ภาค 2
ความผิด
ลัคกวษาณมสะงบ๕สุคขวขาอมงผปิดรเะกีช่ยาวชกันบ
นางสาวศรุตา โสะเบ็ญอาหลี
รหัสนิสิต 641087052
สารบัญ หน้า
เรื่อง ๑
๒
มาตรา ๒๐๙ ๓
มาตรา ๒๑๐ ๔
มาตรา ๒๑๑ ๕
มาตรา ๒๑๒ ๖
มาตรา ๒๑๓ ๗
มาตรา ๒๑๔ ๘
มาตรา ๒๑๕ ๙-๒๐
มาตรา ๒๑๖
คำพิพากษาศาลฎีกาต่างๆ
คำนำ
หนังสือE-book เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายอาญา ๒
ภาคความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน โดยได้เน้นเนื้อ
หาเเละเเนวคำวินิจฉัยของศาลฎีกาเพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ให้กับ
นักศึกษาเเละทุกๆคน
ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าE-bookเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่ทุก
คนในการศึกษารายวิชากฎหมายอาญาในระดับสูงต่อไป
ศรุตา โสะเบ็ญอาหลี
ลักษณะ ๕
ความผิดเกี่ยวกับ
ความสงบสุขของประชาชน
มาตรา ๒๐๙
ผู้ใดเป็นสมาชิกของคณะบุคคลซึ่งปกปิดวิธีดำเนินการและมีความมุ่ง
หมายเพื่อการอันมิชอบด้วpกฎหมาย ผู้นั้นกระทำความผิดฐานเป็น
อั้งยี่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่
หมื่นบาท ถ้าผู้กระทำความผิดเป็นหัวหน้า ผู้จัดการหรือผู้มีตำแหน่ง
หน้าที่ในคณะบุคคลนั้น ผู้นั้นต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี และ
ปรับไม่เกินสองแสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเ
พิ่มเติม
ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๒๑๐
ผู้ใดสมคบกันตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป เพื่อกระทำความผิดอย่างหนึ่งอย่าง
ใดตามที่บัญญัติไว้ในภาค ๒ นี้ และความผิดนั้นมีกำหนดโทษจำคุก
อย่างสูงตั้งแต่หนึ่งปีขึ้นไป ผู้นั้นกระทำความผิดฐานเป็นซ่องโจร
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้าเป็นการสมคบเพื่อกระทำความผิด ที่มีระวางโทษถึงประหารชีวิต
จำคุกตลอดชีวิต หรือจำคุกอย่างสูงตั้งแต่สิบปีขึ้นไป ผู้กระทำต้อง
ระวางโทษจำคุกตั้งแต่สองปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สี่หมื่นบาทถึง
สองแสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๒๑๑
ผแูก้ใรต่ดะผูเทป้นปำั็ร้นนคะวจชกุาะามมแรใผปสินดรดฐทะีง่าชปไุนมรด้เะขว่ปชา็อุนมงไอออััั้้ด้งงง้ยปยยีีี่่่หหหรระรรืืืชอออุซซมซ่่่อโอองงงดโโโยจจจไรรรม่รเผูู้ว้ว้น่นัา้น
ผู้ใด มาตรา ๒๑๒
ต้อ(๔ง(ร)๓(ะ)๒ชว(่)า๑วอุง)ยปชโัจกจกทำัาดชหษรหวนะเ่นาอชาัท้่บีงยนุ่ยปีทค่เหรครดัีะรพลยืชอใุวยซม์กห่ทัี้หอบ่เองัร้ผขงูืโ้้อกยาีจ่ทเรหีร่ปะพร็โืทนำอดำนซสยัค่มกอใวใงาาหโชม้หิ้ทจกผแิรรอดัั้กไพ
ง่ฐอยัดีย้า่้งห์มนหยีร่าเหืรอืโปอร็พืดนโอรยซอดั่ร้กงยอคายีงป่รพหโรกรวจะรืกอรกะซซาท่่รออำองงคื่โนโวจจาหรมรแผริืดอล้วแต่กรณี
มาตรา ๒๑๓
ไจัตถซดม้่่าากอไสมางดมรคโ้คาวัจหดชาริมครกท้ืีมอ่าอุอั่้นผงงูยู้หยม่ใีตด่ีห้มตนวาำรายมกืยแอใทาีขพ่รหนบอัตรนขญง่รกอณงัคญ้ลหงัพะงยีตน่ใกิ้หวไารหกร้ทะวืีซก้่อสท่ใรซอำำ่นะงหอคทโองัวร้ำงัโจาบยครีมจ่หควครผาิวรนนดืมัาอ้หนมผซหิ่ผนดึิอรส่ดนืงงัอม้คนโนัอ้านนจยชู่แิรใดทกุ้นดลวักอ้ัย้นไะคงใบยดนี่้ตนหรก้รอรรทีืด่งะอปรทาพระหำัรวะควาชรหวุงคมาโนพมแ้ทาผวติษ่กดผู้
