The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐและ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paeinlove, 2021-03-29 00:12:57

การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐและ

การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐและ

ผลประโยชนท บั ซอน

โดย
นายภมู วิ ัฒน รตั นผล
ผเู ชี่ยวชาญดานการไตส วนและกฎหมาย

หามปฏิบัตติ า ง ๆ

 1.หา มเปนคสู ญั ญา หรอื มีสวนไดเสยี ในสัญญาเปนหุนสวน หรือผูถือหุน
ในองคกรธุรกิจ ที่เขาเปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐท่ีเจาหนาท่ีของ
รัฐผูน้ันมีอํานาจกํากับดูแล ควบคุม ตรวจสอบ หรือดําเนินคดี หามรับ
สัมปทาน หรือคงไวซ่ึงสัมปทานจากรัฐ หรือเขาเปนคูสัญญากับ
หนวยงานของรัฐอันเปนการผูกขาดตัดตอน และหามเปนกรรมการ ท่ี
ปรึกษา ตัวแทน พนักงานหรือลูกจาง ในองคกรธุรกิจที่อยูภายใตการ
กาํ กบั ควบคุม ตรวจสอบ องคก รของรัฐท่ีเจาหนา ที่ของรฐั ผูนนั้
สงั กัดอยู

(ปจจุบันคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกําหนดเฉพาะตําแหนงนายกรัฐมนตรี,
รฐั มนตร)ี

2. การรับทรพั ยส ินตามธรรมจรรยา และท่ีไดมาจากการปฏิบตั ิหนา ท่ี
ตอ งเปนไป ตามหลกั เกณฑท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกําหนด
3. หามใชข อมลู ภายในโดยทจุ รติ
4. หามใชทรพั ยส ินของรัฐ หรือหนวยงานของรัฐ เพือ่ ประโยชนของตนเอง
หรือ บุคคลอื่นซึ่งไมม สี ิทธโิ ดยทจุ รติ
5. หามริเริม่ เสนอ จัดทาํ หรอื อนุมัติโครงการของรัฐโดยทุจริต เพอื่ เออื้
ประโยชน
ตอ ตนเอง หรือบุคคลใด บคุ คลหนงึ่ โดยเฉพาะ ไมวา ทางตรงหรอื ทางออม
6. หา มใชอาํ นาจหนาทีซ่ ึ่งตนมอี ยู ไปมอี ิทธิพลตอ การตดั สินใจโดยอสิ ระ
ในการใชอํานาจตามตําแหนงหนาทข่ี องเจา หนา ท่ีของรฐั ซงึ่ ดํารงตาํ แหนง โดย
ทจุ ริต
ไมว าทางตรงหรือทางออ ม คือ
- อนุมตั ิ อนญุ าต จดทะเบยี น ใหส ทิ ธิประโยชน อนั อาจคาํ นวณเปน เงนิ ได

ผลกระทบตอเจาหนาทข่ี องรัฐ

- เจา หนา ทีข่ องรัฐตองปรบั เปลีย่ นทศั นคติ คา นิยม จากการใชตาํ แหนง
หนาที่หาประโยชน เปนใชต ําแหนงหนาทที่ าํ ประโยชนเพอื่ รฐั และ
ประชาชน

- การไดร บั ประโยชนตองเปน ไปตามกฎหมาย
- การปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ องเปน ทางการมใิ ชเร่อื งสว นตวั
- แยกเรื่องประโยชนส วนบุคคล และประโยชนส วนรวมออกจากกันได
- ไมกระทําการอันเปนการขดั กันระหวา งประโยชนส วนบุคคลและ

ประโยชนสวนรวม

ความหมายและประเภทของการขัดกนั ระหวางประโยชนสว นบุคคลกบั
ประโยชนส วนรวม

 ความขดั แยง (Conflict) สถานการณท ่ีขดั กนั ไมลงรอยเปน เหตุการณ
อนั เกดิ ขนึ้ เมือ่ บคุ คลไมสามารถตัดสนิ ใจกระทําอยางใดอยางหนงึ่ ความ
ขัดแยง อาจเกดิ ขึน้ ไดจ ากความไมลงรอยกนั ในเร่อื งความคิด แนวทางปฏบิ ตั ิ
หรอื ผลประโยชน

 ผลประโยชนส ว นตน (Private Interests) เปนผลตอบแทนที่
บุคคลไดรบั โดยเห็นวามคี ุณคาท่ีจะสนองตอบความตองการของตนเองหรอื
ของกลมุ ที่ตนเองเกีย่ วของ ผลประโยชนเ ปน สงิ่ จงู ใจใหค นเรามพี ฤติกรรม
ตางๆ เพอื่ สนองความตองการทง้ั หลาย (เพญ็ ศรี วายวานน2527:154)

ความหมายและประเภทของการขดั กนั ระหวางประโยชนส ว นบุคคลกบั
ประโยชนส ว นรวม (ตอ)

 ผลประโยชนสว นรวมหรือผลประโยชนส าธารณะ (Public Interests)
หมายถงึ สง่ิ ใดก็ตามทใี่ หประโยชนสขุ แกบคุ คลทงั้ หลายในสังคม ผลประโยชนส าธารณะ
ยงั หมายรวมถงึ หลักประโยชนต อมวลสมาชกิ ในสงั คม

