The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สัญลักษณ์งานเชื่อม 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by มนตรี ศรีสุริ, 2020-02-28 02:58:03

สัญลักษณ์งานเชื่อม 1

สัญลักษณ์งานเชื่อม 1

บทท่ี 2
การทบทวนเอกสารและวรรณกรรมทเี่ กยี่ วข้อง

2.1 สัญลกั ษณ์การเช่ือม
2.1.1 สัญลกั ษณ์การเช่ือม

ช่างเช่ือมจะสามารถทาํ งานไดค้ ล่องแคล่วและรวดเร็ว เม่ือนาํ เอาวิธีการใช้สัญลกั ษณ์มา

แทนรายละเอียดต่างๆ ที่จะใชใ้ นการเช่ือม สญั ลกั ษณ์จะถูกเขียนไวใ้ นแบบงานซ่ึงจะเป็นการบอกให้รู้

กนั ทุกหน่วยงาน ทุกฝ่ าย ต้งั แต่ผูอ้ อกแบบถึงผูป้ ฏิบตั ิงานเชื่อม โดยเป็ นท่ีเขา้ ใจกนั ตามความมุ่งหมาย
เดียวกนั ทุกฝ่ าย

สาํ หรับสัญลกั ษณ์ของการเชื่อมท่ีจะนาํ มากล่าวในที่น้ี เป็นแบบมาตรฐานของ AWS
(American Welding Society) ซ่ึ งแบ บ ม าตรฐาน น้ี เป็ น ท่ี นิ ยม ใช้กัน ม าก เข้าใจได้ง่ายเป็ น
มาตรฐานสากล จึงสมควรท่ีช่างเช่ือม หรือผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งน้ีจะต้องทราบรายละเอียดและทาํ ความ
เขา้ ใจไดเ้ ป็นอยา่ งดี

2.1.2 ส่วนประกอบของสญั ลกั ษณ์งานเชื่อม
ความแตกต่างระหวา่ งสัญลกั ษณ์แนวเชื่อม และสัญลกั ษณ์การเช่ือม (Welding Symbols)
คือสัญลกั ษณ์แนวเช่ือม หมายถึงสัญลกั ษณ์ที่เก่ียวขอ้ งเฉพาะแนวเชื่อมเท่าน้ัน ส่วนสัญลกั ษณ์การ
เชื่อม หมายถึงสญั ลกั ษณ์การเช่ือมท่ีประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ 8 ส่วน หรือบางส่วนท่ีจาํ เป็น
สัญลกั ษณ์การเชื่อม ประกอบดว้ ยส่วนตา่ งๆ 8 ส่วนคือ
- เส้นฐาน
- หวั ลูกศร
- สญั ลกั ษณ์แนวเชื่อมพ้ืนฐาน
- ขนาดและขอ้ มูลอื่น ๆ
- สญั ลกั ษณ์เพิม่ เติม
- สญั ลกั ษณ์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การแต่งผวิ แนวเชื่อม
- หางลูกศร
- ขอ้ งกาํ หนดรายละเอียด กรรมวธิ ีการเชื่อม หรือการอา้ งอิงอื่นๆ
สัญลกั ษณ์ที่เป็ นส่วนประกอบ 8 อย่างน้ี ส่วนท่ีไม่ประสงค์จะกาํ หนดให้มีกบั งานแต่ละอย่างก็ไม่
จาํ เป็ นตอ้ งใส่ลงไปในหางลูกศร และเมื่อไม่ตอ้ งการจะกาํ หนดรายละเอียดใดๆ ก็ไม่จาํ เป็ นตอ้ งเขียน
หางลูกศรลงไป โดยส่วนประกอบท้งั 8 เม่ือประกอบกนั เป็ นสัญลกั ษณ์การเช่ือมจะตอ้ งเขียนลงตาม
ตาํ แหน่งน้นั ๆ ท่ีกาํ หนดไวใ้ หถ้ ูกตอ้

