หนงึ่ ท่ี กอ นจะไปเทย่ี วทตี่ ัวเมอื งหาดใหญ ก็แวะ
เทยี่ วหาดใหญ มจี ุดใหท าํ กจิ กรรม มาท่ีน่กี อน นา้ํ ตกโตนงาชา งเปน เขต
มากมาย เร่ิมจากภาคพน้ื ดินกอน จะ
มจี ดุ ปน เรือเปดนา รกั ๆ และให รักษาพันธุสัตวปา สภาพปา ยังคงมคี วาม
อาหารปลา นงั่ เลน ริมสระนํ้า สวนขึ้น อดุ มสมบรู ณ และถือเปน แหลงตน นา้ํ
สงู มาบนเขา เราจะไดไหวพระ เพือ่ ของ จ.สงขลา ภายในบรเิ วณนํ้าตกโตน
เปนสริ ิมงคล ทั้งพระประจาํ เมอื ง
พระจีน และเจา แมกวนอมิ กอนปด งาชาง ยังมีเสน ทางเดินปาศึกษา
ทา ยดว ยนง่ั เคเบ้ลิ คาร ชมวิวรอบ ธรรมชาติ ไวใหนกั ทอ งเที่ยวไดเ ดินชม
เมืองหาดใหญ ถายรปู เปน ท่รี ะลึกววิ และยงั เปนสถานท่ปี กนกิ เลนนํ้าอกี ดว ย
เมอื งนัน่ เอง เรยี กวาทีเ่ ดียวจบ ได น้าํ ตกโตนงาชางมดี ว ยกนั ทงั้ หมด 7 ชั้น
ชน้ั ทส่ี วยงามและมชี อื่ คอื ชัน้ ท่ี 3 ซงึ่ มี
ครบรส สายนาํ้ ตกแยกออกมา ลกั ษณะคลาย
งาชาง อันเปนที่มาของคําวา “โตน” ตรง
ช้ันลาง นํ้าไมลึก เปนแอง กวาง ๆ มีปลา
ตัวใหญแหวกวา ย หากอยากทาํ สปาเทา

กน็ ัง่ หยอนเทา ลง

ตวั อย่างสถานทีเทยี ว อําเภอสะเดา

Dinosaur Park ดานนอก เข่อื นคลองสะเดา

ตัวอยา่ งสถานทีเทยี ว อาํ เภอจะนะ

บานลิวงค

ต้งั อยทู ่ี บานลิวงค ตําบลทาหมอไทร
อาํ เภอจะนะ จังหวัดสงขลา เปน
สถานที่ทีม่ ีววิ ทิวทศั นข อง หุบเขา
ดินแดง อายุเกา แกนบั กวา 100 ป
สวยงามเหมือนอยูเมอื งนอกเลยคะ
แมว า ท่นี ่ีจะไมไดใหญม ากนกั แต
กลับเงียบสงบ รม ร่นื และ

บรรยากาศดีมากๆ เลยคะ เหมาะกบั
การนงั่ ชิลๆ พกั ผอ น กางเต็นท แคม

ปปง ชมพระอาทิตยข ้นึ และตก
ทา มกลางธรรมชาติ

ตวั อยา่ งสถานทที ่องเทียว อําเภอคลองหอยโขง

โครงการฟารม ตัวอยางฯ ในสมเดจ็ พระนางเจา สริ ิกติ ิ์

ณ ฟารมตวั อยางตามแนวพระราชดําริ
อ.คลองหอยโขง จ.สงขลา ภายในฟารม
จัดตกแตง ดว ยบรรยากาศธรรมชาติ มี

ฟารม ตัวอยา งขนาดเล็ก ตามแนว
เศรษฐกจิ พอเพียง ภายในเปนแหลง
เรยี นรูดานการเกษตรและสถานทท่ี อง
เที่ยวเชิงเกษตร พรอ มพฒั นาเปน แหลง
เชคอินแหง ใหมทจี่ ดั ตกแตงใหเหมาะกบั
การน่ังชลิ ล พรอมรสชาตกิ าแฟสตู ร
พิเศษ ทีเ่ งียบสงบเหมาะแกก ารมาพกั

ผอ นของครอบครวั

ตวั อย่างสถานทีท่องเทยี ว อาํ เภอเทพา

สวนรมิ เนิน

สวนเกษตรนผสมผสานแบบวัตกรรมใหม

ตวั อย่างสถานทที ่องเทยี ว อําเภอกระแสสนิ ธุ

บอ นํา้แหลมศักดิส์ ทิ ธิว์ ดั แหลมบอ ทอง

บอ นา้ํ ศักด์สิ ทิ ธิ์วัดแหลมบอทอ เปน
บอ น้ําศกั ดิส์ ทิ ธค์ิ เู มอื งจังหวดั สงขลา
เปน บอน้ําทใี่ ชในพระราชพิธีสาํ คัญ

