The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eakapob2557, 2019-01-20 01:47:35

ตั๋วเงิน

รายงาน



เรื่อง ตั๋วเงิน






เสนอ


อาจารย์ ชนาภา ข ากล่อม






จัดท าโดย


นางสาวกุลธิดา ธงหาร เลขที่ 13


นางสาวธิดารัตน์ แม่นหมาย เลขที่ 17



ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 1/5









รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาหลักการขาย


ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561



วิทยาลัยเทคนิคระยอง


อ าเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

ค าน า



รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา กฎหมายธุรกิจ รหัสวิชา 3200-9001 ซึ่งได้รวบรวม

เนื้อหาเกี่ยวกับตั๋วเงิน ความรู้เกี่ยวกับความหมายและประเภทของตั๋วเงิน,ลักษณะของตั๋วเงิน, ตั๋ว


แลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้เงิน,เช็ค,การขีดคร่อมเช็ค,ตั๋วเงินที่มีรายการไม่ครบถ้วน,ความรับผิดชอบและ

อายุความฟ้องร้อง ,ราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ. ศ. 2534,องค์ประกอบ

ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค,โทษ,อายุความ,การร้องทุกข์,การควบคุมตัว ขัง สั่งปล่อยชั่วคราว


ผู้ต้องหาหรือจ าเลย,การเลิกคดี






ซึ่งทางผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ที่ได้มาศึกษา

รายงานฉบับนี้และหากมีข้อผิดพลาดประการใดทางผู้จัดท าต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

สารบัญ



หน้า


ความหมายและประเภทของตั๋วเงิน 1


ลักษณะของตั๋วเงิน 1-2



ตั๋วแลกเงิน 2


ตั๋วสัญญาใช้เงิน 3


เช็ค 4



การขีดคร่อมเช็ค 5


ตั๋วเงินที่มีรายการไม่ครบถ้วน 5


ความรับผิดชอบและอายุความฟ้องร้อง 6



ราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ. ศ. 2534 6


องค์ประกอบความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค 7-8



โทษ 8


อายุความ 8


การร้องทุกข์ 8



การควบคุมตัว ขัง สั่งปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลย 9


การเลิกคดี 9

1


ความหมายและประเภทของตั๋วเงิน


ตั๋วเงิน คือ เอกสารหรือตราสารที่ใช้แทนเงินเพื่อแสดงการช าระหนี้ซึ่งสามารถเปลี่ยนมือได้โดยไม่จ าเป็นต้องบอกกล่าว

ลูกหนี้ตามตั๋วเงินและเมื่อกฎหมายก าหนดให้ การช าระหนี้ต้องท าเป็นเงินตราการช าระหนี้ด้วยตั๋วเงินก็จะสมบูรณ์เมื่อได้มีการ
ใช้เงินตามตั๋วเงินแล้ว


ตั๋วเงินมีอยู่ 3 ประเภทคือ

1. ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange) คือ ตั๋วแลกเงิน คือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งบุคคลอีกคนหนึ่ง

เรียกว่า ผู้จ่าย ให้ใช้เงินจ านวนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามค าสั่งของบุคคลหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน
2. ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note) คือหนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้ออกตั๋ว ให้ค ามั่นสัญญาว่าจะใช้เงิน

จ านวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนนึงหรือให้ใช้ตามค าสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน
3. เช็ค (cheque) คือหนังสือตราสาร ซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจ านวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่

บุคคลอีกคนหนึ่งหรือให้ใช้ตามค าสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน




ลักษณะของตั๋วเงิน


1. เป็นตราสาร หมายถึง เอกสารชนิดหนึ่งที่กฎหมายรับรองโดยหนังสือตราสารนั้นต้องสัญญาเป็นหรือค ามั่นสัญญาใน

การใช้เงิน
2. สามารถเปลี่ยนมือได้ด้วยการส่งมอบ

3. บุคคลใดลงลายมือชื่อของตนในตั๋วเงินย่อมต้องรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้นซึ่งการลงลายมือชื่อในตัวเงินต้องลง
ลายมือชื่อจริงๆจะใช้เครื่องหมายหรือลายพิมพ์นิ้วมือใดๆไม่ได้