4

รูปท่ี 2.1 แสดงตาํ แหน่งต่างๆ ของสญั ลกั ษณ์การเชื่อม
2.1.3 เส้นฐานและหวั ลูกศร ( Reference line and arrow)
1.ถา้ กาํ หนดใหเ้ ช่ือมดา้ นที่มีลูกศรช้ีก็ตอ้ งเขียนสัญลกั ษณ์ไวด้ า้ นล่างของเส้นฐาน

รูปที่ 2.2 เชื่อมดา้ นหวั ลูกศรช้ี
2.กาํ หนดใหเ้ ช่ือมดา้ นท่ีอยตู่ รงขา้ มกบั หวั ลูกศรช้ี

รูปท่ี 2.3 เช่ือมดา้ นตรงกนั ขา้ มกบั หวั ลูกศร

5

3. กาํ หนดใหเ้ ชื่อมสองดา้ น ( Both side ) กต็ อ้ งเขียนสญั ลกั ษณ์ไวท้ ้งั สองดา้ นของเส้น
ฐาน

รูปท่ี 2.4 แสดงหวั ลูกศรช้ีในทิศทางต่างๆ
2.1.4 สัญลกั ษณ์รอยเชื่อม

รูปท่ี 2.5 สัญลกั ษณ์ของรอยเช่ือม

6

2.2 การเตรียมชิ้นงานก่อนการเชื่อม
คุณภาพของงานเชื่อม นอกจากจะไดจ้ ากทกั ษะในการเช่ือมที่ดีแลว้ ยงั ไดจ้ ากการเตรียม

ชิ้นงานท่ีถูกตอ้ งตามลักษณะของงาน ซ่ึงโดยทั่ว ๆ ไปแล้วชิ้นงานที่จะนาํ เช่ือมจะตอ้ งทาํ ความ
สะอาดสิ่งสกปรกต่าง ๆ เช่น สนิม คราบน้าํ มนั จารบี สี หรืออื่น ๆ ออกใหห้ มดเพราะจะเป็ นผลเสีย
ตอ่ ชิ้นงาน

รูปที่ 2.6 การบากชิ้นงานก่อนเชื่อม

7

2.3 มาตรฐานลวดเชื่อม
ลวดเชื่อมในปัจจุบนั มีมากมายแตกต่างกนั ไปหลายชนิดหลายมาตรฐาน สถาบนั หรือ

สมาคมต่างๆไดพ้ ยายามกาํ หนดมาตรฐานลวดเช่ือมข้ึนเป็ นคุณสมบตั ิเฉพาะของแต่ละสถาบนั เพื่อ
เป็นระบบมาตรฐานเป็ นท่ียอมรับของผใู้ ช้ โดยกาํ หนดสัญลกั ษณ์แตกต่างกนั ออกไป ช่างเชื่อมควรจะ
รู้และศึกษาใหเ้ ขา้ ใจในมาตรฐานลวดเช่ือมแตล่ ะสถาบนั ของประเทศต่างๆ

2.3.1 มาตรฐานลวดเชื่อมของสมาคมการเช่ือมประเทศสหรัฐอเมริกา (AWS)
สมาคมเช่ือมของสหรัฐอเมริกาใช้อักษรย่อ AWS ซ่ึงย่อมาจาก American Welding
Society เป็ นสมาคมเป็ นสมาคมเชื่อมท่ียอมรับกนั ทวั่ โลกโดยเฉพาะประเทศไทย ตวั อยา่ งสัญลกั ษณ์
ลวดเชื่อม ซ่ึงมีท้งั ลวดเช่ือมไฟฟ้าและลวดเชื่อมก๊าซ เช่น E6010, E6013, E7016 และ E7018 ส่วนลวด
เชื่อมก๊าซ เช่น RG 45 และ RG 60 เป็นตน้