 ความขดั แยงกันระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม
(Conflict Of Interests) เปน สถานการณทบี่ ุคคลในฐานะ
พนักงานหรือเจาหนาทข่ี องรฐั ใชตําแหนง หรืออาํ นาจหนาทีใ่ นการแสวงประโยชนแก
ตนเอง กลุมหรือพวกพอ ง ซงึ่ เปนการละเมดิ ทางจริยธรรม และสง ผลกระทบหรือความ
เสยี หายตอ ประโยชนสาธารณะ คาํ อน่ื ท่มี คี วามหมายถงึ ความขัดแยงกนั แหง ผลประโยชน
สว นตนและสวนรวม ไดแ ก การมผี ลประโยชนทับซอ น ความขดั กนั ระหวางผลประโยชน
ของผูดาํ รงตาํ แหนงสาธารณะ และรวมถึงคอรรัปชนั เชงิ นโยบาย คอรร ัปชันสีเทา

ความหมายของ Conflict of Interests

 สถานการณซงึ่ บคุ คลขาดการตดั สินใจอันเทย่ี งธรรม เนือ่ งจาก
การมหี รือการไดร ับผลประโยชน (MacMilan English Dictionaey,
2002 : 200)

 สถานการณซง่ึ บคุ คลใชอ าํ นาจไปในทางทีเ่ ปน ประโยชนต อ ตนเอง
(Katz&Kahn, 1978 : 623)

 เปนเรอื่ งเก่ยี วกับจรยิ ธรรม จากการมผี ลประโยชนสว นบคุ คลมาก
จนถึงข้ันกระทบตอการปฏบิ ัติหนาที่อยา งตรงไปตรงมา (McDONALD
อา งใน hpp://www.ethicts.ubc.ca/mcdonald/conflict.htm)

ความหมายของ Conflict of Interests

 การใหค วามหมายในภาษาไทย

• ผลประโยชนทบั ซอ น
• การขดั กันแหงผลประโยชน
• คอรร ปั ชนั เชงิ นโยบาย
• การท่ีผูท่ีตองตดั สนิ ใจมีประโยชนหลายทางซึ่งขัดกนั
• การท่บี ุคคลปฏิบัตหิ นา ที่เอาผลประโยชนสว นตัวไปพวั พันในการตดั สินใจ

เพื่อเอื้อประโยชนตอตนเอง และเปน การเสียประโยชนของทางการ

ความหมายของ Conflict of Interests

 COI อาจแยกเปน ระดับนโยบายฝายการเมือง และระดบั ปฏิบัติ

(ฝา ยประจาํ )

 กลมุ เจาหนา ท่ีของรฐั ทงั้ 2 กลมุ กลมุ มคี วามสมั พนั ธเ ชงิ อุปถัมภ

นกั การเมอื งเขา สอู าํ นาจ แสวงประโยชน ปกปองธุรกจิ
อาํ นาจรฐั และอํานาจเงิน ไปครอบงาํ หรอื ชี้นําขา ราชการ
ท่ีเปนระดบั เครื่องมอื กลไกการปฏิบัติ

ความหมายของ Conflict of Interests กับ Corruption

 Conflict of Interests เปนรูปแบบหนึ่งของ Corruption

แตร ะดบั หรอื ขนาด และขอบเขต ตางกัน
 Conflict of Interests นําไปสู Corruption ทร่ี นุ แรงขึ้น

 Conflict of Interests เก่ียวกับการใชอํานาจทีเ่ ปน ทางการ เช่อื มโยงกบั กฎหมาย
ระเบียบการปฏิบัติ และสว นทไี่ มเ ปน ทางการ เปนความสัมพนั ธระหวา งบุคคล
ขยายไปถึงเรื่องครอบครวั ตองพจิ ารณาความสัมพันธ เชน คูสมรส และคน
ในเครือญาติ

ความหมาย Conflict of Interests

จนท. มีบทบาทเดยี ว จนท. มี 2 บทบาท

Corruption Conflict of ต้ังใจ
Interests
ดูเสมอื นมีสว นได
สวนเสยี

ตวั อยางคอรรัปชัน

• จนท. เรยี กสนิ บนจากนกั ธุรกจิ / corruption Conflict of
ประชาชนที่ทําผิดกฎหมาย เพ่อื Interests
ไมใ หถ ูกจบั
• จนท. รบั สนิ บนจากการ
กาํ หนด สเปคใหบ ริษทั แหง หน่ึง
ชนะประมูล

ตัวอยางคอรรัปชน่ั ทเ่ี กิดจาก COI

• นายกเทศมนตรกี ําหนดสเปคให Corruption + COI
บรษิ ัทกอ สรา งของตนชนะการ
ประกวดงานกอ สรา งในเทศบาลท่ี
ตนบรหิ าร

 ขาราชการชั้นผใู หญช ว ยใหบ รษิ ัทไมถ ูก
ลงโทษจากความผิดขอ หาหนภี าษี
เพราะเปน บริษทั ของภรรยา