4. บุคคลผู้มีตัวไว้ในครอบครองในฐานะเป็นผู้รับเงินหรือผู้รับสลักหลังกฎหมายเรียกว่า“ ผู้ทรง” เด้าเป็นตั๋วเงินสั่งจ่าย
ให้แก่ผู้ถือก็นับว่าผู้ถือนั้นเป็นผู้ทรงเช่นเดียวกันดังนั้นเราจึงเรียกผู้ถือตั๋วเงินผู้รับเงินในตั๋วเงินและผู้รับโอนตั๋วเงินว่าผู้

ทรง

5. กรณีที่ตัวเงินนั้นเป็นตัวเงินตั้งใช้เงินแก่ผู้ถือการโอนตัวเงินสามารถท าได้เพียงแค่ด้วยการส่งมอบตัวเงินระบุชื่อผู้รับ
เงินก็ท าได้ด้วยวิธีการสลักหลังและส่งมอบหากตั๋วเงินใดมีการสลักหลังแต่มิได้ระบุชื่อรับสลักหลังเรียกว่าการสลัก

หลังลอยการโอนตัวเงินในครั้งต่อๆไปก็สามารถท าได้โดยการส่งมอบเพียงอย่างเดียวและผู้ใดที่ครอบครองตัวต้อง
แสดงสิทธิการได้มาโดยการสลักหลังต่อกันในทางกฎหมายเรียกว่าสลักหลังไม่ขาดสายเช่นนายแดงสั่งจ่ายเช็คในนาย

ด าระหว่างที่เช็คยังไม่ถึงก าหนดขึ้นเงินนายด าสลักหลังเช็คฉบับนั้นแล้วส่งมอบให้นายเขียวนายเขียวก็สลักหลังและ
ส่งมอบเช็คฉบับนั้นให้นายครามเช่นนี้เรียกว่า สลักหลังไม่ขาดสาย นายครามซึ่งเป็นผู้ทรงเช็คคนสุดท้ายย่อมมีสิทธิไป

ขึ้นเงินจากธนาคาร

2


6. บางครั้งตัวเงินอาจต้องการการค ้าประกันหรือรับประกันการใช้เงินตามที่ระบุไว้ในตั๋วจ านวนการรับประกันนี้เรียกว่า“

อาวัล” ซึ่งจะประกันก่อนหรือหลังตั๋วเงินจะขาดความน่าเชื่อถือก็ได้รับประกันก่อนที่ตัวเงินจะหมดอายุซึ่งการอาวัล
นั้นจะเขียนข้อความลงที่ด้านหน้าของตัวเงินมีข้อความว่า“ ใช้ได้เป็นอาวัล” หรือมีข้อความท านองเดียวกันพร้อมลง

ลายมือชื่อผู้อาวัลหากผู้อาวัลจะรับประกันใครก็ให้ระบุข้อความลงไปว่ารับประกันผู้ใดหากไม่ระบุถือว่ารับประกันผู้
สั่งจ่ายและเมื่อผู้อาวัลได้ใช้เงินตามทั่วไปแล้วย่อมมีสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาจากผู้สั่งจ่าย

ค าพิพากษาฎีกาที่ 833/2523 โจทก์ออกตั๋วแลกเงินสั่งสาขาธนาคารจ าเลยที่ 3 ให้จ่ายเงินแก่จ าเลยหรือตามค าสั่ง
โดยสาขาธนาคารของจ าเลยที่ 3 ผู้จ่ายลงลายมือชื่อด้านหน้าของตั๋วแลกเงินใต้ข้อความเป็นอาวัลค ้าประกันผู้สั่งจ่าย”

ต้องถือว่าการลงลายมือชื่อของสาขาธนาคารจ าเลยที่ 3 ดังกล่าวเป็นอาวัลและผู้จ่ายเป็นผู้รับอาวัลได้ตามประมวล

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 938 วรรคสองตอนสุดท้าย

ตั๋วแลกเงิน (Bill of exchange)


ตั๋วแลกเงิน คือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า“ ผู้สั่งจ่าย” สั่งบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่าว่ายให้ใช้เงินจ านวน

หนึ่งแก่บุคคลหนึ่งหรือให้ใช้ตามค าสั่งของบุคคลหนึ่งเรียกว่า“ ผู้รับเงิน” | ลักษณะของตัวเงินจึงมีดังนี้
1. เป็นหนังสือตราสาร