รูปท่ี 2.7 ความหมายของสัญลกั ษณ์
ตวั อยา่ ง E6011
E (ตวั อกั ษรหนา้ ) หมายถึง ลวดเช่ือมไฟฟ้า
60 (เลข 2 ตวั หนา้ ) หมายถึง 60 x 1,000 = 60,000 มีหน่วยเป็นปอนดต์ อ่ ตารางนิ้ว (PSI)
1 (ตวั เลขท่ี 3) หมายถึง ทา่ เช่ือมท่ีเหมาะกบั ลวดเชื่อมน้นั ๆ ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี

เลข 1 หมายถึง ทา่ ราบ ท่าต้งั ท่าขนานนอน ทา่ เหนือศีรษะ
เลข 2 หมายถึง ทา่ ขนานนอน และทา่ ราบเท่าน้นั
เลข 3 หมายถึงทา่ ราบเท่าน้นั
1 (เลขตวั ที่ 4,5) หมายถึงคุณสมบตั ิตา่ ง ๆ ของลวดเชื่อม ดงั รายละเอียดจากตารางที่ 2.1

8

ตารางที่ 2.1 แสดงความหมายตา่ ง ๆ ของตวั เลขที่ 4 หรือ 5

รูปที่ 2.8 ใบรับรองคุณภาพมาตรฐานลวดเชื่อม AWS A5.1 E7016

9

2.4 คุณสมบตั ชิ ่างเชื่อมและการทดสอบช่างเชื่อม
2.4.1 ประสบการณ์ (Experience) ช่างเชื่อมที่มีประสบการณ์อาจไดร้ ับอนุญาตใหส้ อบเพ่ือ

การรับรองโดยไม่ตอ้ งผา่ นการอบรมก่อน ถา้ ช่างเชื่อมสอบไม่ผา่ นภาคความรู้จะตอ้ งฝึ กอบรมเตรียม
เขา้ ทาํ งานของช่างเชื่อมและการฝึกอบรมยกระดบั ก่อน

2.4.2 ช่างเชื่อมจะต้องทาํ การสอบสําหรับภาคความรู้งานเชื่อมท่อด้วยวิธีสอบขอ้ เขียน
ปรนยั และสอบปากเปล่าก่อนท่ีจะทาํ การสอบภาคปฏิบตั ิ

2.4.3 เมื่อผา่ นการสอบขอ้ เขียนแลว้ ก็จะทาํ การสอบปฏิบตั ิ โดยการลงมือเช่ือมจริง และนาํ
วสั ดุท่ีเช่ือมไปทาํ การทดสอบโดยใชร้ ังสี (Radiographic test) ทดสอบแนวเช่ือม ดงั รูป 2.10 ถา้ แนว
เช่ือมแนวแรกท่ีเชื่อมสมบูรณ์แล้วผ่านการยอมรับตามข้อกาํ หนดคุณภาพ (WPS) โดยผ่านการ
ถ่ายภาพรังสี จะออกใบและบตั รรับรองช่างเช่ือมให้ แต่ถา้ แนวเช่ือมไม่ไดค้ ุณภาพตามท่ีกาํ หนดและ
ไมผ่ า่ นการตรวจดว้ ยภาพถ่ายรังสี ช่างเช่ือมตอ้ งสอบใหมต่ ามเง่ือนไขการสอบแกต้ วั