มาตรา ๒๑๔
ภถโ้บรผาิูุ้ทยกคใาษาคดขรลปจกอำซรึรง่คงะผุะูก้ตพทกไนำรฤมคะรตู่้ทิเววต่กำาาินนมเปศผสเ็ิาปนดา็ลมนนผัูจ้้ปกนปะีรไกหะเตมทป่ิร็ลืธำอุนงรคปโกะวราเทัาบปรมษ็กนไผกิร็มดผูไะ่้ทจเทีัด่กด้ำบินัหเญพหาื่ญทกอีั่พหชต่ิำวมไื่ยนนวั้บใกบิดนาทาีทภ่ซา่มอหคานรรื๒เดอรทา้ันน้ีง้บจหุตำต้รทือรัอ้งงทรีปส่ปะารวัรมบาีะหงชุรืมอให้
[อัตราโทษ แปก้รไะขมเวพลิ่กมฎเหติมมาโยดอยามญาาตร(าฉ
บ๔ับแที่ห่๒งพ๖)ระพรา.ศช.บั๒ญ๕ญ๖ัต๐ิ]แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา ๒๑๕
ตปโ้ปอรรทัครงบะผษระูวว้ถใทะา้าจุามวดงำษผาโผูคม้ิังุรก่ดท้กวโารสเไษยทุะปมม็ทจษ่นหกเำำัจนกคหรคิืุำันอกตววคัุ้กาไหสงกมรแอมนไ่ะผ้งเติามทป่ดก่ีสิำเคินหกบกหินหรนาืค้รอหรืาหนอเอปนปีึกปขย่ึ็่ง้เรนนหาัคดบงืผไรนอูหื้ไอมปนใีนปมึห่่ดงเใรหนัมอก้บีชิรยาอน้ื่ไอทกาาีส่ำปงีวมสุ่ั่ใหลธ่รเงัังดมกกบืิปบ่ในานไรรรหหบม้ะใร่เนทาเดนึุก่ทกิษงาิดกนแผูราก้ห้ทหสรีาา่รกยกนนรืึอ่รรวุบง่ทขนะะัหู้่าทงทเวมทจขืำำา่็ำนคยคญทหับขวว้ึวง้รา่านาืาปมมอทจใรทผผะััิิ้นบดงดใหจบถนชรั้้ำตื้้าาอ้นกทัผอนทู้ำ้ังงก้ลเตปงรัร้มงจอะืระำัอวงบททงาั้ำงง
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๒๑๖
เมื่อเจ้าพนักงานสั่งผู้ที่มั่วสุมเพื่อกระทำความผิด
ตามมาตรา ๒๑๕ ให้เลิกไป ผู้ใดไม่เลิก ต้อง
ระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน
หกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระ
ราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา
(ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4033/2562
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยกับพวกสมคบกันตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป กระทำความผิดฐานก่อการร้ายโดยใช้กำลังประทุษร้าย
พยายามฆ่าเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งกระทำการตามหน้าที่ สะสมกำลังพลหรืออาวุธเพื่อก่อการร้าย กระทำการอื่นใดเพื่อก่อให้
เกิดอันตรายแก่ชีวิต หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของรัฐหรือบุคคลอื่น ก่อให้เกิดหรือน่าจะเกิดความเสียหายทาง
เศรษฐกิจ อันเป็นการสมคบกันเพื่อกระทำความผิดอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่บัญญัติไว้ในภาค 2 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
และความผิดที่จำเลยกับพวกสมคบกันเพื่อกระทำมีกำหนดโทษประหารชีวิต จำคุกตลอดชีวิต หรือจำคุกอย่างสูงตั้งแต่สิบปี
ขึ้นไป และจำเลยกับพวกร่วมกันสะสมกำลังพล อาวุธและทรัพย์สินเพื่อก่อการร้าย อันเป็นการบรรยายฟ้องให้ลงโทษ
จำเลยกับพวกฐานร่วมกันเป็นซ่องโจร และฐานร่วมกันสะสมกำลังพลหรืออาวุธหรือสมคบกันเพื่อก่อการร้ายในการกระทำ
คราวเดียวกัน จึงเป็นการกระทำความผิดโดยมีเจตนาเดียวกัน อันถือเป็นการกระทำอันเป็นกรรมเดียวเป็นความผิดต่อ
กฎหมายหลายบท ให้ลงโทษฐานร่วมกันสะสมกำลังพลหรืออาวุธหรือสมคบกันเพื่อก่อการร้าย ซึ่งเป็นกฎหมายบทที่มีโทษ
หนักที่สุด ตาม ป.อ. มาตรา 90 ปัญหาดังกล่าวเป็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกา
ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1974/2532
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 216 มุ่งประสงค์ลงโทษผู้ที่ขัดคำสั่งของเจ้าพนักงานที่
ไม่ยอมเลิกการมั่วสุม เพื่อกระทำความผิดตามมาตรา 215 ซึ่งเป็นการกระทำที่ยังไม่
ถึงขั้นลงมือใช้กำลังประทุษร้ายขู่เข็ญ หรือทำให้เกิดความวุ่นวายอันเป็นความผิด
สำเร็จตามมาตรา 215หากเจ้าพนักงานมีคำสั่งให้เลิกแล้วผู้กระทำไม่ยอมเลิกและได้
กระทำการต่อ ไปจนเป็นความสำเร็จตามมาตรา 215 ผู้กระทำย่อมมีความผิดทั้ง
มาตรา 215 และ 216 อันเป็นการกระทำผิดกรรมเดียวเพราะเป็นเจตนาเดียวกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 346/2535
การมั่วสุมตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 215 ผู้มั่วสุมไม่จำต้องมีเจตนากระทำผิดในราย
ละเอียดอย่างเดียวกัน เพียงแต่เป็นการใช้กำลังประทุษร้ายหรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้
เกิดการ วุ่นวายขึ้นในบ้านเมืองก็เป็นความผิดแล้ว และผู้ที่มามั่วสุมก็ไม่จำต้องรู้จักหรือมีการนัด
หมายวางแผนกันมาก่อน ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 216 มุ่งประสงค์ลงโทษผู้
ที่ขัดขืนคำสั่งของเจ้าพนักงานที่ไม่ยอมเลิกการมั่วสุม กันเพื่อกระทำความผิดตามมาตรา 215 อัน
เป็นการกระทำที่ยังไม่ถึงขั้นที่ผู้กระทำได้ลงมือใช้กำลังประทุษร้าย ขู่เข็ญ หรือทำให้เกิดการ
วุ่นวายอันเป็นความผิดสำเร็จตามมาตรา 215 เมื่อเจ้าพนักงานได้สั่งให้จำเลยกับพวกเลิกการ
มั่วสุมภายหลังที่มีการกระทำ ผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 215 แล้ว แม้จำเลยทุกคน
ไม่เลิกการกระทำของจำเลยทุกคนก็คงเป็นความผิดตามประมวลกฎหมาย อาญามาตรา 215
เท่านั้นไม่เป็นความผิดตามมาตรา 216 ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4986/2533
ความผิดฐานเป็นซ่องโจรนั้น ผู้กระทำจ
ะต้องสมคบกันเพื่อกระทำความผิด คือ
ร่วมคบคิดกัน ประชุมปรึกษาหารือกัน หรือการแสดงออกซึ่งความตกลงจะ
กระทำผิดร่วมกัน อันมีสภาพเป็นการกระทำระหว่างผู้ร่วมกระทำผิดด้วยกัน
การที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 และที่ 5ร่วมกันเจรจากับเจ้าพนักงานตำรวจที่ไปล่อ
ซื้อเสนอขายรถจักรยานยนต์ที่ ถูกลักมาให้แก่เจ้าพนักงานตำรวจ มีลักษณะที่
เป็นการกระทำต่อบุคคลภายนอก การกระทำของจำเลยยังไม่เป็นความผิดฐาน
ซ่องโจร
คำพิพากษาศาลฎี
กาที่ 2657/2542
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทั้งสี่กับ ช. ร่วมกันเป
็นซ่องโจรโดยสมคบคิดกันตั้งแต่ 5 คน
เพื่อกระทำผิดฐานปล้นทรัพย์และชิงทรัพย์ผู้อื่น แต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าใน
คืนเกิดเหตุ ช. อยู่ร่วมกับจำเลยทั้งสี่ ดังนั้น พฤติการณ์ตามที่โจทก์กล่าวหาจำเลย
ทั้งสี่จึงไม่เป็นความผิดฐานซ่องโจร
ขณะจำเลยที่ 1 ขึ้นไปโดยสารรถของจำเลยที่ 4 จำเลยที่ 1 ได้นำอาวุธปืนซึ่งเป็น
ของตนเก็บไว้ในช่องที่เก็บของหน้ารถแล้วจำเลยที่ 1 นั่งโดยสารไปด้วย ถือว่า