2. เป็นหนังสือตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลอีกบุคคลหนึ่งเรียกว่า“ผู้จ่าย” จ่ายเงินจ านวนหนึ่ง | แก่บุคคลอีกคนหนึ่งซึ่ง
เรียกว่า“ผู้รับเงิน” เช่นนายแดงสั่งนายด าให้จ่ายเงินนายขาวโดยผู้จ่ายจะเป็นบุคคลเดียวหรือหลายคนก็ได้

3. ต้องมีข้อความว่าตั๋วแลกเงินจากภาษาใดก็ได้มีจ านวนเงินแน่นอนระบุผู้จ่ายระบุวันเวลาและสถานที่ใช้เงินระบุชื่อ
ผู้รับเงินหรือผู้ถือวันและสถานที่ออกตั๋วและลงลายมือชื่อผู้สั่งจ่ายด้วยตั๋วแลกเงินที่นิยมใช้ในวงการธุรกิจในปัจจุบัน

ได้แก่ตั๋วแลกเงินธนาคารคือธนาคารหนึ่งสั่งให้อีกธนาคารสาขาจ่ายเงินให้แก่ผู้รับเงินหรือผู้ทรงซึ่ง ตั๋วประเภทนี้รู้จัก

กันดีว่าน ้าเช่นเราไปธนาคารขอให้ธนาคารออกแบบโดยระบุ ผู้รับเงินและจ านวนเงินและช าระค่าธรรมเนียมซึ่งจะระบุ
ชื่อผู้รับเงินเป็นตนเองหรือผู้อื่นก็ได้มักใช้ในกรณีการเดินทางไกลที่ไม่ต้องการพกเงินสดติดตัวหรือบัตรอวยพร หรือ
เป็นของขวัญหรือตั๋วแลกเงินที่นักธุรกิจสั่งจ่ายให้กับผู้รับเงินทางการค้าโดยอาจให้ธนาคารเข้ามารับรองตั๋วแลกเงินนั้น

ตลอดจนตั๋วแลกเงินไปรษณีย์เป็นต้น
















ตั๋วแลกเงินธนาคาร ตั๋วแลกเงินไปรษณีย์

3


ตั๋วสัญญาใช้เงิน (promissory Note)


ตัวสัญญาใช้เงิน คือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่าผู้ออกตั๋วให้ค ามั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจ านวนหนึ่งให้แก่บุคคล อีกคน

หนึ่งเรียกว่าผู้รับเงินซึ่งเมื่อเราพิจารณาจะพบว่าตั๋วสัญญาใช้เงินคือหนังสือตราสารที่ผู้ออกตัวจะจ่ายเงินให้แก่ผู้รับเงินตามตัวเอง
ไม่ได้สั่งให้ใครใช้โดยตั๋วสัญญาใช้เงินมีลักษณะส าคัญดังนี้


1. ตัวสัญญาใช้เงินเป็นหนังสือตราสารหมายถึงหนังสือที่กฎหมายรับรองซึ่งผู้ออกหนังสือให้ค ามั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจ านวน
หนึ่งหรือใช้เงินตามค าสั่ง

2. ตั๋วสัญญาใช้เงินถูกมอบให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งจึงมีบุคคลผู้เกี่ยวข้องเพียงสองฝ่ายได้แก่ผู้ออกตั๋วและผู้รับเงิน
3. ตั๋วสัญญาใช้เงินต้องมีข้อความว่าเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินมีค ามั่นสัญญาว่าจะใช้เงินเป็นจ านวนแน่นอนโดยปราศจากเงื่อนไข

ระบุชื่อผู้รับเงินวันถึงก า อดใช้ง่ายๆวันเวลาและสถานที่ออกตั๋วเงินใช้เงินและรายมือชื่อผู้ออกตั๋วหากมีรายการไม่ครบ
ก าหนดผลคือไม่ใช้ตั๋วสัญญาใช้เงิน

4. ตั๋วสัญญาใช้เงินต้องระบุชื่อผู้รับและจะระบุชื่อผู้ถือไม่ได้ตั๋วสัญญาใช้เงินที่นิยมในวงการธุรกิจปัจจุบันได้แก่การซื้อขาย

สินค้าเงินเชื่อและบริษัทเงินทุน ที่ให้บริการเงินลงทุนเส้นในวงการธุรกิจเมื่อผู้ขายน าสินค้ามาส่งยังผู้ซื้อผู้ขายก็จะ ให้ผู้ซื้อ
ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้ผู้ขายหรือเพื่อความมั่นใจผู้ซื้ออาจให้ธนาคารที่ตนมีบัญชีออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้พร้อมระบุวัน