รูปที่ 2.9 ใบรับรองฝีมือช่างเช่ือม

10

รูปท่ี 2.10 ใบบนั ทึกการตรวจสอบดว้ ยรังสี

11

รูปท่ี 2.11 การอบรมช่างเชื่อมและการทดสอบช่างเช่ือม
2.4.4 ความปลอดภยั ในการเชื่อม มาตรการป้องกนั ส่วนบุคคลการเกิดไฟฟ้าดูด รังสีไหม้
ผิวหนังและตา การบาดเจ็บจากโลหะร้อน สะเก็ดจากการเช่ือม ควนั ท่ีออกมาจากการเผาไหม้ ไอ
ระเหยของโลหะเติมและชิ้นงานเช่ือม การเกิดแก็สพิษจากการเช่ือมเหลก็ กลา้ คาร์บอนดว้ ยแกส็
2.4.5 การใชเ้ ครื่องมือวดั ของช่างเชื่อม
1.การใชเ้ ครื่องมือร่างแบบ เช่น สายวดั ระยะ ฉาก บรรทดั เหล็ก โปรแทรกเตอร์ เวอร์เนียร์
คาลิปเปอร์ ระดบั น้าํ และบรรทดั ออ่ น
2. การใช้เครื่องมือวดั อุณหภูมิ เช่น ท่ีวดั อุณหภูมิแบบสัมผสั (Contact pyrometer) ชอล์ก
วดั อุณหภูมิ สีวดั อุณหภูมิ และเทอร์โมคปั เปิ้ ล (Thermo cupple)
3. การใชอ้ ุปกรณ์การวดั แนวเชื่อม เช่น เกจวดั แวน่ ขยาย ไฟฉาย กระจกเงา ฯลฯ
4. การดูแลและบาํ รุงรักษาเคร่ืองมือวดั

12

2.4.6 เทคนิคการเช่ือม (Welding Technique)
เปลวอาร์ค ระยะอาร์ค มุมลวดเช่ือมหนา้ ท่ีของฟลกั ซ์หุ้มลวดเช่ือม รวมถึงความสม่าํ เสมอ
ของเปลวอาร์ค การลดแก๊สในบ่อหลอม แก๊สปกคลุม แสรก สมบตั ิของเน้ือโลหะ การออกแบบ
รอยต่อ การเตรียมแนวเช่ือม การประกอบรอยต่อ การทาํ ความสะอาดรอยต่อการอุ่นชิ้นงานและการ
ใหค้ วามร้อนหลงั เช่ือม
2.4.7 ช่วงเวลาที่มีผลในการรับรอง (Period of Validity)
การรับรองช่างเช่ือม จะมีผล 2 ปี โดยในใบและบตั รประจาํ ตวั ช่างเช่ือม จะตอ้ งมีการลง
นามทุก ๆ 6 เดือนของผจู้ ดั การดา้ นประกนั คุณภาพ ( QA/QC Supervisor ) หรือวศิ วกรรมการเช่ือมท่ี
ผา่ นการรับรอง ( Certified Welding Engineer ) โดยตอ้ งทาํ ตามเงื่อนไขตอ่ ไปน้ี
1. จะตอ้ งไดร้ ับการประกนั วา่ ช่างเชื่อมไดท้ าํ งานอยา่ งเหมาะสมและต่อเนื่องในงานเช่ือม
ที่ไดร้ ับการรับรอง การขาดช่วงการทาํ งานเกินกวา่ 6 เดือนจะไมไ่ ดร้ ับการรับรอง
2. การทาํ งานของช่างเช่ือมจะตอ้ งไดร้ ับการยอมรับโดยทว่ั ไปตามเกณฑ์ขอ้ กาํ หนดทาง
เทคนิคตามที่ช่างเช่ือมน้นั ไดร้ ับการรับรองฝีมือช่างเชื่อม
3. ช่างเชื่อมจะตอ้ งแสดงให้เห็นถึงฝีมือและความรู้อยา่ งเด่นชดั

รูปท่ี 2.12 บตั รประจาํ ตวั ช่างเชื่อม
2.5 การเชื่อมทกิ (Tungsten inert gas welding)