ตัวอยาง COI แบบแทจรงิ

 บริษัทกอสรางของนายกเทศมนตรีชนะ COI
การประมูลงาน ในเทศบาลที่นายกฯ
บริหาร แตการประมูลเปนไปอยางเท่ยี ง
ธรรมและโปรงใส

อธิบดีกรมกํากบั ธุรกจิ การเงิน ทาํ หนาท่กี ํากบั
ธุรกจิ อยางซือ่ สัตย หลังเกษียณไปทํางานกับ
บริษทั การเงนิ A โดยใชข อ มลู สาํ คัญทาง
ราชการที่ตนทราบระหวา งเปนอธิบดี

ความขดั แยง กนั ของผลประโยชนสว นตน
และผลประโยชนส ว นรวม (Conflict of Interest)

มีผลประโยชน CONFLICT OF หทรมาือีตงสาํราแาธชหากนราณง ระ
สวนตัว INTERESTS

“การทับซอนของ แดทุลรเยกปพแน นิซกจิงลกอาายงราใงช “สถานการณซ ง่ึ บุคคล
ประโยชนสว นตวั และ มผี ลประโยชนส ว นตัว
ประโยชนสว นรวม” มากเพียงพอที่จะมี
“อิทธิพล” ตอ การ
“การขัดกันแหงผลประโยชน” ปฏบิ ตั ิหนาทีใ่ นตําแหนง

“สถานการณซง่ึ บุคคลใชอํานาจหนาท่ี และสง ผลกระทบตอ
ในทางทีเ่ ปนประโยชนต อ ตัวเอง” ประโยชนส วนรวม”

สรุป ความหมายของ Conflict of Interests

 สถานการณที่บุคคลในฐานะเจาหนาท่ีของรัฐใชตําแหนงหรือ
อํานาจหนาที่ในการแสวงประโยชนแก ตนเอง แกกลุมหรือแก
พวกพอง ซึง่ เปน การละเมิดทางจริยธรรม และสงผลกระทบหรือ
ความเสยี หายตอ ประโยชนสวนรวมหรือประโยชนสาธารณะ

 คําอ่ืนที่ที่มีความหมายถึง Conflict of Interests ไดแก
ผลประโยชนทับซอน ความขัดกันแหงผลประโยชนของ ผู
ดํารงตาํ แหนง สาธารณะ และรวมถึง คอรร ัปชนั เชงิ นโยบาย

รูปแบบความขดั แยงระหวา ง
ประโยชนส วนตนและประโยชนส ว นรวม (1)

• การรบั ผลประโยชนตางๆ รับของขวญั /เงินสนบั สนุน/
(Accepting Benefits) เงินบริจาคจากลูกคา
ของหนวยงาน

• ค(กSูสาeญัรทlญfาํ -าธDุร(กeCจิaoกliับnnตtgrวั )aเอcหงtรsือ)เปน มสี ว นไดเ สยี ในสญั ญาทท่ี ํา
กับหนว ยงานตน สงั กดั
• ตกําาแรหทนาํ งง าหนนหา ลทังสี่ อาอธการจณากะหรอื ลาออกจากหนว ยงานเพ่อื
ไปทาํ งานในหนวยงานที่
หลังเกษียณ (Post-Employment) ดาํ เนนิ ธุรกิจประเภทเดียวกนั

รูปแบบความขดั แยง ระหวาง
ประโยชนส ว นตนและประโยชนส วนรวม (2)

• การทํางานพิเศษ (Outside ธตรบัรุ้งั กบงาิจรนทิษจี่แัทาขดกง าํ หขเนนันนิวหยรงอื านตนสังกัด
ใชป ระโยชนจ ากขอมลู ภายใน
Employment or
Moonlighting)

• การรขู อมลู ภายใน
(Inside Information)เพ่ือประโยชนข องตนเอง

• กPปารrระoใโชยpส ชeมนrบสtตัวyิขนfอตoงวั rห(นPUวrยsiงivnาaนgtเพeE่ือUmspalgoey)erนไ’ปําsใทชรใ ัพนยงสานนิ สขวอนงหตนัวว ยงาน

• กเลารือนกาํตโั้งคเรพงอื่ กปารระสโายธชานรทณาะงลกงาใรนเมเขอื ตง ใรไชปมงลตบง.สใอนานธพมุ าื้นตัรทณโิ ่ีตคะรนเงพเกอ่ือางหร, าเสียง
(Pork-barrelling)

1. รปู แบบของ Conflict of Interests

 การรบั ผลประโยชน (Accepting Benefits) ไดแก
- การรบั ของขวญั หรือของกํานลั ทีม่ คี าอื่นๆ ซึ่งสง ผลตอ
การปฏบิ ตั หิ นาท่ี
- การท่บี รษิ ทั สนับสนนุ การเดนิ ทางไปประชุม/ดูงานในตางประเทศ
ของผบู ริหารและอาจรวมถึงครอบครัว
- การทีห่ นวยงานราชการรับเงินบริจาคสรา งสาํ นักงาน
จากบริษัทธุรกจิ ที่ตดิ ตอกบั หนวยงาน
- เจาหนา ทข่ี องรัฐรบั ของแถมหรือผลประโยชนใ นการปฏิบตั งิ าน
ทเ่ี กยี่ วกบั การจดั ซอ้ื จัดจา ง