ก าหนดรับเงินไว้ก็ได้หรือบริษัทเงินลงทุนจะออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับผู้น าเงินมาลงทุนกับบริษัทโดยก าหนดวันใช้เงิน
และอาจก าหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ก็ได้














ตั๋วสัญญาใช้เงิน

4


เช็ค (Chegue)

เช็ค คือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจ านวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคน

หนึ่งหรือให้ใช้ตามค าสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งอันเรียกว่า ผู้รับเงิน โดยเช็คนั้นจะต้องมีลักษณะดังนี้.
1.เช็คเป็นหนังสือตราสารที่สั่งให้ธนาคาร

2. ธนาคาร (ผู้จ่าย) จ่ายเงินจ านวนหนึ่งเมื่อทวงถามกล่าวคือเมื่อยืนเช็ควันใดธนาคารต้องจ่ายเงินในวันนั้น
3. ให้ธนาคาร (ผู้จ่าย) จ่ายให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งโดยผู้จะสั่งให้ธนาคารจ่ายเงินให้ใครก็ต้องเป็นผู้มีเงินฝากในธนาคาร

ดังนั้นตัวเงินประเภทเช็คจะมีผู้เกี่ยวข้องสามฝ่ายคือผู้สั่งจ่ายซึ่งเป็นผู้ออกเช็คธนาคารซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินและผู้ทรงเซ็คซึ่ง
เป็นผู้รับเงิน

4. สิ่งที่ควรปรากฏในเช็คที่สั่งจ่าย ควรมีดังนี้
ชื่อผู้รับเงินในซ่อง“ จ่าย” หากไม่ระบุชื่อผู้รับเงินให้เขียนในของ“ จาย” ว่า“ เงินสดหรือ“ สด”

หากต้องการระบุให้ผู้รับเงินในช่องผู้สั่งจ่ายเท่านั้นเป็นผู้รับเงินให้ขีดฆ่าค าว่า“ หรือผู้ถือ” ออกแต่ในเช็คที่สั่ง

จ่ายว่า“ เงินสด” จะต้องคงค าว่า“ หรือผู้ถือ” ไว้มิฉะนั้นธนาคารจะปฏิเสะการจ่ายเงินเพราะไม่มีผู้ใดเป็นผู้ทรงเช็คและ
เช็คที่ระบุผู้รับเงินโดยไม่ขีดฆ่า“ หรือผู้ถือ” นั่นแปลว่าเช็คฉบับนี้จ่ายให้แก่ผู้รับเงินตามเช็คหรือใครก็ได้ที่ถือเช็คฉบับ

นี้ไปขึ้นเงินกับธนาคาร













ค าพิพากษาฎีกาที่ 5250/2533 เช็คผู้ถือมีรายการครบถ้วนสมบูรณ์แล้วแม้จะมีข้อความอื่นบันทึกไว้ด้านหลังเช็ค

และถูกขีดฆ่าก่อนที่โจทก์ได้รับมาข้อความดังกล่าวก็หามีผลกระทบต่อเช็คไม่และถือไม่ได้ว่าโจทก์ได้เช็คมาโดย
ทุจริตหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงโจทก์เป็นธนาคารได้รับเช็คจากลูกค้าเพื่อช าระหนี้ตามปกติทางการค้าหา

จ าต้องมีหน้าที่ตรวจสอบถึงที่มาหรือฐานะของผู้สั่งจ่ายเช็คไม่จึงถือไม่ได้ว่าโจทก์คบคิดกับลูกค้าฉ้อฉลจ าเลยจ าเลย
ต้องรับผิดตามเนื้อความในเช็คต่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย

5


การขีดคร่อมเช็ค

ตามปกติเชิคไม่จ าเป็นต้องขีดคร่อมหากแต่เมื่อผู้สั่งจ่ายเช็คต้องการก าหนดลักษณะการจ่ายเงินเหแกผู้รับเงิน

ไว้ผู้สั่งจ่ายเช็คจะขีดคร่อมเช็คเพื่อให้เกิดความสะดวกในการติดตามว่าธนาคารสั่งจ่ายเช็คให้กับผู้ใดบ้างโดยมีลักษณะ
ดังต่อไปนี้