TIG ยอมาจาก TUNGSTEN INERT GAS เครื่องเชื่อมระบบทิก (TIG) ใชก้ ารนาํ กระแสท่ี
ปลายลวดทงั สเตน ส่งผา่ นไปที่แนวเช่ือมเพื่อใหเ้ กิดการหลอมละลายของชิ้นงาน โดยใชแ้ กส๊ เฉื่อยซ่ึง
ทวั่ ๆไปนิยมใชแ้ ก๊สอาร์กอน เป็นแก๊สปกคลุมแนวเชื่อม มีชื่อเรียกการเชื่อมน้ีวา่ GTAW. ยอ่ มาจาก คาํ
วา่ gas tungsten arc welding ช่ือที่เรียกมาจากสมาคมการเชื่อมทางอเมริกา (American welding society
หรือ AWS.) การเช่ือมวิธีน้ีเบ้ืองตน้ จะเชื่อมโดยไม่ตอ้ งมีเน้ือลวดแต่ใช้การความร้อนเป็ นตวั หลอม

13

เน้ืองานให้ติดกนั นอกเสียจากการเช่ือมบางชิ้นงานที่อาจจะตอ้ งมีลวดเติมเพื่อความสมบูรณ์ขณะ
ชิ้นงานและไดแ้ นวเช่ือมที่ตอ้ งการ

ก่อนท่ีจะเริ่มปฏิบตั ิการตรวจสิ่งตา่ ง ๆ ที่จะเป็ นตอ้ งใชจ้ ากตาราง หรือหนงั สือคูม่ ือในการ
เชื่อม โลหะประเภทน้ัน ๆ เช่น ขนาดของทังสเตนอีเลกโทรด ชนิดของกระแสไฟเช่ือม จาํ นวน
แอมแปร์และปริมาณการไหลของแก๊สเฉ่ือย และอ่ืน ๆ ที่จาํ เป็ นให้ถูกตอ้ ง เพ่ือจะนาํ มาใชก้ ารปฏิบตั ิ
ตามชนิดของ โลหะและความหนาของชิ้นงานตามสถานภาพใหเ้ ป็นไปอยา่ งถูกตอ้ ง

ในการเตรียมงานโดยทวั่ ไป ๆ แยกเป็นความสาํ คญั ได้ 3 เรื่องใหญ่ คือ
1. การเตรียมชิ้นงานจะเชื่อม
2. การเตรียมอุปกรณ์และเคร่ืองเชื่อม
3. การเตรียมลวดเช่ือม
2.5.1การเตรียมชิ้นงานเช่ือม
1. การทาํ ความสะอาดชิ้นงาน อาจจะทาํ ได้โดยการขดั หรือเจียรนัยไดโ้ ดยการใช้แปลง
ลวด กระดาษทราย หรือหินเจียรนยั โลหะ อลูมิเนียมควรหลีกเลี่ยงการใชห้ ินเจียรนยั และ
กระดาษทรายเพราะจะ ทาํ ใหเ้ ศษเมด็ ทรายฝังตวั ในเน้ืออลูมิเนียมได้ เม่ือทาํ การเช่ือมแลว้
จะเกิดความสกปรกหรือมลทินในรอยเช่ือมได้
2. การขจดั คาบไขมนั ต่าง ๆ น้าํ มนั จาระบีความช้ืน และฝ่ ุนละอองสามารถขจดั ดว้ ยการ
ลา้ ง ดว้ ยน้าํ ด่างหรือลา้ งดว้ ยไฮโดรเจนคาร์บอน เช่น อะชิโตน แอลกอฮอล์ แต่ถา้ เป็ นมนั
ออกไซดใ์ หท้ าํ ความ สะอาดดว้ ยการลา้ งดว้ ยน้าํ สะอาด อีกวธิ ีหน่ึง
3. การเตรียมรอยต่อชิ้นงาน ถา้ ชิ้นงานมีความหนามาก ๆ การเตรียมรอยต่อของชิ้นงาน
ตอ้ งบากเป็นรูปต่าง ๆ ตามความเหมาะสมหรือตามบนท่ีกาํ หนด
4. การอุ่นชิ้นงาน ชิ้นงานท่ีเป็นตวั นาํ ความร้อนท่ีดีและชิ้นงานหนามาก ๆ ตอ้ งใชก้ าร อุ่น
ชิ้นงาน ก่อนทาํ การเช่ือม เช่น