ความครอบครองอาวุธปืนยังอยู่ที่จำเลยที่ 1 เมื่อจำเลยที่ 1 ลงจากรถลืมเอาอาวุธปืนลง
มา และต่อมาในเวลาใกล้ชิดกัน เจ้าพนักงานตำรวจจับจำเลยทั้งสี่ได้ ก็ยังถือว่าอาวุธ
ปืนดังกล่าวยังอยู่ในความครอบครองของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 4 จึงไม่มีความผิดฐานมี
อาวุธปืนไว้ในครอบครองและพาอาวุธปืนโดยไม่รับอนุญาต
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2452 - 2453/2562
ความผิดฐานเป็นซ่องโจรเป็นความผิดสำเร็จเมื่อมีการสมคบกันตั้งแต่ 5 คนขึ้นไปเพื่อกระทำความผิด
อย่างหนึ่งอย่างใดตามที่บัญญัติไว้ในภาค 2 ของประมวลกฎหมายอาญา และเมื่อผู้กระทำความผิดได้
สะสมกำลังพลหรืออาวุธ จัดหาหรือรวบรวมทรัพย์สิน ให้หรือรับการฝึกการก่อการร้าย หรือกระทำการ
อื่นใดตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 135/2 (2) จึงเป็นความผิดฐานร่วมกันสะสมกำลังพลหรืออาวุธ จัดหา
หรือรวบรวมทรัพย์สิน ให้หรือรับการฝึกการก่อการร้าย ตระเตรียมการอื่นใด หรือสมคบกันเพื่อ
ก่อการร้าย เมื่อจำเลยกับพวกมีเจตนาเดียวในการกระทำความผิดทั้งสองฐานนี้ จึงเป็นการกระทำอัน
เป็นกรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ซึ่งต้องลงโทษบทหนักฐานร่วมกันสะสมกำลังพล
หรืออาวุธ จัดหาหรือรวบรวมทรัพย์สิน ให้หรือรับการฝึกการก่อการร้าย ตระเตรียมการอื่นใด หรือ
สมคบกันเพื่อก่อการร้าย ตาม ป.อ. มาตรา 90 แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกาในปัญหานี้ แต่เป็นปัญหา
ข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย ศาลฎีกาเห็นสมควรแก้ไขเสียให้ถูกต้องตาม ป.วิ.อ. มาตรา
195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225ความผิดฐานร่วมกันมีวัตถุระเบิดที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบ
อนุญาตให้ได้ไว้ในครอบครองโดยผิดกฎหมาย และฐานร่วมกันมีเครื่องกระสุนปืนที่นายทะเบียนไม่
อาจออกใบอนุญาตให้ได้ไว้ในครอบครองโดยผิดกฎหมาย เป็นความผิดและระวางโทษตาม
พ.ร.บ.อาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง
และสิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ.2490 มาตรา 78 ประกอบมาตรา 55 อันเป็นบทมาตราเดียวกัน และมาตรา 4
(2) ให้คำนิยามของคำว่า เครื่องกระสุนปืน หมายความรวมตลอดถึงลูกระเบิดกฎหมายถือว่าวัตถุต้องห้าม
ทั้งสองชนิดเป็นวัตถุประเภทเดียวกัน ส่วนความผิดฐานร่วมกันมียุทธภัณฑ์ไว้ในครอบครองโดยไม่ได้
รับอนุญาต ซึ่งแม้เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ.2530 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง มาตรา
42 อันเป็นกฎหมายคนละฉบับกัน แต่สารเคมีชนิด PENTAERYTHRITOL TETRANITRATE (PETN) ที่
สามารถใช้เป็นวัตถุระเบิด และสารเคมีชนิด AMMONIUM NITRATE ที่ใช้เป็นส่วนผสมของวัตถุระเบิด
นอกจากเป็นยุทธภัณฑ์ตาม พ.ร.บ.ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ.2530 มาตรา 4 ประกอบประกาศกระทรวง
กลาโหม เรื่อง กำหนดยุทธภัณฑ์ที่ต้องขออนุญาตตาม พ.ร.บ.ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ.2530 ลงวันที่ 30