1. รปู แบบของ Conflict of Interests (ตอ )

 การทาํ ธรุ กิจกบั ตนเอง หรอื การเปนคสู ญั ญา
- เรยี กผลตอบแทนในการใชตําแหนงหนาที่เพ่อื สง ผลท่เี ปน คุณแก
บรษิ ัทหน่งึ อยา งไมเ ปน ธรรม
- การจางบรษิ ทั ของตนหรอื ของครอบครัวใหทํางานใหก ับ
หนว ยงานที่ตนเองสงั กดั อยู
- การใชอ าํ นาจใหห นวยงานท่สี งั กดั อยซู อื้ ทีด่ ินของตนเองในการ
จดั สรางสํานกั งานใหม
- การทีส่ มาชิกสภาหรอื สมาชกิ อบต. รบั มอบอาํ นาจจากบริษัท
มาดําเนินการในกระบวนการจัดซื้อจดั จา ง

1. รูปแบบของ Conflict of Interests (ตอ )

 การใชท รัพยสินของหนว ยงานเพอ่ื ประโยชนส วนตน

- การใชร ถยนตราชการ เพื่องานสวนตัว (บางกรณีเบกิ คา น้าํ มนั )
- การนําเครื่องใชสํานักงานไปใชทบี่ าน (เพ่อื งานสวนตวั )
- การใชโทรศัพทข องทางราชการเพ่ือธรุ กิจสวนตวั

1. รปู แบบของ Conflict of Interests (ตอ )

 การใชขอ มูลลบั /ภายในของทางราชการ

- ทราบวา จะมโี ครงการตัดถนนจงึ ไปซ้ือท่ดี ินในละแวกนนั้ ไวกอน

โดยอาจใสชอ่ื คสู มรสหรือคนในครอบครัว
- ทราบวาจะมีการจัดทําโครงการ กน็ ําไปแจง ใหแกบ รษิ ัทของ
คนสนิทหรือของครอบครวั เตรียมการกอน
- ทราบวาจะมีการซอ้ื ท่ีดินเพื่อดาํ เนนิ การโครงการของรัฐกร็ บี
ไปซ้อื ท่ดี ินเพอื่ เก็งกําไรและขายใหก ับรฐั ในราคาทีส่ ูงมาก

1. รปู แบบของ Conflict of Interests (ตอ)

 การทาํ งานพิเศษ

- เจาหนา ที่ของรฐั ในตําแหนงนักบญั ชไี ปรับงานสวนตวั จนไมม เี วลา
ทาํ งานในหนา ทใ่ี หร าชการ
- การรบั จา งเปนทป่ี รึกษาโครงการ โดยอาศยั ตาํ แหนง ในราชการ
สรา งความนา เชอื่ ถือวา โครงการจะไมม ปี ญหาติดขัดในการพจิ ารณา
- การสอนพิเศษท่ใี หค วามรแู ละแนวขอสอบอยา งเตม็ ทม่ี ากกวา การ
สอนในชั่วโมงปกตใิ นเวลาราชการ

1. รปู แบบของ Conflict of Interests (ตอ)

 การทาํ งานหลังจากออกจากตําแหนง /หลังเกษยี ณ

• เปนผบู ริหารในองคก ารอาหารและยาลาออกราชการไปทํางานในบรษิ ทั ผลิต
และขายยา

• เปน ผบู ริหารในกระทรวงคมนาคมหรือในรฐั วิสาหกิจดานโทรคมนาคมหลงั
เกษียณไปทํางานกบั บรษิ ทั ธรุ กิจสอ่ื สารโทรคมนาคม

• เปนผอู ํานวยการสํานักบริหารกลางหลังจากเกษียณแลวไปเปนที่ปรึกษา
ใหกับบรษิ ัททร่ี ับเหมาใหแกหนวยงานตน สังกัดเดมิ (ในทนั ทหี ลังเกษียณ)

1. รปู แบบของ Conflict of Interests (ตอ)

 การนาํ โครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ังเพ่ือประโยชนทางการเมอื ง

• การที่ผูบริหาร (รฐั มนตรี, คณะกรรมาธิการ, ฯลฯ)
อนุมัติโครงการไปลงในพน้ื ที่ของตนเอง

• การใสชอ่ื นักการเมอื งแสดงความเปนเจา ของส่ิงสาธารณะ เชน ถนน
ที่พักรอรถประจาํ ทาง อางเก็บนา้ํ สวนสาธารณะเพ่อื ประโยชน
ทางการเมือง

ศาสตราจารย วรี ะพงษ บญุ โญภาส แบง ออกเปน 9 รปู แบบ
ซ่ึงเพิม่ เติมอกี 2 รปู แบบ

8. การใชอิทธพิ ล (Influnce pedding) หมายถงึ การเรียก
ผลตอบแทนโดยการใชอทิ ธิพลในตาํ แหนง หนา ที่เพ่อื สง ผลทเี่ ปนคุณใหก บั
ฝา ยใดฝา ยหนงึ่ และการใชอ ทิ ธพิ ลตอการตดั สนิ ใจของรฐั เพื่อสนับสนุนแก
บุคคลภายนอก