1. เช็คขีดคร่อมทั่วไปคือการขีดเส้นขนานคู่ขวางไว้ด้านมุมซ้ายของเช็คเช็คขีดคร่อมลักษณะนี้ผู้ทรงเช็คต้องน าเช็คนี้
เข้าบัญชีธนาคารเท่านั้นจะให้ธนาคารจ่ายเป็นเงินสดไม่ได้

















2. เช็คขีดคร่อมเฉพาะคือเช็คที่นอกจากไม่สามารถเบิกเป็นเงินสดได้แล้วเช็คนั้นต้องจ่ายตามเงื่อนไขในในที่ขีดคร่อม

ด้วย เช่น น าเข้าธนาคารที่ระบุไว้ในเซ็คที่ขีดคร่อมเท่านั้นด้วยเช็คที่ต้องเข้าบัญชีธนาคารของผู้รับเงินเท่านั้น














ตั๋วเงินที่มีรายการไม่ครบถ้วน


ด้วยปกติแล้วตัวเงินจะมีรายการที่ระบุตามตั๋วเงินนั้นให้ครบถ้วนหากตัวเงินมีรายการไม่ครบถ้วนแล้วก็ย่อมเป็นตัวเงินที่ไม่
สมบูรณ์ยกเว้นกรณีดังนี้


1 ตัวเงิน ที่ไม่ระบุเวลาที่ใช้เงินให้ถือว่าพึ่งใช้เงินเมื่อ ได้เห็น


2 เงินที่ไม่ระบุสถานที่ใช้เงินถือว่าเอาภูมิล าเนาของผู้จ่ายเป็นสถานที่ใช้เงิน

3 ตัวเงินที่ไม่ระบุสถานที่ออกตั๋วให้ถือว่าตัวนั้นได้ออกนะภูมิล าเนาของผู้ออกตั๋ว


4 ตัวเงินที่ไม่ได้ลงวันที่ออกตั๋วให้ผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายที่ท าการโดยสุจริตลงวันที่ถูกต้องแท้จริงได้

6


ความรับผิดชอบและอายุความฟ้องร้อง


บุคคลผู้ลงลายมือชื่อของตนตามตั๋วเงินซึ่งได้แก่ผู้สั่งจ่ายผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินผู้สลักหลังเช็คผู้อาวัลต้องรับผิดชอบ ตาม
เนื้อความในตั๋วเงินคือการใช้เงินตามจ านวนที่ระบุไว้ในตั๋ว

ส่วนประเด็นอายุความการฟ้องร้องตามตั๋วนั้นแยกพิจารณาได้ดังนี้


1. อายุความ 3 ปีส าหรับกรณี

1.ฟ้องผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินนับแต่วันถึงก าหนดใช้เงิน


2.ฟ้องผู้รับรองตั๋วแลกเงินนับแต่วันถึงก าหนดใช้เงิน

2.อายุความ 1 ปีส าหรับกรณี

1. ผู้ทรงเช็คฟ้องเรียกเงินตามเช็คแก่ผู้สั่งจ่ายหรือสลักหลังนับแต่วันถึงก าหนดใช้เงิน


2. ผู้ทรงตั๋วแลกเงินฟ้องเรียกเงินตามตั๋วแลกเงินนับแต่วันถึงก าหนดใช้เงิน

3. อายุความ 6 เดือนส าหรับกรณีผู้สลักหลังฟ้องผู้สลักหลังคนก่อนหรือผู้สลักหลังฟ้องผู้สั่งจ่ายให้ฟ้องภายใน 6 เดือนนับแต่
วันที่ผู้สลักหลังเข้าถือเอาตั๋วและใช้ อันนั้นไปหรือนับแต่วันที่ผู้สลักหลังนั้นถูกฟ้อง





ราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ. ศ. 2534

โดยปกติแล้วบุคคลใดที่สั่งจ่ายเช็คควรจะต้องตระหนักว่าตนมีบัญชีในธนาคารเพียงพอที่จะให้ธนาคารในฐานะผู้จ่าย

จ่ายเงินให้กับผู้ทรงเช็คมิฉะนั้นหาเงินในบัญชีมีไม่เพียงพอธนาคารก็จะปฏิเสธการจ่ายเงินซึ่งในภาษาที่เราทราบ กันดีเรียกว่าเช็ค
เด้งซึ่งหากกฎหมายยอมให้มีการกระท าในลักษณะนี้ไปบ่อยเช็คก็จะขาดความน่าเชื่อถืออาจกระทบกระเทือนมาจากวงการธุรกิจ
ในที่สุดจึงต้องมีการก าหนดให้ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คเป็นคดีที่มีโทษทางอาญา