ตางๆ
รวมถึงพิธีพระบรมราชาภิเษกของ
รัชกาลท่ี 10 ซึ่งตองใชน า้ํ จากบอน้าํ

ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ทัว่ ประเทศ

ตวั อย่างสถานทีทีเทียว อาํ เภอนาทวี

อุทยานแหง ชาติเขานา้ํ คา ง

อทุ ยานแหงชาติเขานํ้าคา ง มพี น้ื ทีค่ รอบคลุมทอ งทอ่ี าํ เภอนาทวี และอาํ เภอ
สะเดา จังหวดั สงขลา มีสภาพปา และทรพั ยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ
ประกอบดว ยจดุ เดนทีน่ าสนใจ สวยงาม เชน นาํ้ ตกจาํ นวนหลายแหง ทั้งยงั
เปน พนื้ ทีป่ ระวตั ิศาสตรเปนฐานทม่ี ั่นของการสรู บกับโจรจีนคอมมวิ นสิ ต ท่ี
เปน หลกั ฐานใหศึกษาถึงสถานทแ่ี ละวตั ถทุ างประวัตศิ าสตรของการสรู บอนั

ยาวนาน มเี น้อื ท่ีประมาณ 132,500 ไร หรอื 212 ตารางกโิ ลเมตร

ตัวอยา่ งสถานทที ่องเทยี ว อาํ เภอบางกลํ่า

ตลาดนาํ ้บางกล่ํา

ตลาดนํ้าบางกลาํ่ ” เกดิ ขึ้นจากการริเริม่
ผลกั ดนั โครงการของนายทรงพล สวาสดิ์
ธรรม ผวู าราชการจังหวัดสงขลา เโดยทาง
จังหวดั สงขลาไดส นับสนนุ งบประมาณจาก

งบกลมุ จงั หวัดชายแดนใต โดยแยก
โครงการเปน ระยะท1่ี ใชงบประมาณ
ประจาํ ป พ.ศ. 2559 เปนเงนิ จาํ นวน
13,845,000 บาท ระยะท่ี 2 ใชง บประมาณ
ประจาํ ป พ.ศ. 2560 เปนเงนิ จาํ นวน
2,670,000 บาท และงบประมาณจากแผน
พฒั นาจงั หวดั และกลุมจังหวัดประจํา
ปง บประมาณ 2560 จํานวน 1,294,100

บาท ในการดาํ เนินโครงการ

ทีพัก

Songkhla Tae Raek Antique Hotel

ที่อยู : เพชรครี ี ตําบลบอ ยาง
อําเภอเมอื งสงขลา สงขลา 90000

โทรศพั ท : 094 317 3338

สงขลาแตแ รก แอนทีค โฮเทล็ Songkhla
Tae Raek Antique Hotel ต้ังอยใู น
อําเภอเมอื งสงขลา หางจากรูปปนนาง

เงือกทอง 2.2 กม. และใหบ รกิ ารหอ งพกั
พรอมเครือ่ งปรับอากาศ ทีพ่ ักระดับ 2
ดาวแหง นม้ี ีบรกิ ารอินเทอรเนต็ ไรสาย
(WiFi) ฟรี แผนกตอ นรบั ตลอด 24 ชม. รู
มเซอรว สิ และพ้นื ท่จี อดรถสว นตวั โดยคา
ธรรมเนียมเพ่ิมเตมิ ทกุ หอ งทโ่ี รงแรมมตี ู

เสอื้ ผา โทรทัศนจ อแบน
และหองน้ําสว นตวั

สงขลาแตแ รก แอนทคี โฮเทล็ Songkhla
มีบริการบุฟเฟตอาหารเชาทุกวัน

ร้านอาหาร

รา นตากอากาศ - Tak R Kard ( รานอาหาร เกาะยอ )

เกาะยอ สงขลา มคี าเฟ ดๆี สวยๆ ซอ น
ตวั อยเู ยอะมาก แตละแหง ก็มคี วามกบิ๊ เก
ในแบบของตวั เอง รา นตากอากาศ ( Tak
R Kard ) ก็เชนกันบรรยากาศฟน มาก
เปด 9.00AM – 7.00PM (ปดทกุ วนั พธุ )

โทรศัพท : 088 398 7110

ของฝาก

รานขนมบานโกไข

รา นธาม
รานเจห งษมะมวงแชอ ่มิ

ครูผสู้ อน

ครนู ิภาพร แสงไพโรจน

เรยบเรยงโดย

ด.ญ.ฟารยี า ทองประดับ


Click to View FlipBook Version