ตารางท่ี 2.2 อุณหภูมิการอุ่นชิ้นงาน

14

2.5.2 การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องเช่ือม
ในการเช่ือมTIG เราต้องรู้ว่าอุปกรณ์ที่ประกอบการเชื่อมให้ดีข้ึนน้ันมีอะไรบ้าง
ตัวอย่างเช่นเตรียมแท่งทังสเตนให้ถูกต้อง กระแสไฟเชื่อม (DC,AC) กระแสไฟท่ีใช้เช่ือมก่ี
แอมแปร์รวมท้ังขนาด Nozzle ให้เหมาะสม และก่อนลงมือเชื่อมต้องตรวจสอบอัตราการ
ไหลของแก๊สปกคลุม การไหลของ น้ําหล่อเย็น ตรวจสอบอุปกรณ์บนเครื่อง (Function) เช่น
สวิทช์เปลี่ยนกระแส และสวิทช์ สําหรับใช้ความถี่ ตลอดจนลูกบิดควบคุมหรือปรับต่าง ๆ ให้
ถูกตอ้ งตามลกั ษณะของงาน

รูปท่ี 2.13 อุปกรณ์และเครื่องเช่ือมทิก
2.5.3 การเตรียมลวดเช่ือม
ในการเชื่อมทุกคร้ังเม่ือชิ้นงานสะอาดแท่งทงั สเตนสะอาด รอยเช่ือมท่ีเกิดข้ึนก็สะอาด
ไป ด้วย ดงั น้ันลวดเช่ือมก็ควรทาํ ความสะอาดไปดว้ ยกนั เหมือนกบั ชิ้นงาน โดยใช้ฝอยเหล็กขดั ถู
หรือขดั ด้วย กระดาษทราย ในการเชื่อมเราต้องหาลวดเช่ือมท่ีมีส่วนผสมของธาตุต่าง ๆ เหมือน
โลหะชิ้นงานเช่ือมแต่ ถ้าไม่ได้โดยสุดวิสัย ก็ให้ตัดส่วนของชิ้นงานเช่ือมมาทาํ เป็ นลวดได้ใน
บางคร้ัง แตห่ า้ มนาํ ลวดเช่ือมดว้ ย แก๊สแทนลวดเชื่อมแบบ TIG
การเช่ือม TIG คลา้ ยกบั การเช่ือมด้วยแก๊ส มีลกั ษณะการเชื่อมด้วยการ เชื่อมแบบสร้าง
บ่อหลอม ละลายให้ชิ้นงานสองชิ้น หลอมละลายติดกนั หรือ การเช่ือมสร้างบ่อหลอมละลายแล้ว

15

เติมลวดเติม (Rod) ลงไปในเน้ือแนวเชื่อม ซ่ึงเน้ือเช่ือมท่ีได้จะมีคุณสมบัติท่ีเหมือนกับลวดเติม
ลวดเติม สําหรับการเช่ือมTIG มีอยูห่ ลายรูปแบบ ไดแ้ ก่ แท่งตรง (Rot) ใชใ้ นเช่ือมทวั่ ไป และมว้ น
(Spool Wire) ใชใ้ นการเชื่อมแบบ อตั โนมตั ิ ขนาดความโตและความยาวเป็ นไปตามมาตรฐาน ซ่ึงใน
ท่ีน้ีจะ ขอยกตวั อย่าง ตาม AWS ไดม้ ี ขอ้ กาํ หนด ถึงส่วนผสมของวสั ดุเติมชนิดต่าง ๆ สําหรับการ
เชื่อม TIG ดงั น้ี