9. การเกี่ยวพนั ทางเครอื ญาติ หมายถึง ระบบอปุ ถมั ภพิเศษทใ่ี ชอ ทิ ธิพลสว นตัว
กบั ผลประโยชนห รอื สว นรวม หรือทําสญั ญาหรอื การใดๆ ใหแ กเ ครอื ญาติ
ของตนทีม่ ีสวนเก่ยี วของกบั ผลประโยชนน นั้

เหตุผลในการหามการกระทาํ ซง่ึ เปน การขดั กนั ระหวา งประโยชน
สวนบุคคลกบั ประโยชนสวนรวม

แนวความคิดพืน้ ฐาน : ประโยชนส าธารณะ
 รฐั โดยองคก รของรฐั หรอื เจาหนา ท่ีของรฐั เปนผดู ูแลรักษาประโยชนส วนรวม

หรือประโยชนส าธารณะ
 แตในกรณที ี่ประโยชนส วนตัวของเอกชนไมสอดคลองกับประโยชนส าธารณะ

จะตอ งใหประโยชนส าธารณะอยเู หนือประโยชนส ว นตัวของตน

ความสัมพันธร ะหวา งเจาหนาท่ขี องรัฐกบั รัฐ

สถานะของเจา หนาทีข่ องรัฐนนั้
มคี วามสมั พันธก บั รัฐ 2 สถานะ

 สถานะหนึง่ คอื เจา หนาที่ของรฐั ที่ปฏิบัติงานตาม
อํานาจหนาท่ีซง่ึ เปนบคุ คลทท่ี ํางานใหก ับรัฐหรือตวั แทนของรัฐ

 กับอีกสถานะหนงึ่ คือ เจา หนา ที่ของรฐั ซง่ึ เปน เอกชนคนหนึ่ง

ขอแตกตา งของการใชอํานาจของเอกชนและเจา หนา ที่ของรฐั

เอกชน

สทิ ธเิ สรภี าพของบุคคลเปน หลักการจํากดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพ
เปนขอ ยกเวน หรอื ไมม ีกฎหมายหา มไวย อมทาํ ได

เจาหนาที่ของรฐั

เจาหนา ทีข่ องรัฐจะดาํ เนนิ การไดตอ งมีกฎหมายใหอ าํ นาจแกฝา ยบรหิ าร
ทจ่ี ะดาํ เนนิ การดงั กลาวไวอยางชัดแจงในเรือ่ งท่ีกฎหมายไมใ หอ ํานาจไว
จะกระทําการนั้นมิได และในเร่ืองที่กฎหมายใหอ ํานาจตองใชอาํ นาจนนั้ ในทาง
ที่เปน ประโยชนตอประชาชนมากท่สี ดุ โดยจํากัดสทิ ธแิ ละเสรีภาพหรอื สราง
ภาระแกป ระชาชนนอ ยที่สดุ ดวย หรอื ไมม ีกฎหมายใหอ ํานาจทาํ ไมได

ประเภททมี่ าและระยะเวลาดาํ รงตาํ แหนง
ของเจา หนาทขี่ องรฐั

ฝายการเมือง เลอื กต้งั 4 ป
ฝายประจาํ แตง ต้ัง เกษยี ณอายุ, ตามสัญญาจาง

“เจา หนา ทขี่ องรฐั ” หมายความวา ผดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง

ขาราชการหรอื พนกั งานสวนทองถิ่นซง่ึ มตี ําแหนง หรอื เงินเดอื นประจาํ
พนกั งานหรอื บคุ คลผปู ฏิบตั ิงานในรัฐวสิ าหกิจ หรือหนวยงานของรฐั ผบู รหิ าร
ทอ งถิ่นและสมาชกิ สภาทอ งถ่ินซงึ่ มใิ ชผดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมือง เจาหนาที่
หรือพนักงานตามกฎหมายวา ดวยลักษณะการปกครองทองท่ี และให
หมายความรวมถึงกรรมการ อนกุ รรมการ ลูกจา งของสว นราชการ รัฐวสิ าหกิจ
หรือหนว ยงานของรฐั และบุคคลหรอื คณะบุคคลซง่ึ ใชอาํ นาจ หรือไดร บั
มอบหมายใหใชอาํ นาจทางการปกครองของรฐั ในการดาํ เนินการอยางใดอยาง
หนึ่งตามกฎหมายไมวาจะเปนการจดั ตง้ั ข้ึนในระบบราชการ รฐั วสิ าหกจิ และ
กิจการอื่นของรัฐ (พ.ร.บ.ปปช.ม.4)

ธรรมชาติของการใชอาํ นาจ

 บคุ คลใดกต็ ามซึ่งมีอาํ นาจมักใชอ าํ นาจนัน้ เกินเลยอยูเสมอ
และจะใชอ าํ นาจนั้นจนกวา จะถงึ ขีดจํากัดเทาที่ตนจะใชอ ํานาจ
ได (มงเตสกิเยอ)