พฤศจิกายน 2550 ข้อ 2 แล้ว ยังเป็นวัตถุระเบิดซึ่งนายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ตามกฎ
กระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2522) ออกตามความใน พ.ร.บ.อาวุธปืนฯ ลงวันที่ 1 กรกฎาคม 2522 ด้วย
ดังนั้น วัตถุระเบิดและเครื่องกระสุนปืนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ และสารเคมีดังกล่าว
จึงเป็นวัตถุต้องห้ามประเภทเดียวกัน เมื่อจำเลยที่ 1 และที่ 3 ร่วมกันมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุทั้งสาม
ชนิดในขณะเดียวกัน การกระทำความผิดของจำเลยที่ 1 และที่ 3 จึงเป็นกรรมเดียวเป็นความผิดต่อ
กฎหมายหลายบท ซึ่งต้องลงโทษบทหนักฐานร่วมกันมีวัตถุระเบิดที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาต
ให้ได้ไว้ในครอบครองโดยผิดกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7997/2561
ความผิดฐานเป็นอั้งยี่เป็นความผิดสำเร็จเมื่อได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของคณะบุคคลซึ่งปกปิดวิธีดำเนินการ
และมีความมุ่งหมายเพื่อการอันมิชอบด้วยกฎหมาย จึงเป็นความผิดกรรมหนึ่ง ส่วนความผิดฐานเป็นซ่องโจร
เป็นความผิดสำเร็จเมื่อมีการสมคบกันตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปเพื่อกระทำความผิดอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่บัญญัติ
ไว้ในภาค 2 ของประมวลกฎหมายอาญา และเมื่อผู้กระทำความผิดได้สะสมกำลังพล หรืออาวุธ จัดหาหรือ
รวบรวมทรัพย์สิน ให้หรือรับการฝึกการก่อการร้าย หรือการกระทำอื่นใดตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 135/2
(2) จึงเป็นความผิดฐานร่วมกันสะสมกำลังพลหรืออาวุธ ตระเตรียมการหรือสมคบกันเพื่อก่อการร้าย เมื่อ
จำเลยที่ 1 และที่ 2 กับพวกมีเจตนาเดียวกันในการกระทำความผิดทั้งสองฐานนี้ เพื่อก่อการร้าย จึงเป็น
ความผิดกรรมเดียวตาม ป.อ. มาตรา 90 ซึ่งต้องลงโทษบทหนักฐานร่วมกันสะสมกำลังพลหรืออาวุธ ตระ
เตรียมการหรือสมคบกันเพื่อก่อการร้าย ซึ่งเป็นความผิดอีกกรรมหนึ่ง แต่เมื่อโจทก์มิได้อุทธรณ์หรือฎีกาขอ
ให้ลงโทษให้ถูกต้อง จึงไม่อาจแก้ไขเรียงกระทงลงโทษในส่วนนี้ได้เพราะจะเป็นการพิพากษาเพิ่มเติม
โทษจำเลยที่ 1 และที่ 2 ซึ่งต้องห้ามตาม ป.วิ.อ. มาตรา 212 ประกอบมาตรา 225 คงปรับบทลงโทษให้
ถูกต้องได้เท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2691 - 2692/2560
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งแปดสิบห้าฐานร่วมกันทำให้เกิดการวุ่นวายขึ้นในบ้านเมือง ฐาน
ร่วมกันข่มขืนใจผู้อื่นและฐานร่วมกันบุกรุกตาม ป.อ. มาตรา 215, 309, 364 และ 365 และขอให้
เรียงกระทงลงโทษตาม ป.อ. มาตรา 91 ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษเฉพาะความผิดฐานร่วมกัน
บุกรุกตาม ป.อ. มาตรา 365 (1) (2) (3) ประกอบมาตรา 364 และ 83 ลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1
ถึงที่ 29 ที่ 31 ถึงที่ 41 ที่ 43 ถึงที่ 46 ที่ 48 ถึงที่ 80 และที่ 82 คนละ 6 เดือน ยกฟ้องโจทก์ใน
ความผิดฐานร่วมกันทำให้เกิดการวุ่นวายขึ้นในบ้านเมือง และฐานร่วมกันข่มขืนใจผู้อื่น ตาม ป.อ.