ตารางที่ 2.3 ชนิดของลวดเติมกบั ชิ้นงานท่ีใชเ้ ช่ือม

ตวั อยา่ ง ลวดเติมเหล็กกลา้ คาร์บอน ตาม AWS A5.18
ER 70S-2

E = Electrode
R = Rod
70 = ความเคน้ แรงดึงต่าํ สุด
S = ลวดไส้ตนั
2 = ส่วนผสมทางเคมี
ตวั อยา่ ง ลวดเติมสแตนเลส ตาม AWS A5.9
ER-347
E = Electrode
R = Rod
347 = ส่วนผสมของผงสแตนเลส โดยกาํ หนดเป็นเบอร์ ซ่ึงเบอร์ 347

เป็นชนิดออสเทนไนท์ (กลุ่ม 300)
ฉะน้ันการเลือกชนิดของลวดเติม (Rod) จึงมีความสําคญั ท่ีจะทําให้เน้ือแนวเชื่อมมี
คุณภาพ และในบางคร้ังการเช่ือมเหล็กหล่อ สามารถใชล้ วดเติม สแตนเลสในการเชื่อมได้

16

2.6 การวดั บิดในการประปอบหน้าแปลนโดยใช้ประแจปอนด์
แรงบิด เป็ นปริมาณการวดั อยา่ งหน่ึงที่ถูกใช้อยูอ่ ย่างมากในทางฟิ สิกส์และวศิ วกรรม อีก

ท้งั ยงั เป็ นหน่วยวดั หน่ึงในหน่วยวดั สากล (SI Units) มีหน่วยเป็ นนิวตนั เมตร (N m) ค่าของปริมาณ
แรงบิดหาไดจ้ ากผลคูณของแรงกบั ระยะต้งั ฉากกบั แนวแรงที่กระทาํ

รูปที่ 2.14 แรงท่ีกระทาํ
สมการแรงบิดจากผลคูณของแรงกบั ระยะต้งั ฉากกบั แนวแรงท่ีกระทาํ

Torque = Force x Perpendicular Distance
T=F•r
เหตุผลหน่ึงท่ีสําคญั คือ เพื่อควบคุมแรงประกอบชิ้นงาน ผลิตภณั ฑ์ ชิ้นส่วนเหล่าน้ีต่าง
รูปร่างหรืออาจจะต่างวสั ดุ การประกอบให้เขา้ กนั เป็ น 1 ผลิตภณั ฑ์จาํ เป็ นตอ้ งใชเ้ ทคนิคการประกอบ
ชิ้นงานและวธิ ีการหน่ึงท่ีมีประสิทธิภาพ คือ การขนั ประกอบดว้ ยน็อตหรือสกรูซ่ึงใชอ้ ยา่ งแพร่หลาย
ในปัจจุบนั น้ี โดยปกติชิ้นส่วนแตล่ ะชิ้นจะถูกออกแบบใหใ้ ชแ้ รงประกอบ (Lamp Load) ท่ีแตกต่างกนั
ตามประเภทของวสั ดุท่ีใช้ทาํ ชิ้นงานและวตั ถุประสงค์ของชิ้นงานน้ันๆ แรงประกอบท่ีต้องการ
สามารถเลือกตามขนาดของน็อตส่งผลใหป้ ริมาณแรงบิดที่ใชข้ นั ประกอบต่างกนั
2.6.1 ประแจปอน (Hand torque tools) เป็ นอุปกรณ์พ้ืนฐาน ที่ใช้ในการประกอบชิ้นงาน
มีความถูกต้องอยู่ที่ 4% - 6% ประแจปอนถูกผลิตและสอบเทียบความมาตรฐานตาม ISO 6789 :
2003(E) ถูกแบ่งออกเป็ นสองกลุ่มตามลกั ษณะงาน คือ กลุ่มประแจ (Wrench) ใชง้ านดว้ ยแรงบิดท่ีมี
แรงขา้ งกระทาํ เหมาะสําหรับท่ีตอ้ งการแรงบิด 10 นิวตนั เมตร ถึง 1000 นิวตนั เมตร และกลุ่มไขควง
(Screw Driver) ใชง้ านดว้ ยแรงบิดบริสุทธ์ิเหมาะสมกบั งานที่ตอ้ งการแรงบิดต่าํ กวา่ 10 นิวตนั เมตร