 เมือ่ มีอาํ นาจกอ็ ยากจะใชอ ํานาจไปในทางทผ่ี ดิ และเมื่อมี
อาํ นาจ กย็ งิ่ ใชอํานาจไปในทางท่ผี ดิ มากขึ้น (Power tends to

corrupt and absolute power corrupts absolutely)

(ลอรด แอคตนั )

การทจุ ริตตอหนา ที่ หมายความวา ปฏิบตั ิหรือ

ละเวน การปฏิบตั ิอยา งใดในตําแหนงหรอื หนา ที่ หรือปฏิบตั หิ รือ
ละเวน การปฏบิ ตั อิ ยางใดในพฤติการณทอ่ี าจทาํ ใหผ ูอ่นื เชอื่ วา
มตี ําแหนงหรอื หนา ที่ ทัง้ ทตี่ นมไิ ดมตี าํ แหนงหรอื หนาทนี่ น้ั หรอื
ใชอํานาจในตําแหนงหนาท่ี ท้ังนี้ เพื่อประโยชนท่ีมิควรไดโดย
ชอบ สําหรับตนเองหรือผูอ่ืน (พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญวา
ดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 4)

คําวา “การทุจรติ ตอ หนาที”่ หรอื การฉอราษฎร

บงั หลวงตรงกับภาษาอังกฤษวา “Corruption”
ความหมายของการคอรร ปั ชันที่มีการใชอ ยา งแพรหลายคือ “การ
ใชอ ํานาจรัฐโดยมิชอบเพอ่ื แสวงหาผลประโยชนสว นตัว”
(Cray Raufunann, 1998 Jayawickrama,
1998 Bardhan, 1977) คาํ นิยามดงั กลา วชใ้ี หเหน็ ชัดวา
การคอรรัปชันนั้นเกิดจากการใชอ ํานาจในตําแหนง หนา ที่ทมี่ ใิ ช
อํานาจสว นบุคคลแสวงหาประโยชนสว นตัว

Conflict Of Interests

เปนการเปด โอกาสนาํ ไปสูการคอรร ปั ชนั

องคก รนานาชาติมองสถานการณก ารทจุ รติ ในสังคมไทย
อยา งไร

องคกรเพอื่ ความโปรงใสนานาชาติ หรือ Transparancy International
Organization ทาํ ดัชนีชี้วดั คาคอรร ัปชัน (Corruption Perception
Index) หรือ CPI) เพ่ือจดั ลาํ ดับความโปรงใสเกี่ยวกบั คอรร ปั ชนั ของประเทศ
ตาง ๆ ท่ัวโลก (รวมทั้งประเทศไทย) ป 2550 มี 179 ประเทศ

ตารางท่ี 1
สาํ หรับประเทศไทย มดี ชั นีช้วี ดั ตั้งแตป พ.ศ. 2538 – 2550 รวม 13 ป มดี งั น้ี

ป พ.ศ. จาํ นวนประเทศที่ อนั ดบั ของ คะแนนความโปรง ใส หมายเหตุ
สํารวจ ประเทศ
2538 (เต็ม 10 คะแนน) -
2539 41 34
2540 54 37 2.79 เพม่ิ 0.54
2541 52 39 3.33 ลดลง 0.27
2542 85 61 3.06 ลดลง 0.06
2543 98 68 3.00 เพมิ่ 0.20
2544 90 60 3.20 คงที่
2545 91 61 3.20 คงที่
2546 102 64 3.20 คงที่
2547 133 70 3.20 เพ่ิม 0.10
2548 164 64 3.30 เพิ่ม 0.30
2549 159 59 3.60 เพ่ิม 0.20
2550 163 63 3.80 ลดลง 0.20
179 84 3.60 ลดลง 0.30
3.30

ผลการสํารวจความโปรง ใสขององคก รเพ่อื ความโปรง ใสนานาชาติ

ผลการจดั อนั ดับคอรร ัปชนั โลกประจาํ ป พ.ศ. 2550 จากท้ังหมด 179 ประเทศ

พบวา ประเทศไทยตกจากอันดบั ท่ี 63 (3.6 คะแนน) เม่ือปทแ่ี ลว
เปนอันดบั ที่ 84 (3.3 คะแนน)

ประเทศทค่ี รองอันดับหน่งึ ไดแ ก ฟน แลนด และนิวซแี ลนด
(9.4 คะแนน)
อันดับสอง ไดแกสงิ คโปร (9.3 คะแนน)

ประเทศท่ีอยูในอนั ดบั สดุ ทา ย ไดแ ก พมา (1.4 คะแนน)

“คอรรปั ชันของประเทศไทยสูงขนึ้ ”

ตารางที่ 2
ภาพลกั ษณคอรรัปชันของไทยในป 2550 เปรยี บเทียบกบั ประเทศอ่นื ในเอเชีย มีดังนี้