7


องค์ประกอบความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค


พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ. ศ. 2534 มาตรา 4 บัญญัติไว้ดังนี้คือ

“ ผู้ใดออกเช็คเพื่อช าระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายโดยมีลักษณะหรือมีการกระท าอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้


1. เจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น
2. ในขณะที่ออกเช็คนั้นไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้
3. ให้ใช้เงินมีจ านวนสูงกว่าจ านวนเงินที่มีอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้ในขณะที่ออกเช็คนั้น

4. ถอนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนออกจากบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินตามเช็คจนจ านวนเงินเหลือไม่เพียงพอที่จะใช้เงิน
ตามเช็คนั้นได้
5. ห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คนั้นโดยเจตนาทุจริตเมื่อได้มีการยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงินโดยขอบด้วยกฎหมายถ้าธนาคาร

ปฏิเสธไม่ใช้เงินตามเช็คนั้นผู้ออกเช็คมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือจ าคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือ
ทั้งปรับทั้งจ า”

ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้


1. ต้องการเป็นการออกเช็คเพื่อ “ช าระหนี้” เช่นนายแดงซื้อรถจากนายด าจึงออกเช็คให้นายด าแต่การออกเช็คที่เป็นการ
“ก่อหนี้ ” เช่นนายแดงขอยืมเงินนายด า 10, 000 บาทและเขียนเช็ค 10, 500 บาทให้นายด าถือไว้เช่นนี้ไม่ใช่การออกเช็ค

เพื่อช าระหนี้เพราะขณะที่ออกเช็คไม่มีหนี
2. หนีนั้นต้องบังคับได้ตามกฎหมายหากไม่ใช่หนี้หรือหนี้ที่บังคับไม่ได้หากธนาคารปฏิเสธการช าระเงินก็ไม่เป็นความผิด

ค าพิพากษาฎีกาที่ 5043/2531 จ าเลยออกเช็คเพื่อช าระหนี้เงินต้นรวมดอกเบี้ยที่คิดเป็นอัตราที่กฎหมายก าหนดไว้อยู่ด้วยถือ

ว่ามูลหนี้เป็นดอกเบี้ยเป็นโมฆะจ าเลยผู้ออกเช็คไม่มีความผิดทางอาญา

ค าพิพากษาฎีกาที่ 7909/2543 ออกเช็คเพื่อช าระหนี้เงินกู้เฉพาะส่วนที่เป็นเงินต้นไม่รวมเอาส่วนที่เป็นดอกเบี้ยที่คิดเป็น

อัตราที่กฎหมายก าหนดรวมด้วยถือว่าเป็นเช็คที่มีมูลหนี้จริงและบังคับได้ตามหากธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินจ าเลยมี
ความผิดทางอาญา

ค าพิพากษาฎีกาที่ 870/2543 สัญญาเช่าซื้อจึงต้องท าเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้เช่าซื้อและผู้ให้เช่าซื้อหากไม่ท าเป็นหนังสือ

และหรือไม่ลงลายมือชื่อทั้งสองฝ่ายสัญญาเช่าซื้อนั้นก็เป็นโมฆะไม่มีผลบังคับตามกฎหมายผลก็คือเช็คที่จ าเลยผู้เช่าซื้อสั่ง
จ่ายหรือออกเพื่อช าระค่าเช่าซื้อนั้นถือว่าไม่มีหนี้ต่อกันเพราะสัญญาเช่าซื้อไม่เกิดจึงถือไม่ได้ว่าเป็นการออกเช็คเพื่อช าระ
หนี้ที่มีอยู่จริงและที่จะบังคับกันได้ตามกฎหมายจ าเลยไม่มีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้

เช็ค

3. ผู้สั่งจ่ายมีเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้นเช่นตั้งใจท าให้เช็คนั้นเบิกเงินไม่ได้ยกตัวอย่างเช็คสั่งจ่ายเงินสดแต่ขีด
ฆ่าค าว่าหรือผู้ถือเช็คที่ไม่ประทับตรานิติบุคคลแกล้งลงลายมือชื่อให้ผิดเพี้ยนไปจากเดิมทั้งนี้ต้องเกิดจากความจงใจไม่ใช่