17

ในปัจจุบันประแจปอนที่ใช้ระบบลมหรือระบบไฟฟ้าดังรูป 2.13 ได้ถูกนํามาใช้
ภาคอุตสาหกรรมมากข้ึน เน่ืองจากผอ่ นแรงผใู้ ชง้ านและลดเวลาไดอ้ ยา่ งมาก

รูปท่ี 2.15 Hand torque tools

รูปที่ 2.16 Indicating torque tools

รูปที่ 2.17 Indicating torque tools

18

2.6.2 คา่ ความคลาดเคลื่อนสูงสุดที่ยอมรับได้ สามารถอธิบายด้งั ตารางตอ่ ไปน้ี
ตารางท่ี 2.4 Permissible deviation (Type I)

ตารางที่ 2.5 Permissible Deviation (Type II, Classes A, B, D, E and G)
ตารางที่ 2.6 Permissible Deviation (Type II, Classes C and F)

19

2.3.3 การเฝ้าระวงั ความถูกตอ้ งของประแจปอนดใ์ นโรงงาน
สําหรับโรงงานอุตสาหกรรมท่ีเข้าสู่ระบบคุณภาพ ถูกกาํ หนดให้ตระหนักถึงวิธีการ

ควบคุมเคร่ืองมือวดั ในท่ีน้ีรวมถึงประแจปอนด์ ซ่ึงเป็ นเคร่ืองมือประกอบชิ้นงานในอุตสาหกรรมดงั
ไดก้ ล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ การเฝ้าระวงั ความถูกตอ้ งของประแจปอนด์ในโรงงาน เป็ นการสร้างความ
มนั่ ใจของผูใ้ ช้งานและเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของประแจปอนด์ก่อนนาํ ไปใช้ โดยนาํ ประแจ
ปอนด์ไปทดสอบกบั เครื่องทดสอบแรงบิด (Torque Tester) ผลการทดสอบจะตอ้ งถูกบนั ทึกให้เห็น
แนวโนม้ ของค่าเบ่ียงเบนเทียบกบั เกณฑย์ อมรับของเครื่องมือ เพื่อให้สามารถพยากรณ์ความผดิ พลาด
ที่เกิดข้ึนได้

การปฏิบตั ิการทดสอบควรกระทาํ ทุกคร้ังก่อนเร่ิมงานในแต่ละวนั ข้นั ตอนการดาํ เนินการ
ควรจะส้ันไม่ซับซ้อน ตวั อยา่ งเช่น การทดสอบประแจปอนด์ Type II, Class A พิสัย 100 นิวตนั เมตร
โรงงานควรจะตอ้ งมี Torque tester อยา่ งน้อย พิสัย 100 นิวตนั เมตร ถ้าจะให้เหมาะสมป้องกนั ความ
เสียหายจากการใช้เกินกาํ ลงั ควรมีพิสัย ขนาด 200 นิวตนั เมตร ก่อนเร่ิมทาํ งานประแจปอนด์ดงั กล่าว
จะต้องถูกต้งั ค่าท่ีพิสัยการวดั น่ันคือ 100 นิวตนั เมตร แล้วทาํ การวดั ทิ้งไม่น้อยกว่า 1 คร้ัง โดยไม่
บนั ทึกค่า จากน้นั ทาํ การวดั อีกคร้ัง 5 คร้ังและบนั ทึกค่าทุกคร้ัง แลว้ ทาํ การปรับต้งั ค่าลงมาที่จุดต่าํ สุด
ทุกคร้ังก่อนเก็บเคร่ืองมือ ผลการวดั ท้งั 5 คร้ัง ตอ้ งไมเ่ กิน 4 % ตามค่าเบี่ยงเบนท่ียอมรับได้


Click to View FlipBook Version