อนั ดับจาก ประเทศ คะแนนน จํานวน คา ความเชื่อมน่ั คะแนนเทยี บกบั ป
ประเทศ แหลง ขอมูล พ.ศ. 2549
ทงั้ หมด สิงคโปร 9.3
ฮองกง 8.3 9 9.0-9.5 ตํ่าลง (9.4)
4 ญป่ี นุ 7.5 8 7.6-8.8 ไมเปล่ียนแปลง
14 มาเกา 5.7 8 7.1-8.0
17 ไตหวัน 5.7 4 4.7-6.4 ต่าํ ลง (7.6)
34 เกาหลีใต 5.1 9 5.4-6.1 ต่าํ ลง (6.6)
34 มาเลเซีย 5.1 9 4.7-5.5 ตํา่ ลง (5.9)
43 ภฏู าน 5.0 9 4.5-5.7 ไมเ ปล่ยี นแปลง
43 จนี 3.5 5 4.1-5.7 สูงข้ึน (5.0)
46 อินเดีย 3.5 9 3.0-4.2 ตํา่ ลง (6.0)
72 10 3.3-3.7 สูงข้ึน (3.3)
72 สงู ข้นึ (3.3)

ตารางที่ 2 (ตอ )
ภาพลกั ษณคอรรัปชนั ของไทยในป 2550 เปรียบเทยี บกับประเทศอน่ื ในเอเชีย มีดังน้ี
อันดับจาก
ประเทศ ประเทศ คะแนนน จํานวนแหลงขอ มลู คาความเชอ่ื มน่ั คะแนนเทียบกบั ป
ท้งั หมด พ.ศ. 2549

84 ไทย 3.3 9 2.9-3.7 ตํ่าลง (3.6)
94 ศรลี งั กา 3.2 7 2.9-3.5 สูงขนึ้ (3.1)

123 เวียดนาม 2.6 8 2.4-2.9 ปแ รก
123 ตีมอร 2.6 3 2.5-2.6 ไมเ ปลยี่ นแปลง
131 เนปาล 2.5 7 2.3-2.7 ไมเ ปลยี่ นแปลง
131 ฟลิปปน ส 2.5 9 2.3-2.7 ไมเ ปลย่ี นแปลง
138 ปากีสถาน 2.4 7 2.0-2.8 สงู ขนึ้ (2.2)
143 อนิ โดนีเซีย 2.3 11 2.1-2.4 ตํ่าลง (2.4)
162 กมั พชู า 2.0 7 1.8-2.1 ต่าํ ลง (2.1)
162 บังคลาเทศ 2.0 7 1.8-2.3 ไมเ ปล่ียนแปลง
168 ลาว 1.9 6 1.7-2.2 ต่ําลง (2.6)
179 พมา 1.4 4 1.1-1.7 ต่ําลง (1.9)

อันดับคอรร ปั ชตันาใรนาเงอทเชี่ 3ยี ป พ.ศ. 2550 (เพริ ก )
จากการศึกษาของบริษัทท่ีปรกึ ษาดา นความเส่ียงทางการเมือง และเศรษฐกจิ
ประเทศ คะแนนเตม็ 10 ป 2550 คะแนนเตม็ 10 ป 2549

1. สิงคโปร 1.20 1.30

2. ฮอ งกง 1.87 3.13

3. ญีป่ นุ 2.10 3.01

4. มาเกา 5.11 4.78

5. ไตห วนั 6.25 5.91

6. มาเลเซยี 6.25 6.13

7. จนี 6.25 7.58

8. เกาหลีใต 6.30 5.44

9. อนิ เดีย 6.67 6.76

10. เวียดนาม 7.54 7.91

11. ไทย 8.03 7.64

11. อนิ โดนีเซยี 8.03 8.16

13. ฟลปิ ปนส 9.40 7.80

คะแนนมาก ความเสย่ี งมาก แสดงวา มีคอรรัปชนั มาก
คะแนนนอย ความเสยี่ งนอ ย แสดงวา มคี อรร ัปชันนอ ย “ประเทศไทยมีความเสย่ี งเพ่ิมขึ้น แสดงวา มีคอรร ปั ชันมากข้นึ ”

ตารางท่ี 4
ตวั เลขทน่ี า สนใจเกี่ยวกับการทุจริตในภาครฐั
สถิติการกลา วหารอ งเรียนเจาหนา ท่ขี องรัฐกระทําการทจุ ริตในภาครัฐ พ.ศ. 2543-2548 จําแนกตามกระทรวง

ท่ี กระทรวงเทยี บเทา ป ป ป ป ป ป รวม

2543 2544 2545 2546 2547 2548

1 สาํ นักนายกรัฐมนตรี 22 40 41 67 24 24 218

2 กลาโหม 40 52 36 58 73 85 344

3 คลัง 111 82 83 145 130 120 671

4 ตางประเทศ 25 0 3 0 0 10

5 การทองเท่ยี วและกฬี า 00 0 0 9 5 14

6 พัฒนาสงั คมและ 00 0 0 5 18 23
ความม่นั คงฯ
184 160 245 257 274 127 1,247
7 เกษตรและสหกรณ