เพราะการประมาทเลินเล่อ

8


ค าพิพากษาฎีกาที่ 1641/2517 กรณีจ าเลยแอบอ้างว่าลงลายมือชื่อที่สั่งจ่ายในเช็คเป็นลายมือชื่อของจ าเลยทั้งๆที่ความจริง

ไม่ใช่ลายมือชื่อของจ าเลยแล้วจ าเลยกรอกจ านวนเงินลงในเช็คและมอบเช็คนั้นให้แก่โจทก์ร่วมเพื่อช าระหนี้ถือว่าจ าเลยมี
ความผิดทางอาญา
4. ผู้สั่งจ่ายเช็คทราบว่าในขณะที่ออกเช็คนั้นไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้“ เงินไม่พอจ่ายแปลว่าไม่มีเงินในบัญชี
แล้วยังเขียนเช็คสั่งจ่ายธนาคารจะปฏิเสธการจ่ายเงินแล้วระบุในเช็คว่า “ เงินไม่พอจ่าย ”

5. ผู้สั่งจ่ายเช็คให้จ่ายเงินในเชิคมีจ านวนสูงกว่าจ านวนเงินที่มีอยู่ในบัญชี เช่น มีเงินในบัญชี 3 แสนบาท แต่สั่งจ่ายเช็ต 4
แสนบาทธนาคารจะปฏิเสธการจ่ายเงินแล้วระบุในเช็คว่า “ โปรดติดต่อผู้สั่งจ่าย ”

6. ผู้สั่งจ่ายเช็คถอนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนออกจากบัญชีเพื่อให้เงินเหลือไม่เพียงพอที่จะใช้เงินตามเช็คนั้น
7. ผู้สั่งจ่ายในฐานะเจ้าของบัญชีห้ามธนาคารมีให้ใช้เงินตามเช็คโดยเจตนาทุจริตเมื่อผู้ทรงเช็คน าเช็คไปขึ้นเงินตามกฎหมาย
ค าพิพากษาฎีกาที่ 240/2512 จ าเลยออกเช็คเพื่อเตรียมน าไปช าระราคาสินค้าแต่เช็คฉบับนั้นสบหายไปเสียก่อนจ าเลยจึง

บอกกล่าวอายัดเช็คและสั่งห้ามธนาคารตามเช็คมิให้ใช้เงินตามเช็คฉบับนั้นจ าเลยไม่มีความผิดทางอาญา
8. ผู้ทรงเช็คต้องน าเช็คไปขึ้นเงินโดยชอบด้วยกฎหมายแล้วธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน

ค าพิพากษาฎีกาที่ 344/2516 เพียงแต่ผู้ทรงไปสอบถามธนาคารว่าเงินในบัญชีของผู้ออกเช็คไม่ก็ไม่ใช่การยืนเช็คโดยชอบ

ด้วยกฎหมายและไม่ถือว่าธนาคารได้ปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คนั้นแล้ว




โทษ


ผู้สั่งจ่ายเช็คที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ. ศ. 2534 หมายก าหนดให้ผู้สั่ง
จ่ายเช็คต้องรับโทษทางอาญาคือต้องระวางโทษปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือจ าคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือทั้งปรับทั้งจ า


อายุความ

ความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ. ศ. 2534 เป็นความผิดต่อส่วนตัวอันเป็น

ความผิดที่ยอม ฝันได้ซึ่งกฎหมายก าหนดว่าผู้เสียหายคือผู้ทรงเช็คโดยชอบด้วยกฎหมายต้องร้องทุกข์ภายใน 3 วันนับ
แต่วันที่รู้เรื่องความผิดนั้นคือวันที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินและรู้ตัวผู้กระท าความผิด


การร้องทุกข์

นับแต่วันที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินผู้เสียหายจะต้องร้องทุกข์ต่อเจ้าหน้าที่ ต ารวจหรือพนักงานสอบสวนในท้องที่
ที่ความผิดเกิดขึ้นซึ่งความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ. ศ. 2534 ท้องที่ที่เกิดเหตุมี