มาตรา 215 และ 309 แม้ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่า จำเลยดังกล่าวมีความผิดฐานร่วมกัน
ทำให้เกิดการวุ่นวายขึ้นในบ้านเมือง และฐานร่วมกันข่มขืนใจผู้อื่นอันเป็นการแก้ไขมากก็ตาม
แต่ศาลอุทธรณ์ยังคงลงโทษจำคุกเพียง 6 เดือน ตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น กรณีมิใช่เป็นการ
เพิ่มเติมโทษ จึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.อ. มาตรา 219
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1622/2558
ความผิดฐานเป็นอั้งยี่ จำเลยกระทำความผิดโดยเป็นสมาชิกของคณะบุคคลซึ่งปกปิดวิธีดำเนินการ
และมีความมุ่งหมายเพื่อการอันมิชอบด้วยกฎหมาย ส่วนความผิดฐานก่อการร้ายนั้น จำเลยร่วม
กระทำความผิดด้วยการสะสมกำลังพลและอาวุธ จัดหาหรือรวบรวมทรัพย์สิน ให้หรือรับการฝึกการ
ก่อการร้าย ตระเตรียมการอื่นใดหรือสมคบกันเพื่อก่อการร้าย การกระทำความผิดทั้งสองฐานดัง
กล่าว แม้จำเลยจะได้กระทำในช่วงเวลาเดียวกัน แต่การกระทำความผิดนั้นเป็นการกระทำคนละ
อย่างแตกต่างกันและต่างกรรมต่างวาระกัน ทั้งเจตนาและความมุ่งหมายในการเป็นอั้งยี่และการ
ก่อการร้ายก็เป็นคนละอย่างต่างกัน การกระทำความผิดของจำเลยในความผิดฐานเป็นอั้งยี่และ
ก่อการร้ายจึงเป็นความผิดต่างกรรมต่างวาระกัน มิใช่เป็นการกระทำกรรมเดียวเป็นความผิดต่อ
กฎหมายหลายบท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 14715/2557
การที่จำเลยที่ 1 และที่ 2 ร่วมกันตัด
ผลปาล์มของผู้เสียหายจนหล่นลงมากองอยู่บนพื้น
เป็นการแยกหรือเคลื่อนที่ผลปาล์มออก
จากต้น แต่ยังไม่ทันรวบรวมผลปาล์ม ผู้เสียหายก็
มาพบเสียก่อน ยังถือไม่ได้ว่าจำเลยที่ 1 และที่ 2 เข้ายึดถือเอาผลปาล์มจำนวนนั้นไว้แล้ว
อันเป็นการเอาไปซึ่งทรัพย์ของผู้เสียหาย กรณีจึงเป็นความผิดฐานพยายามร่วมกันลัก
ทรัพย์เท่านั้น และถือเป็นเหตุในลักษณะคดี ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาให้มีผลไปถึง
จำเลยที่ 2 ที่มิได้ฎีกาด้วยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 521/2539
7 และที่ 8 เช่าสถานที่และซื้อ
จไำมเ้มลยาสทรี้่า1ง2โรใงหร้ถเงเินพื่จอำถเอลดยแที่ย1ก1ชิ้เนพืส่่อวใน
หร้นถำยไนปต์ใโหด้ยจำไเมล่ไยดที้่ สมคบกันเพื่อลักทรัพย์หรือรับ
ของโจรและเมื่อนับรวมกันแล้วก็มีเพี
ยง 4 คนเท่า นั้นส่วนคนร้ายที่ทำการถอดแยกชิ้น
ส่วนรถยนต์ก็ไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 12 ได้ร่วม สมคบในการลักทรัพย์ด้วยข้อเท็จจริงจึงไม่
พอฟังว่าจำเลยที่ 12 สมคบกับคนอื่น ตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปเพื่อกระทำความผิดฐาน ลัก
ทรัพย์หรือ รับของโจรอันจะเป็นความผิดฐานเป็น ซ่องโจร
เอกสารอ้างอิง
https://thai-crime-code.blogspot.com/2010/03/blog-post_6981.html?
m=1&fbclid=IwAR1ViivFhAnqbaOKeZN4xw3YxnIoofMv0FyWh1efQi9o_4UID-
_YOhyCdYQ
กลุ่ม 5
นางสาวศรุตา โสะเบ็ญอาหลี
รหัสนิสิต 641087052