8 คมนาคม 121 143 157 210 151 125 907

9 ทบวงมหาวิทยาลัย 27 34 25 48 0 0 134

10 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 0 0 0 0 58 84 142

สงิ แวดลอ ม

11 เทคโนโลยสี ารสนเทศและ 0 0 0 0 12 41 53

การสอื่ สาร

ตวั เลขท่ีนาสนใจเก่ียวกบั การทจุ ริตในพภ.าศค.ร2ฐั 5ส43ถ-ิตต2ิก5าร4ารา8งกทจลํา่ีา 4แวนห(ตการอตอ)างมเกรยีระนทเจราวหงนา ทขี่ องรฐั กระทาํ การทจุ ริตในภาครัฐ

ท่ี กระทรวงเทียบเทา ป 2543 ป2 544 ป 2545 ป 2546 ป 2547 ป 2548 รวม

12 พลังงาน 00 0 0 6 1 7

13 พาณชิ ย 15 12 6 69 19 4 125

14 มหาดไทย 977 1,248 1,642 1,455 2,090 1,905 9,317

15 ยุตธิ รรม 13 8 15 26 21 26 109

16 แรงงาน 20 22 37 27 12 12 130

17 วฒั นธรรม 0 0 0 0 13 15 28

18 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 2 4 4 13 1 1 25

19 ศึกษาธิการ 208 207 242 273 297 160 1,387

20 สาธารณสขุ 84 99 71 108 93 51 506

21 อตุ สาหกรรม 10 19 33 18 22 7 109

22 สวนราชการไมส ังกดั 347 543 631 414 857 738 3,530

กระทรวง

23 หนว ยงานอิสระตาม 33 87 52 40 71 133 416

รัฐธรรมนญู

24 หนวยงานอิสระ 34 0 0 0 1 8

ผลกระทบของคอรร ัปชัน

ความเช่อื มั่นจาก ระบบเศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม ประชาชนผเู สยี ภาษี
ประชาคมโลก - เบีย่ งเบนทรัพยากร - วฒั นธรรม - รูสึกวาไมยุตธิ รรม
- ลดรายไดข องรัฐบาล หนวยงานเปลยี่ นไป - ผูย ากไรเสยี สิทธิ
- ขาดความเช่อื มนั่ - คา ใชจ ายเพิม่ ขน้ึ - กฎระเบยี บหยอ นยาน ที่พงึ ได
- การลงทนุ ลดลง - คุณภาพลดลง - ความปลอดภัยลดลง - ความยากจนเพิ่มขึน้
- เสียภาพลกั ษณ - นโยบายเบี่ยงเบน - เพิ่มอาชญากรรม - ขาดความ เสมอภาค
- ความมน่ั คงรฐั บาลลดลง - เกดิ ลกู โซวงจรอุบาทว ชาย - หญงิ
- ปญหาสิทธิ มนษุ ยชน

เคยพบเห็นคอรรัปชันในชว ง 2 ปท ่ีผานมา
(สํารวจ ต.ค. – พ.ย. 42 )

รายไดของ
ครัวเรือน

รวมทุก กทม. ตา งจังหวดั ชนบท ตํา่ สูง
พน้ื ท่ี เขตเทศบาล

เคยพบ (รอยละ) 20.5 32.5 24.5 15.4 16.4 33
ไมเ คยพบ (รอ ยละ) 67
เมื่อพบเหน็ 79.5 67.5 75.5 84.66 83.6
ทําการรายงาน ...... รอ ยละของผพู บเหน็ การคอรรปั ชนั ....... 6.4
ไมไดคิดจะทําการรายงาน 32.5
คิดแตไ มไ ดทํา 4.9 6.7 5.1 3.6 3.3 61.1

39.1 28.0 48.0 40.7 44.6

56.0 65.2 46.9 55.7 52.1

สาเหตทุ ี่ไมมีการรอ งเรยี นเรอื่ งคอรรปั ชนั เปน เพราะกลวั ถกู กลั่นแกลง และไมม่ันใจวาจะนาํ ไปสูการลงโทษผู
ทุจริต เกอื บ 9 ใน 10 ของผูที่เคยพบเห็นคอรรปั ชนั คิดวา เหตุผลทง่ั 2 ขอดังกลา วเปนสาเหตุทที่ ําใหไ มมี
การรายงานเมอ่ื มีการพบเหน็ การทุจรติ คอรรปั ชนั

ทีม่ า สํานกั งาน ก.พ. ; 2544

สถานการณของประเทศในกลุม สแกนดิเนเวีย

ภาคราชการ ความโปรงใส ประชาชน
ของประเทศ
- โปรงใส สแกนดิเนเวยี - เคารพกฎหมาย
- ยึดม่ันในกฎหมาย บทบาทของ ระเบยี บ กติกา
ระเบยี บ สื่อมวลชนท่ีเขม แขง็
- เปด โอกาสให - เปด เผย
ประชาชนไดรับรู - จริงจังและจริงใจ
ขอ มูลขา วสารและ - รับผดิ ชอบการ
มสี ว นรว ม กระทําของตน
- พ่ึงพาตนเอง

จบการนําเสนอ

ตอบขอซักถาม


Click to View FlipBook Version