2 ท้องที่คือท้องที่ผู้สั่ง จ่ายเช็คเขียนเช็คและส่งมอบให้ผู้รับเช็คและท้องที่ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งของธนาคารที่ปฏิเสธการ
จ่ายเงินตามเช็คผู้เสียหายจึงสามารถไปแจ้งความร้องทุกข์ ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งก็ได้หากผู้เสียหายร้องทุกข์ในท้องที่ใด
ก่อนให้ถือว่าพนักงานสอบสวนท้องที่นั้นทราบเหตุก่อนจึงเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ

9


การควบคุมตัว ขัง สั่งปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลย


ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ. ศ. 2534 บัญญัติว่าการควบคุมหรือขังผู้ต้องหาหรือ
จ าเลยให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงโดยพนักงานสอบสวนมีอ านาจควบคุมตัว

ผู้ต้องหาได้ 48 ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ผู้ต้องหาถูกจับกุมตัวมิฉะนั้นต้องส่งส านวนการสอบสวนพร้อมด้วยผู้ต้องหาไปให้
พนักงานอัยการยื่นฟ้องต่อศาลภายใน 48 ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ผู้ต้องหาถูกจับกุมตัวหรือถ้าพนักงานสอบสวนหรือ
พนักงานอัยการยื่นฟ้องไม่ทันก็ต้องยื่นค าร้องขอผัดฟ้องต่อศาลภายในเวลา 48 ชั่วโมงซึ่งถ้าผู้ต้องหาไม่ได้รับการ

ประกันตัวในชั้นสอบสวนหรือชั้นพนักงานอัยการพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการจะต้องยื่นค าร้องขอฝากขัง
ผู้ต้องหารายนั้นไปพร้อมกับการผัดฟ้องด้วยและศาลมีอ านาจอนุญาตให้ผัดฟ้องหรือฝากขังได้ไม่เกิน 5 ครั้งครั้งละไม่
เกิน 6 วันส่วนการขอประกันตัวผู้ต้องหาหรือจ าเลยให้พนักงานสอบสวนพนักงานอัยการหรือศาลสั่งปล่อย ชั่วคราว

โดยมีประกันแต่ไม่มีหลักประกันหรือมีประกันและหลักประกันไม่เกินหนึ่งในสามของจ านวนเงินตามเช็คและละ
ฉบับเช่นเช็คพิพากมีจ านวนเงิน 30,000 บาทก็ให้มีหลักทรัพย์ประกันไม่เกิน 100,000 บาทเป็นต้น



การเลิกคดี


เมื่อท าผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ. ศ. 2534 บัญญัติเป็นความผิดอันยอมความกัน
ได้และถ้าผู้กระท าความผิดได้ใช้เงินตามเช็คแก่ผู้ทรงเช็คหรือแก่ธนาคารภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกเช็คได้รับ
หนังสือบอกกล่าวจากผู้ทรงเช็คว่าธนาคารไม่ ใช้เงินตามเช็คนั้นหรือนี่ที่ผู้กระท าความผิดได้ออกเช็คเพื่อให้เงินนั้นได้

สิ้นผล ผูกพันไปก่อนศาลมีค าพิพากษาถึงที่สุดให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา




สรุป

ตั๋วเงิน คือ เอกสารหรือตราสารที่แสดงสิทธิเพื่อการช าระหนี้ที่สามารถเปลี่ยนมือได้โดยแบ่งออกเป็นตั๋วแลกเงินตั๋ว

สัญญาใช้เงินและเช็คโดยสามารถโอนกันได้ด้วยการส่งมอบหรือการสลักหลังตลอดจนเพื่อให้ประกันความมั่นใจแก่
ผู้รับเงินอ่านให้มีการประกันตัวเงินโดยการอาวัลเป็นต้นทั้งนี้ผู้ที่ลงในมือชื่อในตั๋วย่อมต้องรับผิดชอบในจ านวนเงินที่
ระบุในตัวตลอดจนใช้สิทธิไล่เบี้ยเอากับผู้สลักหลังคนก่อนหรือผู้ลงลายมือชื่อในตั๋วได้ภายในอายุความที่ก าหนด

ตลอดจนเพื่อให้ความน่าเชื่อถือของเช็คไว้กฎหมายจึงก าหนดโทษทางอาญาส าหรับความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คไว้
ด้วย

อ้างอิง



หนังสือกฎหมายธุรกิจ รหัสวิชา 3200-9001


http://3200-1002.blogspot.com/2014/01/16.html



http://www.thailaws.com/aboutthailaw/knowledge_27.htm


Click to View FlipBook Version